The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 2567

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pirapong Pridachom, 2024-05-25 10:19:56

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 2567

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 2567

ขอ 21 การปฏิบัติตนในการเขาหองประชุม 1. นักเรียนทุกคนตองรับผิดชอบวาเปนหนาที่ของตนที่จะตองเขารวมการประชุม ทุกครั้งตามวัน เวลา และสถานที่ที่โรงเรียนกําหนด ผูที่ไมสามารถเขารวมประชุมได จะตองไดรับอนุญาตจากครูที่ปรึกษา ครูเวรประจําวัน ครูประจําคณะสี เปนลายลักษณ อักษร 2. เดินเขาหองประชุมอยางมีระเบียบ นั่งประจําที่ตามที่กําหนดไว และอยูในอาการ สงบ สํารวมตลอดเวลาการประชุม 3. นักเรียนทําความเคารพเมื่อผูใหการอบรมเขามา และจะออกจากหองประชุม โดยหัวหนานักเรียนจะบอกทําความเคารพ 4. ไมออกและเขาหองประชุมในขณะที่มีการประชุมกอนไดรับอนุญาต ขอ 22 การปฏิบัติตนในหองเรียน 1. เขาและออกจากหองเรียนโดยพรอมเพรียงกัน 2. ดูแลความสะอาดและความเรียบรอยของหองเรียนกอนที่จะมีการเรียนการสอน 3. แตงกายดวยชุดแตงกายที่โรงเรียนกําหนด ในการเรียนแตละวิชาในลักษณะที่ เรียบรอย 4. ทําความเคารพครูผูสอน หรือวิทยากร กอนและหลังจากสิ้นสุดการเรียนการสอน 5. ใหความสนใจเฉพาะวิชาที่กําลังเรียนอยูเทานั้น ไมนําวิชาอื่นมาทําโดยไมไดรับ อนุญาต 6. ไตถามปญหา เสนอแนะ หรือใหขอคิดเห็น ในขณะมีการเรียนการสอนดวยความ สุภาพ 7. ในขณะมีการเรียนการสอนนักเรียนควรแสดงออกซึ่งการใฝรู ใฝเรียนและ มีสัมมาคารวะ 8. ขออนุญาตผูสอนหรือวิทยากร กอนจะทําการใด ๆ ที่เปนการขัดจังหวะการเรียน การสอน หรือเมื่อตองการที่จะแสดงความคิดเห็น หรือลุกไปติดตอกับเพื่อนในหอง 9. เมื่อตองเปลี่ยนหองเรียนตองเขาแถวทั้งไปและกลับดวยความรวดเร็วและเปน ระเบียบเรียบรอย โดยมีหัวหนาชั้นเรียนเปนผูนําและดูแล 10. ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ และขอบังคับในการใชหองตาง ๆ ตามที่โรงเรียน กําหนดไวอยางเครงครัด 11. หามขีดเขียน ขอความใด ๆ ลงบนโตะเรียน 12. หามนําอาหารเขามารับประทาน ในหองเรียน 13. หามทําลายทรัพยสมบัติของโรงเรียน คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 47


ขอ 23 การขออนุญาตออกนอกหองเรียน 1. ในระหวางที่มีชั่วโมงเรียน นักเรียนจะตองอยูในหองเรียน จะไปอยูในที่อื่นใดไมได เวนแตจะไดรับอนุญาตจากครูผูสอนในชั่วโมงนั้น ๆ เปนลายลักษณอักษร 2. ไมอนุญาตใหออกจากหองเรียนในคาบเรียนแรกที่เขาหองเรียนทั้งในตอนเชาและ หลังจากพักกลางวัน 3. หากมีความจําเปนตองออกจากโรงเรียน เชน ปวย ใหขออนุญาตตอครูผูสอน ในขณะนั้นเปนลายลักษณอักษร 4. ในกรณีที่ครูไมอยูในหองเรียนใหนักเรียนอยูในหองเรียนดวยความสงบเรียบรอย ไมสงเสียงหรือกระทําการใด ๆ อันเปนการรบกวนหองเรียนใกลเคียง 5. ในกรณีนักเรียนปวยตองมีใบอนุญาตจากครูผูสอนหรือครูประจําชั้นมายื่นตอ เจาหนาที่พยาบาลเพื่อขอยา หรือนอนพักที่หองพยาบาล ขอ 24 การขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน 1. นักเรียนตองมีผูปกครองมาขออนุญาตดวยตนเอง โดยกรอกแบบขออนุญาต ที่ฝายบริหารกิจการนักเรียน และไมสามารถรับนักเรียนของผูปกครองทานอื่นออกไปได 2. การลาเปนสิทธิเฉพาะตัวจะลาแทนกันไมได ยกเวนกรณีปวยหนัก 3. ขั้นตอนการปฏิบัติในการลานักเรียนกรอกขอความขออนุญาต เสนอฝายบริหาร กิจการนักเรียน 4. ครูฝายบริหารกิจการนักเรียนอนุญาตและลงทะเบียน เก็บหลักฐานไวสวนหนึ่ง พรอมหนังสือขออนุญาตจากผูปกครอง โดยฉีกใหนักเรียนติดตัวไปสวนหนึ่ง 5. กรณีที่นักเรียนไปทําธุระและกลับมาโรงเรียนอีกจะตองมาติดตอที่ฝายบริหาร กิจการนักเรียน เพื่อลงทะเบียนเปนหลักฐาน และมอบเอกสารการอนุญาตคืนฝายบริหาร กิจการนักเรียนพรอมกับรับใบอนุญาตเขาหองเรียน ËÁÇ´·Õè 6 ¡ÒÃÅÒ ¡ÒâҴàÃÕ¹ áÅСÒâÍ͹ØÞÒµÍÍ¡¹Í¡ºÃÔàdzâçàÃÕ¹ โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 48


ขอ 25 การลาหยุดเรียน 1. การลา ใหยื่นใบลาในระบบ DSchool 2. การยื่นใบลาปวย ใหนำเขาระบบ DSchool ทันทีที่หายปวย 3. การลากิจ ใหยื่นใบลาในระบบ DSchool ลวงหนา 3 วัน ขอ 26 การขาดเรียน 1. ถานักเรียนขาดเรียนหรือมาสายใหครูที่ปรึกษาบันทึกขอมูลในระบบ DSchool 2. ถาขาดเรียนโดยไมแจงใหทราบหรือไมจัดสงใบลาติดตอกัน 3 วัน ทางโรงเรียน โดยฝายบริหารกิจการนักเรียน จะมีจดหมายลงทะเบียนหรือโทรศัพทแจงผูปกครองทราบ 3. ถาขาดเรียนติดตอกัน 5 วัน โดยไมแจงใหทราบหรือไมจัดสงใบลาโรงเรียน ฝายบริหารกิจการนักเรียน จะมีจดหมายลงทะเบียนเชิญผูปกครอง 4. ถาขาดเรียนติดตอกัน 7 วัน โดยไมแจงใหทราบหรือไมจัดสงใบลาโรงเรียน ฝายบริหารกิจการนักเรียน จะมีจดหมายลงทะเบียนเชิญผูปกครองอีกครั้ง ขอ 27 การมาสาย จะตัดคะแนนอัตโนมัติจากระบบโดยหากนักเรียนมาโรงเรียนหลังเวลา 07.50 น. ครบทุก ๆ 7 ครั้ง ถือวาสาย 1 ครั้ง หากนักเรียนมาโรงเรียนหลังเวลา 08.15 น. เกิน 15 ครั้ง / 1 ภาคเรียน ครั้งที่ 16 เปนตนไป จะตัดครั้งละ 5 คะแนน ขอ 28 การทำความเคารพในหองเรียน 1. เมื่อครูเขาหองสอนทุกครั้งใหหัวหนานักเรียนบอกทำความเคารพ โดยใชคำ บอกวา “นักเรียน” นักเรียนทุกคนตองอยูในลักษณะพรอมแลวจึงสั่งตอวา “เคารพ” นักเรียน คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 49


ËÁÇ´·Õè 7 ¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁà¤Òþ ทุกคนยกมือไหวพรอมกับพูดวา “สวัสดีครับ-สวัสดีคะ” เมื่อครูตอบวา “สวัสดีครับ-สวัสดีคะ” นักเรียนจึงเอามือลง 2. การถามตอบในคาบเรียนใหนักเรียนยกมือ เมื่อไดรับอนุญาตจึงยืนขึ้นพูดกับครู ในทาตรง เมื่อหมดคาบเรียนใหปฏิบัติเชนเดียวกับตอนเขาสอนนักเรียนทุกคนกลาวพรอม กันวา “ขอบคุณครับ-ขอบคุณคะ” 3. เมื่อครูทานอื่นเขามาในหอง ขณะที่ไมมีครูสอนประจําวิชานั้นอยูในหอง ใหนักเรียนบอกทําความเคารพเชนเดียวกัน ขอ 29 การทําความเคารพในโอกาสตาง ๆ 1. เมื่ออยูในโรงเรียนพบครูหรือผูใหญเดินผานมา ใหทำความเคารพดวย การยืนตรงและยกมือไหว พรอมกับกลาววา “สวัสดีครับ-สวัสดีคะ” ถาแตงเครื่องแบบ ลูกเสือ-เนตรนารี ใหทําความเคารพโดยวันทยาหัตถ 2. เมื่อพบครูนอกบริเวณโรงเรียน ใหทําความเคารพดวยการไหวตามความเหมาะสม และทักทายดวยความสุภาพ 3. ในกรณีที่มีผูมาตรวจเยี่ยมโรงเรียนมาในหองเรียน ใหครูที่ควบคุมหองขณะนั้น หรือหัวหนาหองเรียนเปนผูบอกทําความเคารพ ถาอยูนอกหองเรียนหรือบริเวณอื่น ๆ ใหหยุดยืนตรงแลวทําความเคารพดวยการไหว พรอมกลาวคําวา “สวัสดีครับ-สวัสดีคะ” ขอ 30 การใชหองสุขา 1. ไมมั่วสุม หรือคุยกันเสียงดังบริเวณหองสุขา หรือทำกิจกรรมอื่น ๆ ในหองสุขา 2. ไมขีดเขียนตัวหนังสือ รูป หรือขอความใด ๆ บนฝาผนังหอง โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 50


