The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออ่านเพิ่มเติม ทวีปยุโรปน่ารู้
ครูฐาปนี ชำนาญกุล
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pirapong Pridachom, 2019-08-19 09:03:11

หนังสืออ่านเพิ่มเติม ทวีปยุโรปน่ารู้

หนังสืออ่านเพิ่มเติม ทวีปยุโรปน่ารู้
ครูฐาปนี ชำนาญกุล
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต

Keywords: Social SKR

หนังสอื อ่านเพิ่มเตมิ

สาหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

ทวีปยโุ รปนา่ รู้

โดย นางสาวฐาปนี ชานาญกลุ
ตาแหนง่ ครู

กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวิทยาลยั รังสติ



คานา

หนังสอื อา่ นเพิ่มเติม ทวปี ยุโรปนา่ รู้ เปน็ หนังสอื อ่านเพ่มิ เติมท่จี ัดทาขึน้ มา
เพื่อใหน้ ักเรียนใช้ศกึ ษาความรเู้ พม่ิ เตมิ เกยี่ วกับเน้ือหาสาระภูมิศาสตร์ เรื่อง
ภูมิศาสตร์ทวีปยุโรป โดยผู้จดั ทาไดร้ วบรวมเรือ่ งนา่ รู้ และเกร็ดความรูต้ ่างๆ
ไว้ในหนังสือเลม่ น้ี เพือ่ ชว่ ยให้นกั เรียนเขา้ ใจเนอื้ หามากข้นึ

การจดั ทาหนงั สืออา่ นเพ่ิมเตมิ เลม่ น้ผี จู้ ดั ทาได้ทาการคน้ คว้า และรวบรวม
ขอ้ มูลจากหนังสอื บทความต่างๆ ผู้จัดทาหวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ หนงั สืออ่าน
เพ่มิ เตมิ เลม่ นี้จะเปน็ ประโยชนต์ ่อผูท้ ีส่ นใจศกึ ษาตอ่ ไป

ฐาปนี ชานาญกุล
ผจู้ ัดทา



จุดประสงคข์ องการศกึ ษาหนงั สอื อา่ นเพม่ิ เติม

เพื่อใช้เป็นส่ือในการจัดการเรียนการสอนในสาระการเรียนรู้ภูมิศาสตร์
สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง ภูมิศาสตร์
ทวีปยุโรป โดยหนังสืออ่านเพ่ิมเติมเล่มนี้มีเนื้อหาสาระที่เก่ียวกับเกร็ดความรู้
เพิ่มเติม เป็นส่ือช่วยสร้างความเข้าใจให้แก่นักเรียน หลังจากศึกษาหนังสือ
เพ่ิมเติมแล้วน้นั นักเรียนจะไดร้ บั ประโยชน์ ดงั น้ี

1. เป็นแนวทางสาหรับการเรียนสาระการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ ซึ่งมีเนื้อหา
เพ่ิมเตมิ จากหลักสูตร ลาดับการนาเสนอเขา้ ใจงา่ ย

2. ได้รับความรู้เพ่ิมเติม สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ใน
การเรยี นได้

3. นาความรู้จากหนังสือเพิ่มเติมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่าง
เหมาะสม



คาแนะนาในการใชห้ นงั สอื อา่ นเพม่ิ เติม
เรอ่ื ง “ทวีปยโุ รปนา่ รู้”

1. ก่อนศึกษาหนังสืออ่านเพิ่มเติมให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
จานวน 10 ข้อ โดยให้นกั เรยี น SCAN QR CODE แลว้ ทาแบบทดสอบออนไลน์

2. ศกึ ษาหนงั สืออา่ นเพิ่มเติม เรื่อง “ทวีปยุโรปน่ารู้”
3. หลังจากศึกษาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลัง
อ่าน จานวน 10 ข้อ โดยให้นักเรียน SCAN QR CODE แล้วทาแบบทดสอบ
ออนไลน์
4. ครสู รุปคะแนนนักเรียนจากการทาแบบทดสอบ เพื่อเปรียบเทียบผลการ
เรียนและพฒั นาตอ่ ไป