ËÁÇ´·Õè 8 ¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹·ÑèÇä» 3. นักเรียนตองชวยกันรักษาความสะอาดหองสุขา ขอ 31 การซื้ออาหารและการรับประทานอาหาร 1. ใหเรียงตามลําดับกอนหลังตามแนวปฏิบัติที่โรงเรียนกําหนด 2. จะตองรับประทานอาหารในโรงอาหารเทานั้น 3. ไมคุยเสียงดัง หรือคุยขามโตะ ไมพูดคุยเรื่องนารังเกียจไมสุภาพในโรงอาหาร 4. นั่งรับประทานอาหารอยางสุภาพ ไมยืนหรือเดินรับประทาน ไมทําอาหารตก ออกนอกภาชนะ ไมทิ้งเศษอาหารบนโตะ หรือพื้นโรงอาหาร 5. เมื่อรับประทานอาหารเรียบรอยแลว ใหเก็บเศษอาหารใสภาชนะรองรับตามที่ โรงเรียนกําหนดและนําภาชนะไปแลกบัตรประกันภาชนะ โดยใหปฏิบัติตามระเบียบการใช โรงอาหารของโรงเรียนอยางเครงครัด 6. หามนําภาชนะและอาหารออกนอกโรงอาหารโดยเด็ดขาด ยกเวนนํ้าเปลา 7. รับประทานอาหาร ในชวงเวลาพักหรือเวลาที่โรงเรียนกําหนดเทานั้น 8. ไมอนุญาตใหสั่งอาหารจากภายนอกมารับประทาน ขอ 32 ขอปฏิบัติเมื่อทําของหายหรือเก็บของได 1. เมื่อนักเรียนทําของหายใหแจงครูเวรประจําวัน หรือนําสงที่หองฝายบริหาร กิจการนักเรียน 2. เมื่อนักเรียนไดรับของคืนแลว ใหไปแสดงความขอบคุณตอผูที่เก็บของได 3. เมื่อเก็บของไดใหนักเรียนนําไปแจงครูฝายบริหารกิจการนักเรียน เพื่อบันทึก ขอมูลคนดีลูกสวน และประกาศหาเจาของตอไป ขอ 33 การปฏิบัติตนในการใชอาคารเรียน 1. ใชโตะเกาอี้ โดยไมนั่งโยกเกาอี้ ไมเคลื่อนโตะเกาอี้ออกจากแถวที่จัดไว อยางเรียบรอยแลว โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 51


2. ไมนั่งบนโตะ ขอบหนาตาง หรือที่อันไมเหมาะสม 3. รักษาความสะอาดของโตะ เกาอี้ และพื้นหองเรียน ดวยการไมทิ้งเศษกระดาษ และเศษวัสดุ หรือถมนํ้าลาย สั่งนํ้ามูกลงบนพื้น ไมเขียนหรือแกะสลักขอความ หรือรูปใด ๆ ลงบนโตะ เกาอี้ ฝาผนังหอง พื้นหอง ประตู หนาตาง 4. ไมนั่งตามขอบระเบียง ไมนอนพักผอนหรือวิ่งเลนบริเวณระเบียงกันสาด 5. ไมนําโตะ เกาอี้ หรืออุปกรณตาง ๆ ในหองเรียนออกจากหองเรียน 6. ปดไฟ ปดพัดลม ปดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งหลังจากใชหองเสร็จแลว 7. ไมเปด หรือเลนเครื่องดับเพลิงโดยเด็ดขาด 8. ไมขึ้นไปบนชั้นดาดฟา โดยไมไดรับอนุญาต 9. ปฏิบัติตามกฎ และระเบียบของการใชหองและอาคาร ตามที่โรงเรียนกําหนด ไวอยางเครงครัด ขอ 34 การปฏิบัติตนในการใชสนามและบริเวณโรงเรียน 1. ใชสนามตามวันและเวลาที่โรงเรียนกําหนด 2. ไมใชสนามในเวลาที่สนามเปยก 3. ไมเลนในบริเวณที่โรงเรียนจัดไวเปนเขตหวงหาม 4. ไมเดินลัดสนาม 5. ไมนอนเลนบริเวณมาหินออน โตะไมซุมแปดเหลี่ยม และไมนั่งโดยเอาเทาเหยียบ หรือยืนบนโตะ 6. ไมทําลายดอกไมและตนไมที่จัดปลูกไวในบริเวณโรงเรียน 7. ไมทิ้งเศษกระดาษ เศษวัสดุ เศษอาหาร ภาชนะตาง ๆ ที่ทําใหบริเวณโรงเรียน สกปรก 8. เมื่อพบเศษกระดาษ เศษวัสดุตกบนพื้นใหเก็บทิ้งลงภาชนะรองรับ 9. ไมสงเสียงดัง ตะโกน หรือแสดงอาการไมสุภาพใด ๆ ในบริเวณโรงเรียน 10. ไมขีดเขียนขอความใด ๆ บนโตะหรือเกาอี้ที่ทางโรงเรียนจัดไวใหนั่ง 11. ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และขอบังคับในการใชสนาม และบริเวณโรงเรียน ตามที่โรงเรียนกําหนด โดยเครงครัด ขอ. 35 การปฏิบัติตนในการใชลิฟต 1. กดปุมหนาชั้นเฉพาะทิศทางที่จะขึ้นหรือลงเทานั้นโดยกดใหไฟติดเพียงครั้งเดียว 2. เมื่อเขาลิฟตแลวใหรีบเดินเขาไปดานในและพยายามยืนโดยการกระจายนํ้าหนัก คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 52


และไมยืนขวางประตู 3. กดปุมภายในลิฟตเฉพาะชั้นที่ตองการจะไปเทานั้น 4. ระหวางที่โดยสารอยูในลิฟต หามเลน ผลัก กระโดด กระแทก หรือยืนพิง บานประตูลิฟต 5. หามขีดเขียน ปด แปะ แผนภาพ หรือสิ่งพิมพใด ๆ บนผนังลิฟต 6. หามเลนฉีดนํ้าบริเวณหนาลิฟตและในตูลิฟต เพราะอาจจะเกิดไฟฟาลัดวงจรได กรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน ลิฟตคางใหกดปุม “EMERGENCY CALL” เพื่อติดตอ ครูใหความชวยเหลือ 7. หามใชลิฟตในระหวางการปรับปรุงซอมแซม 8. หามใชลิฟตในขณะเกิดไฟไหม 9. หากพบอุปกรณชํารุด ไฟสัญญาณตาง ๆ ไมทํางาน หรือพบเห็นสิ่งผิดปกติ ใหรีบแจงครูทันที 10. ควรหลีกเหลี่ยงการใชลิฟตในขณะที่เกิดพายุฟาคะนอง หรือฝนตกหนัก หรือ ขณะเกิดแผนดินไหว เพราะลิฟตอาจคางได ขอ 36 ใหรองผูอํานวยการฝายบริหารกิจการนักเรียนรักษาการใหเปนไปตาม ระเบียบนี้ ขอ 37 ใหใชระเบียบนี้ตั้งแตปการศึกษา 2567 เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2567 (นายชาลี วัฒนเขจร) ผูอํานวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 53


ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต วาดวยการลงโทษนักเรียน พ.ศ. 2567 ..................................................................... เนื่องจากโรงเรียนมีความประสงคที่จะปลูกฝงอบรมนักเรียนใหอยูในระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถที่จะดํารงชีวิตในโรงเรียน ครอบครัวและในสังคม ไดอยาง มีความสุขและเปนประชากรที่มีคุณภาพของชาติ จึงไดกําหนดระเบียบปฏิบัติตน สําหรับ นักเรียนดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต วาดวย การลงโทษนักเรียน พ.ศ. 2567 ตั้งแตวันใชระเบียบนี้ใหยกเลิกระเบียบหรือหลักปฏิบัติอื่นใดที่ขัดแยงกับระเบียบนี้ ขอ 2 นักเรียนที่ประพฤติขัดตอระเบียบตอไปนี้ถือวามีความผิด 2.1 ลักษณะความผิดประเภทที่ 1 2.1.1 การแตงกาย 2.1.2 การไวทรงผม 2.1.3 การมาโรงเรียนและเขาเรียนสาย 2.1.4 การขาดเรียนในระหวางชั่วโมง 2.1.5 การหนีโรงเรียน 2.1.6 การออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไมไดรับอนุญาต 2.1.7 การหลีกเลี่ยงพิธีการหนาเสาธง 2.1.8 การขาดเรียน 2.1.9 มีพฤติกรรมหรือการแสดงออกไมเหมาะสมกับการเปนนักเรียน 2.1.10 การใชเครื่องประดับที่ไมมีความจําเปน 2.1.11 การนํายานพาหนะเขามาภายในบริเวณโรงเรียน โดยไมไดรับ อนุญาต 2.1.12 แตงกายไมเหมาะสมเขามาในวันหยุดราชการ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 54


2.1.13 ไมรวมกิจกรรมของโรงเรียนโดยไมมีเหตุผลสมควร 2.1.14 สงเสียงอึกทึกกอความรําคาญ 2.1.15 การใชวาจาหยาบคาย 2.1.16 การมั่วสุมในบริเวณโรงเรียน 2.2 ลักษณะความผิดประเภทที่ 2 2.2.1 การทะเลาะวิวาท หรือการกระทําอันกอใหเกิดความ แตกความสามัคคี 2.2.2 การสูบบุหรี่ เสพของมึนเมา และสิ่งเสพติดใหโทษ 2.2.3 การเลนการพนัน 2.2.4 การพกอาวุธ หรือนําอาวุธมาโรงเรียน หรือพกติดตัว 2.2.5 การกระทําอันนํามาซึ่งความเสื่อมเสียของโรงเรียน การกอ ความไมสงบที่ทําใหเกิดความสับสน และวุนวายในโรงเรียน 2.2.6 ชูสาว 2.2.7 การบีบบังคับ หรือขูเข็ญเพื่อนนักเรียนดวยกัน เพื่อประสงคทรัพย หรือเจตนาอื่น ๆ ที่ไมไดรับการยินยอม 2.2.8 การปลอมตนเพื่อแสวงหาประโยชนเพื่อตนเองหรือผูอื่น 2.2.9 การขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ของครูที่ปฏิบัติหนาที่โดยชอบ 2.2.10 ทําลายทรัพยสินของเพื่อนนักเรียน ครู บุคคลอื่น และของโรงเรียน 2.2.11 นําหนังสือหรือสิ่งลามกอนาจารเขามาในโรงเรียน 2.2.12 เที่ยวเรรอนและมั่วสุมในที่สาธารณะ หรือในสถานเริงรมย 2.3 ลักษณะความผิดประเภทที่ 3 2.3.1 การลักทรัพย 2.3.2 การกาวราวยุยงใหเกิดความเสื่อมเสียตอครู โดยวาจาหรือขีดเขียน 2.3.3 ประทุษราย ทํารายเพื่อนนักเรียน ครูหรือนักเรียน ขอ 3 การลงโทษ มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ 3.1 วากลาวตักเตือน 3.2 ทําทัณฑบน 3.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 3.4 ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 55


ขอ 4 นักเรียนที่ประพฤติผิดตามระเบียบขอที่ 2 จะไดรับโทษลักษณะตาง ๆ ดังตอไปนี้ 4.1 วากลาวตักเตือน 4.2 ทําทัณฑบน 4.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 4.4 ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขอ 5 ขั้นตอนในการลงโทษนักเรียนที่ประพฤติผิดระเบียบ ประเภท 1 จะได รับโทษ ตามขอที่ 1 โดยมีขั้นตอนดังนี้ 5.1 วากลาวตักเตือน 5.2 ทําทัณฑบน 5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 5.4 ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขอ 6 นักเรียนที่ประพฤติผิดระเบียบ ประเภทที่ 2 จะไดรับโทษตาม ขอที่ 4 ตามความหนักเบาแหงความผิด ดังนี้ 6.1 ความผิดตามขอ 2.2 จะไดรับโทษตั้งแตขอ 5.2 ถึง 5.4 ตามความเหมาะสม 6.2 ความผิดตามขอ 2.3 จะไดรับโทษตั้งแตขอ 5.3 ถึง 5.4 ตามความเหมาะสม ขอ 7 การพิจารณาเมื่อนักเรียนกระทําความผิดถึงแมวาจะเปนความผิด ครั้งแรกก็ตาม แตเปนความผิดรายแรงที่จงใจกระทํา หรือในกรณีที่มีการกระทําผิด รายแรงนอกเหนือจากที่กลาวไวในระเบียบนี้ คณะกรรมการฝายบริหารกิจการนักเรียน มีอํานาจพิจารณาการลงโทษตามขอ 5.1-5.4 แนวปฏิบัติในการตัดคะแนนความประพฤติของนักเรียน เพื่อใหการควบคุมดูแลความประพฤติของนักเรียนดำเนินไปดวยความเรียบรอย และ มีประสิทธิภาพ จึงไดกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับคะแนนความประพฤติของนักเรียนไว ดังนี้ 1. ใหนักเรียนทุกคนมีคะแนนความประพฤติคนละ 100 คะแนน ในแตละระดับชั้น ตลอดปการศึกษา 2. คาของคะแนนในระดับความผิดตาง ๆ กำหนดไวดังนี้ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 56


ขอ 8 มาตรการลงโทษ รายการ รายการลงโทษ ตัดคะแนน ความประพฤติ 1. แตงกายผิดระเบียบขอบังคับของโรงเรียน เชน - สวมเครื่องประดับ จํานวนเครื่องประดับมากชิ้น เกินกวาที่โรงเรียนกําหนด เชน ตางหูใสเกินขางละรู - ทำสีผม ดัดผม - ผมซอย ผลิตภัณฑจัดแตงทรงผม - ไวเล็บยาวมาก ตกแตงเล็บ วากลาวตักเตือน - กระโปรงสั้น , กระโปรงแคบ แจงผูปกครอง - กางเกงสั้น ตัด 5 คะแนน - รองเทา-ถุงเทาผิดระเบียบ , ใสรองเทาทับสน - ดึงเสื้อออกนอกกางเกง ตัดคะแนนความประพฤติ - นักเรียนหญิงไมใสเสื้อซับใน หากผิดบอยครั้ง - นักเรียนชายใสตางหู ตัดคะแนนความประพฤติ 2. กระเปาผิดระเบียบ, มีกระเปาเคียงใบเดียว ครั้งละ 10 คะแนน 3. มาสาย, ขาดเรียน (ไมลา), ไมเขาโฮมรูม, คาบ สธป. 4. ไมรวมกิจกรรมหนาเสาธง, กิจกรรมของโรงเรียน 5. เลนบนอาคาร 6. รับประทานอาหารนอกเขตโรงอาหาร 7. รับประทานอาหารกอนเวลา 8. ไมสนใจเรียน / หนีเรียน 9. ไมรักษาความสะอาด 1. พกพาสื่อลามกอนาจารหรือมีไวครอบครอง วากลาวตักเตือน เพื่อแลกเปลี่ยน จําหนาย จายแจก แจงผูปกครอง ทําทัณฑบน ตัดคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน 1. ปลอมแปลงเอกสาร วากลาวตักเตือน 2. ทําลายทรัพยสินของโรงเรียน แจงผูปกครอง 3. ทะเลาะวิวาท ทําทัณฑบน 4. หนีโรงเรียน ความผิดตามขอ 3 ตองชดใช 5. เขาสถานที่ตองหาม ความเสียหาย 6. กอใหแตกความสามัคคี ตัดคะแนนความประพฤติ 7. รังแก / ขมขู / รีดไถ 20 คะแนน คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 57


รายการ รายการลงโทษ ตัดคะแนน ความประพฤติ 1. กาวราวตอครู และบุคลากร 2. ซื้อ / จำหนาย / แลกเปลี่ยน / สูบบุหรี่,บุหรีไฟฟา พกพาบุหรี่, พกพาอาวุธ แจงผูปกครอง 3. ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ทําทัณฑบน 4. ลักทรัพย ตัดคะแนนความประพฤติ 5. เลนการพนัน 30 คะแนน 6. นําพาบุคคลภายนอกมากอความไมสงบ ภายในโรงเรียน 7. มีพฤติกรรมในทํานองชูสาว 1. กระทําอนาจาร / ลวงละเมิดทางเพศ แจงผูปกครอง 2. ซื้อ / จําหนาย / เสพสารเสพติด / ทําทัณฑบน แลกเปลี่ยน / มีไวครอบครองสิ่งเสพติด ตัด 100 คะแนน ชนิดรุนแรง เชน ยาบา กัญชา ยาไอซ ทํากิจกรรมเพื่อให 3. ทํารายผูอื่นดวยอาวุธหรือเครื่องมือที่เสมือน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อาวุธรายแรง เชน สนับมือ มีด อาวุธปน แนวปฏิบัติในการลงโทษนักเรียนที่ถูกตัดคะแนน 1. ในกรณีเปนความผิดสถานเบา หรือเปนความผิดครั้งแรก การแกไขในเบื้องตน ใหครูทุกคนมีหนาที่ตักเตือน อบรม และพิจารณาโทษนักเรียนแลวแตกรณี หากเห็นวา นักเรียนสมควรไดรับโทษถึงถูกตัดคะแนนความประพฤติใหรายงานตอคณะกรรมการ ฝายบริหารกิจการนักเรียน • การพิจารณาตัดคะแนนความประพฤติใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการ ฝายบริหารกิจการนักเรียน • ในการตัดคะแนนใหคณะกรรมการฝายบริหารกิจการนักเรียนแจงหัวหนาระดับ และครูที่ปรึกษาและรายงานใหผูปกครองทราบทุกครั้ง • เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนถึง 30 คะแนน ใหคณะกรรมการฝายบริหาร กิจการนักเรียนแจงครูที่ปรึกษาประสานผูปกครอง ปรับปรุง แกไขปญหาและ พัฒนาสงเสริมนักเรียน • เมื่อถูกตัดคะแนนถึง 60 คะแนน ใหคณะกรรมการฝายบริหารกิจการนักเรียน เชิญผูปกครอง มารับทราบพฤติกรรม และทํากิจกรรมปรับปรุงพฤติกรรม คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 58