สารบญั ง

คานา หน้า
จุดประสงค์ของการศกึ ษาหนงั สอื อ่านเพ่ิมเติม ก
คาแนะนาในการใช้หนงั สืออา่ นเพิ่มเตมิ เร่อื ง “ทวปี ยโุ รปนา่ รู้” ข
สารบัญ ค
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง
กว่าจะมาเป็นแผน่ เปลือกโลกในปัจจบุ ัน 1
ทวีปยโุ รป??? 2
สหภาพยโุ รป (EU) 3
จะเรียก “สหราชอาณาจักร” หรือ “องั กฤษ” ? 4
พระอาทติ ยเ์ ทยี่ งคนื (Midnight Sun) 5
ทะเลสาบ (Lake) 6
“แลปแลนด์ (Lapland)” ดินแดนซานตาคลอส 7
หอเอนเมอื งปิซา 8
สโตนเฮนจ์ (Stonehenge) 9
หนาวทีส่ ดุ ในโลก! 10
หอไอเฟล 11
มหาวหิ ารนอเทรอดาม 12
ฟยอรด์ (Fjord) 13
ดินดอนสามเหล่ยี มปากแม่นา้ 14
ภเู ขาไฟ 15
ทาไมถงึ เรียกทะเลดา???? 16
เขตเกษตรกรรมทสี่ าคญั ของทวีปยุโรป 17
เขตทีร่ าบสูงของทวีปยุโรป 18
เขตเทือกเขาภาคใต้ 19
แมน่ า้ ในทวีปยุโรป 20
เขตภูมอิ ากาศ 21
กระแสน้าอ่นุ กระแสน้าเย็น 22
พน้ื ทีอ่ ับฝน หรือเขตเงาฝน 23
Dogger Bank 24
แบบทดสอบหลังเรยี น 25
26

1

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ให้นักเรยี น SCAN
QR CODE แล้วทา
แบบทดสอบออนไลน์

กว่าจะมาเปน็ แผน่ เปลอื กโลกในปจั จบุ นั 2

ผิวโลกบริเวณต่างๆ มีลักษณะต่างกันบางแห่งเป็นที่ราบ บางแห่งเป็นภูเขา
บางแห่งเป็นหุบเหว และบางแห่งเป็นทะเลหรือมหาสมุทร นักวิทยาศาสตร์ชาว
เยอรมัน ชื่ออัลเฟรด เวเจเนอร์ ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับเปลือกโลกว่า เม่ืออดีต
ประมาณ 225 ล้านปี ผิวโลกส่วนท่ีเป็นแผ่นดินที่ย่ืนข้ึนมาจากผิวน้ามีเพียงทวีป
เดียว เป็นทวีปที่ใหญ่มาก เขาได้ตัง้ ช่ือทวปี นี้ว่า แพงเจีย (Pangaea)

เม่ือ 200 - 135 ล้านปีที่แล้ว แยกออกเป็น 2 ทวีปใหญ่ คือ ลอเรเชีย ทาง
ตอนเหนือ และกอนด์วานาทางตอนใต้ และเมื่อ 135 - 65 ล้านปีที่แล้ว ลอเร
เชียเร่ิมแยกเป็นอเมริกาเหนือ และแผ่นยูเรเชีย ส่วนกอนด์วานาจะแยกเป็น
อเมริกาใต้ แอฟรกิ า ออสเตรเลีย แอนตาร์กตกิ และอินเดีย

นักธรณีวิทยาแบ่งแผ่นธรณีภาคของโลกออกเป็น 2 ประเภท คือ แผ่นทวีป
และแผ่นมหาสมุทรท้ัง 2 ประเภทรวมกันมี 13 แผ่น (กระทรวงศึกษาธิการ,
2546: 50)

- แผ่นทวีป เช่น แผ่นยูเรเชีย อินเดีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ อแฟริกา
อาระเบยี