• เมื่อถูกตัดคะแนนถึง 80 คะแนน ใหคณะกรรมการฝายบริหารกิจการนักเรียน เชิญผูปกครองมารับทราบพฤติกรรม และทําทัณฑบน • เมื่อถูกตัดคะแนนถึง 100 คะแนน ใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการ ฝายบริหารกิจการนักเรียนและ ฝายบริหารโรงเรียนวินิจฉัยเปนที่สิ้นสุด การดําเนินการ • ครูบันทึกรายงานแจงความผิดระเบียบของนักเรียน สงฝายบริหารกิจการนักเรียน • คณะกรรมการฝายบริหารกิจการนักเรียนหรือผูที่ไดรับมอบหมาย พิจารณา สอบสวนนักเรียนตามความเหมาะสมและดําเนินการตัดคะแนนความประพฤติพรอมแจง ครูที่ปรึกษา หัวหนาระดับและผูปกครองทราบ หมายเหตุ • นักเรียนที่ผิดระเบียบของโรงเรียนจะถูกบันทึกความผิดระเบียบลงในทะเบียน ประวัตินักเรียน • เมื่อสิ้นภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ใหพิจารณาการพัฒนาคุณลักษณะ อันพึงประสงคของนักเรียนจากกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามที่โรงเรียนกําหนด • กรณีนักเรียนทําความผิดแลวมีการปรับปรุง แกไขพฤติกรรมใหดีขึ้น หรือทําความดี อื่น ๆ ใหคณะกรรมการฝายบริหารกิจการนักเรียนลดคะแนนความผิดที่ไดทําไวตามสมควร เพื่อเปนขวัญกําลังใจแกนักเรียนใหกระทําความดีตอไป • ในกรณีที่นักเรียนทําความดีใหประกาศชมเชย หรือใหรางวัลนักเรียนแลวแตกรณี • การลงโทษดวยวิธีอื่น ๆ ควบคูกับการตัดคะแนนนั้นอยูในดุลยพินิจของคณะ กรรมการฝายบริหารกิจการนักเรียน • นักเรียนที่ทําความผิดอื่น ๆ นอกเหนือจากระเบียบของโรงเรียน ตองถูกลงโทษ ตามที่คณะกรรมการฝายบริหารกิจการนักเรียนเห็นสมควร ขอ 9 ใหรองผูอํานวยการฝายบริหารกิจการนักเรียนรักษาการใหเปนไป ตามระเบียบนี้ ขอ 10 ใหใชระเบียบนี้ตั้งแตปการศึกษา 2567 เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2567 (นายชาลี วัฒนเขจร) ผูอํานวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 59


กฎกระทรวง กําหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 64 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 31 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 39 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัย อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 นักเรียนและนักศึกษาตองไมประพฤติตน ดังตอไปนี้ (1) หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไมไดรับอนุญาตในชวงเวลาเรียน (2) เลนการพนัน จัดใหมีการเลนการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน (3) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด (4) ซื้อ จําหนาย แลกเปลี่ยน เสพสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล สิ่งมึนเมา บุหรี่ หรือ ยาเสพติด (5) ลักทรัพย กรรโชกทรัพย ขมขู หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพยบุคคลอื่น (6) กอเหตุทะเลาะวิวาท ทํารายรางกายผูอื่น เตรียมการหรือกระทําการใด ๆ อันนาจะ กอใหเกิดความไมสงบเรียบรอย หรือขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน (7) แสดงพฤติกรรมทางชูสาวซึ่งไมเหมาะสมในที่สาธารณะ (8) เกี่ยวของกับการคาประเวณี (9) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตรหรือรวมกลุม อันเปนการสราง ความเดือดรอนใหแกตนเองหรือผูอื่น ขอ 2 ใหโรงเรียนหรือสถานศึกษากําหนดระเบียบวาดวยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา ไดเทาที่ ไมขัดหรือแยงกับกฎกระทรวงนี้ ใหไว ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548 จาตุรนต ฉายแสง รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 60


ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบวาดวยการลงโทษนักเรียนและ นักศึกษาไวดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษา พ.ศ. 2548” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการลงโทษนักเรียนหรือ นักศึกษา พ.ศ. 2543 ขอ 4 ในระเบียบนี้ “ผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความวา ครูใหญ อาจารยใหญ ผูอํานวยการ อธิการบดี หรือหัวหนาของโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือตําแหนงที่เรียกชื่อ อยางอื่นของโรงเรียนหรือสถานศึกษานั้น “กระทําความผิด” หมายความวา การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝาฝนระเบียบ ขอบังคับของสถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงวาดวยความประพฤติ ของนักเรียนและนักศึกษา “การลงโทษ” หมายความวา การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทําความผิด โดยมีความมุงหมายเพื่อการอบรมสั่งสอน ขอ 5 โทษที่จะลงโทษแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทําความผิด มี 4 สถาน ดังนี้ 5.1 วากลาวตักเตือน 5.2 ทําทัณฑบน 5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 5.4 ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขอ 6 หามลงโทษนักเรียน และนักศึกษาดวยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกลง หรือ ลงโทษดวยความโกรธ หรือดวยความพยาบาท โดยใหคํานึงถึงอายุของนักเรียน หรือนักศึกษา และความรายแรงของพฤติการณประกอบการลงโทษดวย การลงโทษนักเรียน หรือนักศึกษาใหเปนไป เพื่อเจตนาที่จะแกนิสัยและความประพฤติ ไมดีของนักเรียน หรือนักศึกษาใหรูสํานึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีตอไป คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 61


ใหผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผูที่ผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมาย เปนผูมีอํานาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ขอ 7 การวากลาวตักเตือนใชในกรณีนักเรียน หรือนักศึกษากระทําความผิด ไมรายแรง ขอ 8 การทําทัณฑบนใชในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไมเหมาะสม กับ สภาพนักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงวาดวยความประพฤตินักเรียน และนักศึกษา หรือ ไดรับโทษวากลาวตักเตือนแลว แตยังไมเข็ดหลาบ การทําทัณฑบนใหทําเปนหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผูปกครองมาบันทึกรับทราบ ความผิดและรับรองการทําทัณฑบนไวดวย ขอ 9 การตัดคะแนนความประพฤติ ใหเปนไปตามระเบียบปฏิบัติวาดวยการ ตัด คะแนนความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของแตละสถานศึกษากําหนด และใหทําบันทึกขอมูล ไวเปนหลักฐาน ขอ 10 ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใชในกรณีที่นักเรียน และนักศึกษา กระทําความผิดที่สมควร ตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมใหเปนไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด ขอ 11 ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการใหเปนไปตามระเบียบนี้ และ ใหมี อํานาจตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 อดิศัย โพธารามิก (นายอดิศัย โพธารามิก) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 62


ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต วาดวยการไวทรงผมของนักเรียน พ.ศ. 2566 โดยที่เปนการเห็นสมควรกําหนดขอปฏิบัติและขอหามปฏิบัติในการไวทรงผมของนักเรียน เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการดําเนินงานของสถานศึกษา และอาศัยอํานาจของกฎหมายเฉพาะ มาตรา 39 (1) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และมติที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2566 จึงวางระเบียบไวดังนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต วาดวยเรื่องทรงผม ของนักเรียน พ.ศ. 2566” ขอ 2 ระเบียบนี้มีผลบังคับใชนับตั้งแตวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิกบรรดา ระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งอื่นใดในสวนที่กําหนดไวแลว ในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดแยงกับระเบียบนี้ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ 4 ในระเบียบนี้ “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต “นักเรียน” หมายถึง บุคคลที่กําลังศึกษาอยูในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต “คณะกรรมการ” หมายถึง คณะกรรมการพิจารณาระเบียบทรงผมนักเรียน ขอ 5 นักเรียนตองปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไวทรงผม ดังนี้ 5.1 นักเรียนชาย จะไวผมสั้นหรือผมยาวก็ได กรณีไวผมยาว ดานขาง ดานหลัง ตองไมเกินตีนผม ดานหนาและกลางศีรษะ ใหเปนไปตามความเหมาะสม ไมมัดรวบ มีความเรียบรอยและไมเปนอุปสรรคตอการเรียน กรณีไวผมสั้นใหไวทรงนักเรียน 5.2 นักเรียนหญิง จะไวผมสั้นหรือผมยาวก็ได กรณีไวผมยาวใหเปนไปตามความเหมาะสม มีความเรียบรอย ผมดานหนาไมเปน อุปสรรคตอการเรียน และรวบผม ติดโบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต สีตามระดับชั้น ที่กําหนดใหเรียบรอย กรณีไวผมสั้น หามซอยหรือสไลดผม คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 63


5.2.1 การรวบมัดผมใหตึงไวระดับกึ่งกลางใบหูสองขางกลางศีรษะดานหลัง จนถึงระดับทายทอย โดยรวบตึง ไมปลอยผมใหตกลงมาระแกมทั้งสองขาง ใหใชยางรัดผมและ กิ๊บติดผมสีดำรวบกอนเขามาในบริเวณโรงเรียนและเมื่ออยูในชุดนักเรียนไมใหปลอยผม 5.2.2 การถักเปยใหถักเปยไมเกิน 2 กลุม และเปนการทักเปยจากดานหลัง ลงมาทายทอย ขอ 6 หามนักเรียนปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไวทรงผม ดังนี้ 6.1 ยอมหรือฉีดสีผมใหผิดไปจากเดิม ซอยหรือสไลดผม หามดัดผม 6.2 ไวหนวดหรือไวเครา 6.3 การกระทำอื่นใดซึ่งไมเหมาะสมกับสภาพการเปนนักเรียน เชน การตัดแตง ทรงผมเปนรูปทรง สัญลักษณหรือเปนลวดลาย ทำรูปทรงคิ้วที่มีรอยบาก ขอ 7 นักเรียนที่มีเหตุผลจำเปน ใหคณะกรรมการตามขอ 8 เปนผูพิจารณาและนำเสนอ ผูอำนวยการโรงเรียนเพื่ออนุญาต โดยใหยึดถือหลักความเหมาะสมในการพัฒนาบุคลิกภาพ ที่ดีของนักเรียน สนับสนุน สงเสริม กำกับ ดูแล ใหนักเรียนสามารถเลือกทรงผมใหเขากับ บุคลิกภาพ และความมั่นใจของตนเอง รวมถึงการรักษาสุขอนามัยที่ดีใหเหมาะสมกับความเปน นักเรียน ขอ 8 ใหคณะกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งกำกับ ดูแลใหเปนไปตามระเบียบนี้ ใหมีอำนาจ พิจารณาตีความวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ และนำเสนอผูอำนวยการโรงเรียน เพื่อพิจารณา ใหไว ณ วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2566 (นายชาลี วัฒนเขจร) ผูอำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 64


¡ÒÃᵋ§¡Ò ¹Ñ¡àÃÕ¹ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ µÍ¹µŒ¹ (ªÒÂ) ¡ÒÃᵋ§¡Ò¢ͧ¹Ñ¡àÃÕ¹ ส.ก.ร. โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ªØ´¹Ñ¡àÃÕ¹ªÒ Á.µŒ¹ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 65


¡ÒÃᵋ§¡Ò ¹Ñ¡àÃÕ¹ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ µÍ¹µŒ¹ (ËÞÔ§) ¡ÒÃᵋ§¡Ò¢ͧ¹Ñ¡àÃÕ¹ ส.ก.ร. โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ªØ´¹Ñ¡àÃÕ¹ËÞÔ§ Á.µŒ¹ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 66


¡ÒÃᵋ§¡Ò ¹Ñ¡àÃÕ¹ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ µÍ¹»ÅÒ (ªÒÂ) ¡ÒÃᵋ§¡Ò¢ͧ¹Ñ¡àÃÕ¹ ส.ก.ร. โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ªØ´¹Ñ¡àÃÕ¹ªÒ Á.»ÅÒ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 67


¡ÒÃᵋ§¡Ò¢ͧ¹Ñ¡àÃÕ¹ ส.ก.ร. โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ¡ÒÃᵋ§¡Ò ¹Ñ¡àÃÕ¹ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ µÍ¹»ÅÒ (ËÞÔ§) ªØ´¹Ñ¡àÃÕ¹ËÞÔ§ Á.»ÅÒ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 68


¡ÒÃᵋ§¡Ò¢ͧ¹Ñ¡àÃÕ¹ ส.ก.ร. โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ªØ´¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒÇÔªÒ·ËÒà (ô.) ªØ´à¤Ã×èͧẺ ÅÙ¡àÊ×Í - ๵ùÒÃÕ ªØ´¾ÅÈÖ¡ÉÒ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 69


ÃÐàºÕº¡ÒÃäÇŒ·Ã§¼Á¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹ ส.ก.ร. โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 70


½†ÒºÃÔËÒà ÇÔªÒ¡Òà โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 71


การพัฒนาหลักสูตรเพื่อยกระดับผูเรียนเขาสูมาตรฐานสากลมีศักยภาพเปนพลโลก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ดําเนินการดังนี้ 1. การจัดการเรียนการสอนโดยใชภาษาอังกฤษ เนนใหผูเรียนสามารถสื่อสารได 1.1 นักเรียนเรียนภาษาอังกฤษกับเจาของภาษาทุกระดับชั้น 1.2 เปดรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมวิชาฟง-พูด / อาน-เขียน ทุกระดับชั้นใน ทุกกลุมการเรียน (หองเรียนพิเศษ และหองเรียนปกติ) 2. จัดการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษในกลุมการเรียน EP ( English program) ทุกระดับชั้น ไมนอยกวา 18 คาบ/สัปดาห 3. เปดรายวิชา ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุน, ภาษาอังกฤษ, ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน และ ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุน, คอมพิวเตอร, โครงงานวิทยาศาสตร, เสริมทักษะอาชีพ ในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย 4. จัดรายวิชาเพิ่มเติมมาตรฐานสากลใหผูเรียนไดศึกษาคนควาดวยตนเอง (IS : Independent Study) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 4.1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน 1) การศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and Knowledge Formation : IS1) จํานวน 1.0 หนวยกิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 2) การสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation : IS2) จํานวน 1.0 หนวยกิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน (Global Education and Social Service Activity : IS3) จัดในกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยใหผูเรียนนําสิ่งที่เรียนรู หรือประสบการณจากรายวิชาเพิ่มเติม IS1 และ IS2 มาบริการสังคมและนําเสนอ ตอชุมชนในงานเปดลานวิชาการบานสวนฯ รังสิต โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต สูมาตรฐานสากล ส.ก.ร. คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 72


4.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 1) การศึกษาคนควาและสรางองคความรู (Research and Knowledge Formation : IS1) จํานวน 1.0 หนวยกิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 2) การสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation : IS2) จํานวน 1.0 หนวยกิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน (Global Education and Social Service Activity : IS3) จัดในกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยใหผูเรียนนําสิ่งที่เรียนรู หรือประสบการณจากรายวิชาเพิ่มเติม IS1 และ IS2 มาบริการสังคมและนําเสนอตอชุมชน ในงานเปดลานวิชาการบานสวนฯ รังสิต คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 73


¡Ãͺâ¤Ã§ÊÌҧàÇÅÒàÃÕ¹ âçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ »‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 2567 µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2551 ส.ก.ร. (©ºÑº»ÃѺ»Ãا ¾.È.2560) โçàÃÕ¹Êǹ¡ØËÅÒºÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѧÊÔµ SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL กรอบโครงสร้างเวลาเรียน โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ปีการศึกษา 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. ภาษาไทย 3 120 3 120 3 120 6 240 คณิตศาสตร์ 3 120 3 120 3 120 6 240 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 160 4 160 4 160 7 280 สังคมศึกษาฯ 3 120 3 120 3 120 6 240 ประวัติศาสตร์ 1 40 1 40 1 40 2 80 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 80 2 80 2 80 3 120 ศิลปะ 2 80 2 80 2 80 3 120 การงานอาชีพ 1 40 1 40 1 40 2 80 ภาษาต่างประเทศ 3 120 3 120 3 120 6 240 รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 22 880 22 880 22 880 41 1,640 รายวิชาเพิ่มเติม ปีละไม่น้อยกว่า 200 ชม. ไม่น้อยกว่า 1,600 ชม. หน้าที่พลเมือง (เพิ่มเติม) 1 1 1 2 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้(IS1) จัดในชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 1 จัดในชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 1 การสื่อสารและการนำเสนอ (IS2) จัดในชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2 จัดในชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 2 การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (IS3) จัดในชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2 จัดในชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้สวนกุหลาบศึกษา บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้และจัดในชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และจัดในชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระการเรียนรู้ต้านทุจริต บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1 1 1 0 360 - กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 120 - กิจกรรมนักเรียน ลูกเสือ เนตรนารี/นักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมชุมนุม 40 30 40 30 40 30 120 - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 120 รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 1,200 ชม./ปี รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชม.กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้เรียน เพิ่ม เวลา รู้ เวลา คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 74


คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 75


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนพิเศษ กลุมการเรียน EP (English Program) ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.101-102, ม.201-202, ม.301-302) ส.ก.ร. โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ กลุ่มการเรียน EP (English Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.101-102, ม.201-202, ม.301-302) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 3 3 9 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ภาษาต่างประเทศ 3 3 3 9 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 รวม 11 11 11 33 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 33 33 33 99 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 76