- แผ่นมหาสมุทร เช่น แผ่นแปซิฟิก แอนตาร์กติก คาริบเบีย คอคอส นา
สกา

ทวปี ยโุ รป??? 3

ทวีปยุโรป เป็นทวีปท่ีมีผืนแผ่นดินที่ต่อเนื่องกันกับทวีปเอเชีย จึง
เรยี กรวมกันว่า “ยูเรเชยี ” (Eurasia) พน้ื ท่ีส่วนใหญ่ต้ังอยู่ทางซีกโลก
เหนือ เป็นทวีปที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับที่ 2 รองจากทวีปออสเตรเลีย
และโอเชยี เนยี มกี ารแบ่งเขตประเทศมากถึง 45 ประเทศ

ด้ ว ย ค ว า ม ที่ ท วี ป ยุ โ ร ป มี ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ
ภูมิอากาศ สังคมและวัฒนธรรม การปกครอง และ
เศรษฐกิจท่ีแตกต่างกัน จึงแบ่งเขตการปกครอง
ออกเป็น 4 ภูมิภาค ได้แก่ ยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันออก
ยโุ รปใต้ และยโุ รปตะวันตก

สหภาพยโุ รป (EU) 4

สหภาพยุโรป เป็นการรวมกลุ่มของ สกุลเงนิ
ประเทศในทวีปยุโรปเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจใน เลอู
ภูมิภาคให้มีความมั่งคั่งและมีประสิทธิภาพ ยูโร
ภายใตร้ ะบอบประชาธิปไตย ปัจจุบัน EU มีรัฐ ลัตส์
สมาชิกจานวน 28 ประเทศ มีระบบตลาด ลีตสั
รว่ ม ระบบภาษีศุลกากรร่วม การใช้เงินสกุลยู ยูโร
โรร่วมกันใน 17 ประเทศสมาชิก และมี ยูโร
ศูนย์กลางการบริหารอยู่ท่ีกรุงบรัสเซลส์ ยโู ร
ประเทศเบลเยียม โครนา
ปอนด์
ท่ี ชอ่ื ประเทศ สกลุ เงนิ ที่ ชอ่ื ประเทศ ยูโร
1 กรซี ยโู ร 15 โรมาเนีย ยูโร
2 โครเอเชยี คูนา 16 ลักเซมเบริ ก์ ยโู ร
3 เช็กเกยี โครูนา 17 ลัตเวีย ยโู ร
4 ไซปรสั ยโู ร 18 ลิทวั เนยี โฟรินต์
5 เดนมารก์ โครน 19 สเปน
6 เนเธอรแ์ ลนด์ ยูโร 20 สโลวาเกยี
7 บลั แกเรยี เลฟ 21 สโลวีเนยี
8 เบลเยียม ยโู ร 22 สวีเดน
9 โปรตเุ กส ยูโร 23 สหราชอาณาจกั ร
10 โปแลนด์ ซวอตี 24 ออสเตรยี
11 ฝรั่งเศส ยโู ร 25 อิตาลี
12 ฟินแลนด์ ยโู ร 26 เอสโตเนีย
13 มอลตา ยโู ร 27 ไอร์แลนด์
14 เยอรมนี ยูโร 28 ฮงั การี

****สหราชอาณาจกั ร ลาออกจากการเป็นสมาชิก 31 ตุลาคม พ.ศ. 2562

5

จะเรยี ก “สหราชอาณาจกั ร” หรอื “องั กฤษ” ?

สหราช สหราชอาณาจกั รบรเิ ตนใหญ่
อาณาจกั ร?? และไอรแ์ ลนดเ์ หนอื ??

ประเทศ
องั กฤษ??