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม ตามแนวทางของ สพฐ. กลุมการเรียน SMTE (Science, Math, Technology and Environment) ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.106) ส.ก.ร. โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามแนวทางของ สสวท. และ สอวน. กลุ่มการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.103-106, ม.203-206) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 3 3 9 ภาษาไทย 0.5 1 - 1.5 ภาษาต่างประเทศ 1 1 1 3 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 เลือกเสรี 2 2 2 6 รวม 9.5 10 9 28.5 • รายวิชาเพิ่มพูนประสบการณ์ คณิตศาสตร์ - 1 1 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 - 1 2 รวม 1 1 2 4 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32.5 33 33 98.5 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 77


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร ตามแนวทางของ สสวท. และ สอวน. กลุมการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.103-105, ม.203-206, ม.303-306) ส.ก.ร. โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามแนวทางของ สสวท. และ สอวน. กลุ่มการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.103-106, ม.203-206) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 3 3 9 ภาษาไทย 0.5 1 - 1.5 ภาษาต่างประเทศ 1 1 1 3 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 เลือกเสรี 2 2 2 6 รวม 9.5 10 9 28.5 • รายวิชาเพิ่มพูนประสบการณ์ คณิตศาสตร์ - 1 1 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 - 1 2 รวม 1 1 2 4 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32.5 33 33 98.5 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 78


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนปกติ กลุมการเรียนวิทยาศาสตร - คณิตศาสตร ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.107-112, ม.207-212, ม.307-312) ส.ก.ร. แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า 79 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์– คณิตศาสตร์ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.107-ม.112, ม.207-212) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 3 3 8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 1 3 7 ภาษาไทย 1 - - 1 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) - 2 - 2 การงานอาชีพ - 1 1 2 เลือกเสรี 2 1 1 4 รวม 11 11 11 33 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 33 33 33 99 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 79


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนปกติ กลุมการเรียนทั่วไป ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.113-114, ม.213-214, ม.313-314) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า 82 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนทั่วไป ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.113-114, ม.213-214) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 - - 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 1 2 6 ภาษาไทย 1 - 1 2 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - - 1 1 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 การงานอาชีพ - 2 1 3 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) - 2 - 2 เลือกเสรี 2 2 2 4 รวม 11 10 10 31 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 33 32 32 97 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 80


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนพิเศษ กลุมการเรียน EP (English Program) ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.401-402, ม.501-502, ม.601-602) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า 84 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ กลุ่มการเรียน EP (English Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.401-402, ม.501-502, ม.601-602) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4.5 2.5 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 14.5 12.5 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 9.5 8 24.5 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ภาษาต่างประเทศ 4 4 4 12 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 17.5 20.5 18.5 56.5 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32 33 32.5 97.5 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 81


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร กลุมการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.403-404, ม.503-504, ม.603-605) ส.ก.ร. แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า 85 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ กลุ่มการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.403-404, ม.503-505) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 - - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 17 10 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 12 10 27 ภาษาต่างประเทศ 3 3 3 9 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 เลือกเสรี 2 2 1 5 รวม 14.5 22 18.5 55 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 31.5 32 32.5 96 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 82


แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า 87 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์–คณิตศาสตร์ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.405-409, ม.506-509) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 1 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 16 11 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 12 10 29 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 เลือกเสรี 2 2 1 5 รวม 15.5 21 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 31.5 32 31.5 95 โครงสรางหลักสูตรหองเรียนปกติ กลุมการเรียนวิทยาศาสตร - คณิตศาสตร ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.405-409, ม.506-509, ม.606-609) ส.ก.ร. คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 83


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนปกติ กลุมการเรียนภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.410-412, ม.510-512, ม.610-612) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า 90 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.410-412, ม.510-512, ม.610-612) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 1 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 16 11 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 3 4 7 ภาษาต่างประเทศ 5 5 5 15 การงานอาชีพ 1 2 1 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - 1 - 1 เลือกเสรี - 2 1 3 เสริมทักษะอาชีพ 2 - - 2 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) 2 - - 2 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 16.5 20 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32.5 31 31.5 95 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 84


คู่มือนักเรียนหน้า 91 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียน ภาษาอังกฤษ - ภาษาญี่ปุ่น ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.413, ม.513, ม.613) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.5 1.5 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 15.5 11.5 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย - 2 2 4 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 3 4 7 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 4 5 2 11 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาญี่ปุ่น) 9 9 9 27 การงานอาชีพ 1 - - 1 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) 2 - - 2 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 16.5 20 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32 31.5 31.5 95 โครงสรางหลักสูตรหองเรียนปกติ กลุมการเรียน ภาษาอังกฤษ - ภาษาญี่ปุน ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.413, ม.513, ม.613) ส.ก.ร. คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 85


โครงสรางหลักสูตรหองเรียนปกติ กลุมการเรียน ภาษาอังกฤษ - ภาษาจีน ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.414, ม.514, ม.614) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า 92 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียน ภาษาอังกฤษ - ภาษาจีน ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.414, ม.514, ม.614) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.5 1.5 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 15.5 11.5 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย - 2 2 4 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 3 4 7 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 4 4 2 10 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) 9 9 9 27 การงานอาชีพ 1 - - 1 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - 1 - 1 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) 2 - - 2 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 16.5 20 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32 31.5 31.5 95 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 86


แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า 93 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว. มธ.-สกร) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.415-416, ม.515-516) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 3 3 - 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7.5 - - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 18.5 11 12 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 3 3 2 8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 14.5 13.5 33 ภาษาต่างประเทศ 2 1 - 3 เลือกเสรี - 1 2 3 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 10.5 20.5 18 49 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ พบผู้เชี่ยวชาญ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 29 31.5 30 90.5 โครงสรางหลักสูตรหองเรียนวิทยาศาสตรในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว. มธ.-สกร) ปการศึกษา 2567 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.415-416, ม.515-516, ม.615-616) ส.ก.ร. คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 87


ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต วาดวยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) --------------------------------------------------------------------- โดยที่ไดประกาศใชหลักสูตรโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 ตามคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จึงเปนการสมควรที่กําหนดระเบียบ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต วาดวยการวัดและ ประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพื่อใหสามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับ คําสั่งดังกลาว ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 39 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2556 และกฎกระทรวงแบงสวนราชการ คณะกรรมการ บริหารหลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงวางระเบียบไวดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต วาดวยการ วัดและประเมินผล การเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตปการศึกษา 2561 เปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิกระเบียบ ขอบังคับ ที่ขัดแยงกับระเบียบนี้ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ 4 ระเบียบนี้ใหใชควบคูกับหลักสูตรโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ขอ 5 ใหผูอํานวยการสถานศึกษา รักษาการใหเปนไปตามระเบียบนี้ “โรงเรียน” หมายความวา “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต” “ผูอํานวยการ” หมายความวา “ผูอํานวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต” “ครู” หมายความวา “ครูโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต” “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา “บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต” คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 88


“ผูปกครอง” หมายความวา “บิดามารดา ผูใชอํานาจปกครองตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย รวมทั้งบุคคลซึ่งรับนักเรียนไวในความปกครอง แทนบิดามารดา” หมวด 1 หลักการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียน ขอ 6 การประเมินผลการเรียน ใหเปนไปตามหลักการดําเนินการตอไปนี้ 6.1 สถานศึกษาเปนผูรับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน โดยเปดโอกาสใหผูที่เกี่ยวของมีสวนรวม 6.2 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาผูเรียนและ ตัดสินผลการเรียน 6.3 การวัดและประเมินผลการเรียนรูตองสอดคลองและครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู/ตัวชี้วัดตามกลุมสาระการเรียนรูที่กําหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดใหมีการ ประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนกิจกรรมพัฒนา ผูเรียน 6.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรูเปนสวนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียน การสอน ตองดําเนินการดวยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อใหสามารถวัดและประเมิน ผลผูเรียนไดอยางรอบดานทั้งดานความรู ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ตองการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้น ของผูเรียน โดยตั้งอยูบนพื้น ฐานของความเที่ยงตรง ยุติธรรมและเชื่อถือได 6.5 การประเมินผูเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคูไปในกระบวนการ เรียนการสอนตามความเหมาะสมของ แตละระดับและรูปแบบการศึกษา 6.6 เปดโอกาสใหผูเรียนและผูมีสวนเกี่ยวของตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู 6.7 ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนระหวางสถานศึกษาและระหวางรูปแบบการ ศึกษาตาง ๆ 6.8 ใหสถานศึกษาจัดทําและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเปนหลักฐาน การประเมินผลการเรียนรู รายงานผลการเรียนแสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียน ของผูเรียน หมวด 2 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ขอ 7 สถานศึกษาตองดําเนินการวัดและประเมินผลใหครบองคประกอบทั้ง 4 ดาน คือ กลุมสาระการเรียนรู 8 กลุมสาระ การอาน คิดวิเคราะห และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 89


ขอ 8 การประเมินผลการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุมสาระ เปนการ ประเมินความรู ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิด ที่กําหนดอยูในตัวชี้วัดใน หลักสูตร ซึ่งจะนําไปสูการสรุปผลการเรียนรูตามมาตรฐานการเรียนรู ดําเนินการวัดผล ตามเกณฑที่กําหนด ดังนี้ 8.1 กําหนดสัดสวนคะแนนระหวางเรียนกับปลายภาคเรียน โดยใหความสําคัญ ของคะแนนระหวางเรียนมากกวาคะแนนปลายภาคเรียน ไดแก 1) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย สัดสวนคะแนนเปน 70 : 30 2) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร สัดสวนคะแนนเปน 70 : 30 3) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สัดสวนคะแนนเปน 70 : 30 4) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สัดสวนคะแนน เปน 70 : 30 5) กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ สัดสวนคะแนนเปน 70 : 30 6) กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สัดสวนคะแนนเปน 80 : 20 7) กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ สัดสวนคะแนนเปน 80 : 20 8) กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาพลศึกษา สัดสวนคะแนนเปน 80 : 20 8.2 ตรวจสอบเวลามาเรียนของผูเรียนใหเปนไปตามที่สถานศึกษากําหนด 8.3 ประเมินสาระการเรียนรู 8 กลุมสาระในระหวางเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน/ชิ้นงานของผูเรียนตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนดดวยวิธีการที่หลากหลาย และใชการประเมินผลตามสภาพจริง 8.4 ประเมินสาระการเรียนรู 8 กลุมสาระ ปลายภาคเรียน จากผลการทดสอบ (หรือแฟมสะสมผลงาน) ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ 8.5 ผูเรียนที่มีเวลาเรียน มีผลการประเมินระหวางเรียนและปลายภาคเรียน ประมวลผลเปนระดับผลการเรียนตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด เปนผูผานการประเมิน สาระการเรียนรู 8 กลุมสาระ และนําผลการประเมินไปบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน 8.6 ผูเรียนที่มีผลการประเมินตัวชี้วัด/มาตรฐานการเรียนรูไมผานตามเกณฑที่ สถานศึกษากําหนด ผูสอนตองดําเนินการซอมเสริมระหวางเรียน 8.7 การตัดสินผลการเรียนใหนําผลการประเมินระหวางเรียนรวมกับผลการ ประเมินปลายภาคเรียนตามสัดสวนคะแนนที่โรงเรียนกําหนดแลวใหระดับผลการเรียน 8.8 ในกรณีที่ผูเรียนทุจริตในการวัดและประเมินผลครั้งใดใหไดผลการประเมิน ในครั้งนั้นเปน “0” หากเปนการทุจริตในการวัดและประเมินผลปลายภาคเรียน ใหไดระดับ ผลการเรียนเปน “0” ในรายวิชานั้น ขอ 9 การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนของผูเรียน ใหครูประจําวิชา ดําเนินการวัดผลตามเกณฑที่กําหนด ดังนี้ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 90


9.1 กําหนดแนวทางการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนของผูเรียน คือ กลุมสาระการเรียนรูและผูรับผิดชอบพัฒนาและประเมินทุกคุณลักษณะ การบูรณาการตัว ชี้วัดของการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน รวมกับการประเมินผลกลุมสาระการ เรียนรู 8 กลุมสาระการเรียนรู 9.2 ประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนของผูเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน/ชิ้นงานของผูเรียนในตัวชี้วัดของ 8 กลุมสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน 9.3 ผูเรียนที่ไดรับผลการประเมินจากครูผูสอน 8 กลุมสาระ ตามเกณฑที่สถาน ศึกษากําหนด และไดรับการประมวลผลตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด เปนผูผานการ ประเมิน และนําผลการประเมินไปบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน 9.4 ผูเรียนที่มีผลการประเมินไมผานเกณฑการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ผูสอนและคณะกรรมการประเมินฯ ตองดําเนินการสงเสริมพัฒนาใหมีความ กาวหนาในตัวชี้วัดที่มีจุดบกพรอง และสรางผลงานที่สะทอนความสามารถในตัวชี้วัดที่ตอง ปรับปรุงแกไขไดอยางแทจริงดวยวิธีการที่หลากหลาย ขอ 10 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ใหครูผูสอนดําเนินการ วัดผลไปพรอมกับการประเมินผลระดับชั้นเรียนตามเกณฑที่กําหนดดังนี้ 10.1 กําหนดแนวทางการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน กลุมสาระการเรียนรูและผูที่รับผิดชอบพัฒนาและประเมินทุกคุณลักษณะ 10.2 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมหรือ สรางภาระงานรวบยอดของผูเรียนตามพฤติกรรมบงชี้ตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด 10.3 ผูเรียนที่ไดรับผลการประเมินจากครูผูสอน 8 กลุมสาระการเรียนรู ตามเกณฑ ที่สถานศึกษากําหนด และไดรับการประมวลผลตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด เปนผูผานการประเมินและนําผลการประเมินไปบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน 10.4 ผูเรียนที่มีผลการประเมินไมผานเกณฑการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค ผูสอนตองดําเนินการปรับปรุงพัฒนาและประเมินตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด ขอ 11 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนใหประเมินเปนรายภาคเรียน โดยสถาน ศึกษาเปนผูกําหนดแนวทางการประเมิน ผูรับผิดชอบกิจกรรมดําเนินการประเมินตามจุด ประสงคในรายกิจกรรม ตามเกณฑที่กําหนดดังนี้ 11.1 ตรวจสอบเวลาเขารวมกิจกรรมของผูเรียนใหเปนไปตามที่สถานศึกษา กําหนด 11.2 ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงาน ของผูเรียน ตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนดดวยวิธีการที่หลากหลาย และใชการประเมิน ตามสภาพจริง คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 91


11.3 ผูเรียนที่มีเวลาการเขารวมกิจกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงาน ของผูเรียน ตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด เปนผูผานการประเมินรายกิจกรรมและนําผล การประเมินไปบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน 11.4 ผูเรียนที่มีผลการประเมินไมผานตามเกณฑเวลาการเขารวมกิจกรรมหรือ เกณฑการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน ชิ้นงานของผูเรียนหรือทั้งสองเกณฑ ถือวาไมผาน การประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ผูสอนตองดําเนินการซอมเสริมและประเมินจนผาน ยกเวนมีเหตุสุดวิสัยใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษา หมวด 3 เกณฑการวัดและประเมินผลการเรียนรู ขอ 12 การตัดสินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กําหนดหลักเกณฑการวัดและประเมินผลการเรียนรู เพื่อตัดสินผลการเรียนของผูเรียน ดังนี้ 12.1 ตัดสินผลการเรียนเปนรายวิชา ผูเรียนตองมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม นอยกวารอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ 12.2 ผูเรียนตองไดรับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผานตามเกณฑที่สถานศึกษา กําหนด 12.3 ผูเรียนตองไดรับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา 12.4 ผูเรียนตองไดรับการประเมินและมีผลการประเมินระดับผานตามเกณฑที่ สถานศึกษากําหนดในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ขอ 13 การใหระดับผลการเรียน 13.1 การตัดสินผลการเรียนตัดสินเปนรายวิชา โดยใชผลการประเมินระหวาง ภาคและ ปลายภาคตามสัดสวนที่สถานศึกษากําหนด ทุกรายวิชาตองไดรับการตัดสินและ ใหระดับผลการเรียน ทั้งนี้ผูเรียนตองผานทุกรายวิชาพื้นฐาน การตัดสินผลการเรียน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใชระบบผานและไมผาน โดยกําหนดเกณฑการตัดสินผาน แตละรายวิชาที่รอยละ 50 จากนั้นจึงใหระดับผลการเรียนที่ผาน สําหรับระดับมัธยมศึกษา ตอนตนและตอนปลายใชตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเปน 8 ระดับ แนวการใหระดับ ผลการเรียนและความหมายของแตละระดับดังแสดงในตาราง ดังนี้ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 92


ในกรณีที่ไมสามารถใหระดับผลการเรียนเปน 8 ระดับได ใหใชตัวอักษรระบุ เงื่อนไขผลผลการเรียน ดังนี้ “มส” หมายถึง ผูเรียนไมมีสิทธิ์เขารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู เรียนมีเวลาเรียนไมถึงรอยละ 80 ของเวลาเรียนในแตละรายวิชา และไมไดรับการผอนผัน ใหเขารับการวัดผลปลายภาคเรียน “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไมได เนื่องจากผูเรียน ไมมีขอมูลผลการเรียนรายวิชานั้นครบถวน ไดแก ไมไดวัดผลระหวางภาคเรียน/ปลายภาค เรียน ไมไดสงงานที่มอบหมายใหทํา ซึ่งงานนั้นเปนสวนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยที่ทําใหประเมินผลการเรียนไมได 13.2 การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ใหผลการประเมินเปนผาน และไมผาน กรณีที่ผานใหระดับผลการประเมินเปนดีเยี่ยม ดี และ ผาน ในการสรุปผลการ ประเมินเพื่อการเลื่อนชั้นและจบการศึกษา กําหนดเกณฑการตัดสินเปน 4 ระดับ และความ หมายของแตละระดับ ดังนี้ ดีเยี่ยม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยูเสมอ ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนที่มีคุณภาพเปนที่ยอมรับ ผาน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนที่มีคุณภาพเปนที่ยอมรับ แตยังมีขอบกพรองบางประการ ไมผาน หมายถึง ไมมีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนหรือถามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีขอบกพรองที่ตองไดรับการปรับปรุงแกไขหลาย ประการ ระดับผลการเรียน ความหมาย ชวงคะแนนเปนรอยละ 4 ดีเยี่ยม 80 - 100 3.5 ดีมาก 75 - 79 3 ดี 70 - 74 2.5 คอนขางดี 65 - 69 2 ปานกลาง 60 - 64 1.5 พอใช 55 - 59 1 ผานเกณฑขั้นตํ่า 50 - 54 0 ตํ่ากวาเกณฑ 0 - 49 คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 93