ประกาศสานักนายกรัฐมนตรีและ
ประกาศราชบัณฑิตยสถานเร่ืองชื่อ
ประเทศ ดนิ แดน เขตการปกครอง และ
เมอื งหลวง ได้ประกาศให้ใช้ชื่อประเทศ
นี้ว่า “สหราชอาณาจักร (United
Kingdom) หรือ เรียกชื่ออย่างเป็น
ทางการว่า สหราชอาณาจักรบริเตน
ใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (United
Kingdom of Great Britain and
Northern Ireland)” ทางด้านการ
ป ก ค ร อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย อั ง ก ฤ ษ
ไอรแ์ ลนดเ์ หนือ สกอตแลนด์ และเวลส์

แต่ด้วยความคุ้นเคยของคนไทย ราชบัณฑิตยสถานก็ได้อนุโลมให้ใช้ว่า “ประเทศ
องั กฤษ” ได้เนื่องจากชือ่ ดังกล่าวเปน็ ที่ร้จู กั ยอมรบั และเข้าใจกันท่ัวไปว่าหมายถึง
สหราชอาณาจักร

พระอาทิตยเ์ ท่ียงคืน (Midnight Sun) 6

พระอาทิตย์เท่ียงคืน เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีเราสามารถเห็น
พระอาทติ ย์ไดต้ ลอดระยะเวลา 24 ชั่วโมง มีแสงสว่างตลอดท้ังวันท้ัง
คืน ปรากฏการณ์น้ีจะเกิดขึ้นบริเวณขั้วโลกเหนือและข้ัวโลกใต้ บริเวณท่ี
อยู่เหนอื เส้นอาร์กตกิ เซอร์เคลิ (Arctic Circle) หรือเหนือเส้นละติจูด
ที่ 66.5 องศาเหนือขึ้นไป และใต้เส้นแอน ตาร์กติกเซอร์เคิล
(Antarctic Circle) หรือใตเ้ ส้นละตจิ ดู ท่ี 66.5 องศาใต้ลงมา

ในทางกลับกันบริเวณขั้วโลกใต้
ต่ากว่าเส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิล
(Antarctic circle) ลงมา จะเกิด
ปรากฏการณ์ตรงกันข้าม คือไม่ได้
รับแสงสว่างตลอดท้ังกลางวันและ
ก ล า ง คื น พื้ น ที่ บ ริ เ ว ณ น้ั น จึ ง
กลายเป็นพ้ืนท่ีที่มืดสนิท จะไม่ได้รับ
แสงสว่างจากดวงอาทิตย์ตลอด
24 ชวั่ โมง ในช่วงเวลาเดียวกนั

ทะเลสาบ (Lake) 7

ภาพทะเลสาบโคโม (อิตาลี)

ภาพทะเลสาบฮลั ลส์ ตทั ท์ ทะเลสาบ หมายถึง แอ่งน้าใหญ่มาก มี
(สวซิ เซอรแ์ ลนด์) แผน่ ดนิ ล้อมรอบหรือเกือบรอบ

ทะเลสาบส่วนมากมีน้าจืด และมักจะไม่มี
ทางให้น้าไหลออกทะเลโดยตรง เช่น ทะเลสาบ
เขมร ทะเลสาบเจนีวา ทะเลสาบใหญ่ท้ังห้า
ทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา ทะเลสาบมี
ขนาดและความลึกต่าง ๆ กนั

ทะเลสาบอาจมีทางเชือ่ มติดต่อกบั ทะเล ส่วนทะเลสาบทมี่ ีน้าเคม็ เปน็ ทะเลสาบท่ีมีทาง