13.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ใหผลการประเมินเปนผานและ ไมผาน กรณีที่ผานใหระดับผลการประเมินเปนดีเยี่ยม ดี และผาน ในการสรุปผลการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงครวม ทุกคุณลักษณะเพื่อการเลื่อนชั้นและจบการศึกษา กําหนดเกณฑการตัดสินเปน 4 ระดับ และความหมายของ แตละระดับ ดังนี้ ดีเยี่ยม หมายถึง ผูเรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเปนนิสัยและนําไปใชในชีวิต ประจําวัน เพื่อประโยชนสุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดี เยี่ยม จํานวน 5 – 8 คุณลักษณะ และไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวาระดับดี ดี หมายถึง ผูเรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ เพื่อใหเปนการ ยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก 1. ไดผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จํานวน 1 - 4 คุณลักษณะ และไมมี คุณลักษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวาระดับดี หรือ 2. ไดผลการประเมินระดับดีทั้ง 8 คุณลักษณะ หรือ 3. ไดผลการประเมินตั้งแตระดับดีขึ้นไป จํานวน 5 - 7 คุณลักษณะ และมีบางคุณลักษณะไดผลการประเมินระดับผาน ผาน หมายถึง ผูเรียนรับรูและปฏิบัติตามกฎเกณฑและเงื่อนไขที่สถานศึกษา กําหนด โดยพิจารณาจาก 1. ไดผลการประเมินระดับผานทั้ง 8 คุณลักษณะ หรือ 2. ไดผลการประเมินตั้งแตระดับดีขึ้นไป จํานวน 1 - 4 คุณลักษณะ และ คุณลักษณะที่เหลือไดผลการประเมินระดับผาน ไมผาน หมายถึง ผูเรียนรับรูและปฏิบัติไดไมครบตามกฎเกณฑและเงื่อนไขที่ สถานศึกษา กําหนดโดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไมผาน ตั้งแต 1 คุณลักษณะ 13.4 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวม กิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผูเรียนตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนดและให ผลการประเมินเปนผานและไมผาน กิจกรรมพัฒนาผูเรียนมี 3 ลักษณะ คือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบดวย (1) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน และนักศึกษา วิชาทหาร โดยผูเรียนเลือกอยางใดอยางหนึ่ง (2) กิจกรรมชุมนุมหรือชมรม ทั้งนี้ ผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนจะตองเขารวมกิจกรรมทั้งขอ (1) และ (2) สําหรับผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถเลือกเขารวมกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ในขอ (1) หรือ (2) คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 94


(3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ใหใชตัวอักษรแสดงผลการประเมิน ดังนี้ “ผ” หมายถึง ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงานตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด “มผ” หมายถึง ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงานไมเปนไปตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด ขอ 14 การเปลี่ยนผลการเรียน 14.1 การเปลี่ยนผลการเรียน “0” สถานศึกษาจัดใหมีการสอนซอมเสริมในมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดที่ผูเรียน สอบไมผานกอน แลวจึงสอบแกตัวไดไมเกิน 2 ครั้ง ถาผูเรียนไมดําเนินการสอบแกตัวตาม ระยะเวลาที่สถานศึกษากําหนด ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลา ออกไปอีก 1 ภาคเรียน สําหรับภาคเรียน 2 ตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในปการศึกษานั้น การสอบแกตัว ใหไดระดับผลการเรียนไมเกิน “1” ถาสอบแกตัว 2 ครั้งแลว ยังไดระดับผลการเรียน “0” อีก ใหสถานศึกษาแตง ตั้งคณะกรรมการดําเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนผลการเรียนของผูเรียน โดยปฏิบัติดังนี้ 1) ถาเปนรายวิชาพื้นฐาน ใหเรียนซํ้ารายวิชานั้น 2) ถาเปนรายวิชาเพิ่มเติม ใหเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษา ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม ใหหมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนวา เรียนแทนรายวิชาใด 14.2 การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ใหดําเนินการดังนี้ ใหผูเรียนดําเนินการแกไข “ร” ตามสาเหตุ เมื่อผูเรียนแกไขปญหาเสร็จ แลวใหไดระดับผลการเรียนตามปกติ (ตั้งแต 0 - 4) ถาผูเรียนไมดําเนินการแก “ร” กรณีที่สงงานไมครบ แตมีผลการประเมิน ระหวางภาคและปลายภาค ใหผูสอนนําขอมูลที่มีอยูตัดสินผลการเรียน ยกเวนมีเหตุสุดวิสัย ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษา ที่จะขยายเวลาการแก “ร” ออกไปอีกไมเกิน 1 ภาคเรียน สําหรับภาคเรียนที่ 1 สําหรับภาคเรียนที่ 2 ตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในปการศึกษานั้น เมื่อพนกําหนดนี้แลวใหเรียนซํ้าหากผลการเรียนเปน ”0” ใหดําเนินการแกไขตามหลักเกณฑ 14.3 การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี 2 กรณี ดังนี้ 1) กรณีผูเรียนไดผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไมถึงรอยละ 80 มี เวลาเรียนไมนอยกวารอยละ 60 ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น ใหสถานศึกษาจัดใหเรียน คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 95


เพิ่มเติมจนมีเวลาเรียนครบตาม ที่กําหนดแลวจึงใหวัดผลปลายภาคเปนกรณีพิเศษ ผลการ แก “มส” ใหไดระดับผลการเรียนไมเกิน “1” การแก “มส” กรณีนี้ใหกระทําใหเสร็จสิ้น ภายในปการศึกษานั้น ถาผูเรียนไมมาดําเนินการแก “มส” ตามระยะเวลาที่กําหนดไวนี้ให เรียนซํ้า ยกเวนมีเหตุสุดวิสัยใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก “มส” ออกไปอีกไมเกิน 1 ภาคเรียน สามารถแกผลการเรียนเปน “1-4” แตเมื่อพนกําหนดนี้แลว ใหปฏิบัติดังนี้ (1) ถาเปนรายวิชาพื้นฐานใหเรียนซํ้ารายวิชานั้น (2) ถาเปนรายวิชาเพิ่มเติมใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษา ใหเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาใหม 2) กรณีผูเรียนไดผลการเรียน “มส” และมีเวลาเรียนนอยกวารอยละ 60 ของเวลาเรียนทั้งหมด ใหสถานศึกษาปฏิบัติดังนี้ (1) ถาเปนรายวิชาพื้นฐาน ใหเรียนซํ้ารายวิชานั้น (2) ถาเปนรายวิชาเพิ่มเติม ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษา ใหเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม ใหหมายเหตุในระเบียนแสดงผลการ เรียนวาเรียนแทนรายวิชาใด การเรียนซํ้ารายวิชา ผูเรียนที่ไดรับการสอนซอมเสริมและ สอบแกตัว 2 ครั้ง แลวไมผานเกณฑการประเมิน ใหเรียนซํ้ารายวิชานั้น ทั้งนี้ใหอยูใน ดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดใหเรียนซํ้าในชวงใดชวงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็นวาเหมาะสม เชน พักกลางวัน วันหยุด ชั่วโมงวางหลังเลิกเรียน ภาคฤดูรอน เปนตน ในกรณีภาคเรียนที่ 2 หากผูเรียนยังมีผลการเรียน “0” “ร” “มส” ใหดําเนิน การใหเสร็จสิ้นกอนเปดเรียนปการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปดการเรียนการสอนใน ภาคฤดูรอนเพื่อแกไข ผลการเรียนของผูเรียนได ทั้งนี้หากสถานศึกษาใดไมสามารถดําเนิน การเปดสอนภาคฤดูรอนได ใหสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา/ตนสังกัดเปนผูพิจารณา ประสานงานใหมีการดําเนินการเรียนการสอนในภาคฤดูรอน เพื่อแกไขผลการเรียนของผูเรียน 14.4 การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ” กรณีที่ผูเรียนไดผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาตองจัดซอมเสริมใหผูเรียน ทํากิจกรรม ในสวนที่ผูเรียนไมไดเขารวมหรือไมไดทําจนครบถวน แลวจึงเปลี่ยนผล การเรียนจาก “มผ” เปน “ผ” ได ทั้งนี้ ดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในภาคเรียนนั้น ๆ ยกเวน มีเหตุสุดวิสัยใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไมเกิน 1 ภาคเรียน สําหรับภาคเรียนที่ 2 ตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในปการศึกษานั้น ขอ 15 การเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปการศึกษา ผูเรียนจะไดรับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ ดัง ตอไปนี้ คูมือนักเรียนและผูปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 96


Click to View FlipBook Version