ติดต่อกับทะเล เช่น ทะเลสาบสงขลาซ่ึงมีทั้งน้ากร่อยและน้าเค็ม ทะเลสาบน้าเค็มซึ่ง

เป็นท่ีรู้จักกันดี คือ ทะเลเดดซี (Dead Sea) อยู่ตรงเส้นเขตแดนระหว่างประเทศ

อิสราเอลกบั ประเทศจอร์แดน เป็นทะเลสาบทมี่ นี ้าเคม็ จดั

ทะเลสาบน้าเค็มท่ีใหญ่ที่สุดใน

โลก คือ ทะเลแคสเปียน (The

salty Caspian Sea) เป็น

ทะเลสาบน้าเค็มท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลก

เน่ืองจากเป็นทะเลท่ีถูกล้อมรอบ

ด้วยแผ่นดิน ต้ังอยู่ในเขตรอยต่อ

ประเทศรัสเซีย อิหร่าน คาซัก ภาพทะเลสาบเดดซี
สถาน และอีกหลายประเทศ

“แลปแลนด์ (Lapland)” ดินแดนซานตาคลอส 8

แลปแลนด์ (Lapland) ต้ังอยู่ทางเหนือ
ของประเทศฟนิ แลนด์ และครอบคลุมพ้ืนที่ทาง
ตอนเหนือของประเ ทศนอร์เวย์ สวีเดน
ฟินแลนด์ และคาบสมุทร มีภูมิอากาศแบบป่า
สนหรอื กึ่งอารก์ ตกิ อณุ ภูมิตา่ กว่าจดุ เยือกแข็ง
โดยท่ัวไปจะหนาวเย็น มีหิมะปกคลุมแม้ในช่วง
ฤดูหนาวผา่ นพน้ ไปแล้ว

กิจกรรมยอดฮิตเม่ือมายัง แลปแลนด์ คือ
ตามล่าหาแสงเหนือ (ออโรร่า) , เที่ยวหมู่บ้าน
ซานตาครอส , หมู่บ้านอิกลูแคสสลอตทาเน่น,
น่ังรถเลื่อนที่ลากด้วยกวางเรนเดียร์ หรือ
ขับเคลื่อนสุนัขลากเลื่อน Husky Safari หรือ
ล่องเรอื SAMPO Icebreaker เรอื ตดั นา้ แข็ง
หรอื ไอซเ์ บรกเกอร์ ทโี่ ดง่ ดังทสี่ ดุ ในโลก เป็นตน้

นอกจากน้ีบางพ้ืนท่ีของ แลปแลนด์ ท่ีต้ัง
อยู่เหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล บ้างคร้ังอาจ
เกดิ ปรากฏการณพ์ ระอาทิตย์เทีย่ งคืนได้ ในจดุ ท่ี
เหนือที่สุดของฟินแลนด์ พระอาทิตย์ไม่ตกดิน
เป็นเวลา 73 วันในช่วงฤดูร้อน และไม่ขึ้นเลย
เปน็ เวลา 51 วันในช่วงฤดหู นาว

หอเอนเมอื งปซิ า 9

หอระฆังของคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ท่ีเมืองปิซา เป็นหอ
ทรงกระบอก 8 ชั้น สร้างด้วยหินอ่อนสีขาว สูง 55.86 เมตร น้าหนักรวม
14,500 ตนั มบี นั ได 293 ขั้น แตเ่ อยี งทามุม 3.97 องศา

กาลิเลโอ ใช้หอนี้ทดลองเร่ือง แรงโน้มถ่วง โดยใช้ลูกบอล 2 ลูกท่ีน้าหนักไม่
เท่ากันทิง้ ลงมา เพ่ือพสิ ูจน์ว่าลกู บอลน้นั จะตกถงึ พน้ื พรอ้ มกนั

ปี ค.ศ. 1934 เบนิโต มุสโสลินี พยายามจะทาให้หอกลับมาตั้งฉากดังเดิม โดย
เทคอนกรตี ลงไปท่ฐี าน แตก่ ลบั ทาให้หอยิ่งเอียงมากขนึ้

27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1964 รัฐบาลอิตาลี
พยายามใช้เหล็กรวมกว่า 800 ตัน ค้าไว้ไม่ให้
หอลม้ ลงมา

ค.ศ. 1987 หอเอนเมืองปิซาได้รับการ
ประกาศให้เป็นมรดกโลก โดยเป็นส่วนหน่ึงของ
Piazza Dei Miracoli และยังเป็น 7 ส่ิง
มหศั จรรยข์ องโลกยุคกลางอกี ดว้ ย

สโตนเฮนจ์ (Stonehenge) 10

สโตนเฮนจ์ ตงั้ อยู่กลางท่งุ ราบกว้างใหญ่ตอน
ใต้ของเกาะอังกฤษ มีท้ังหมด 112 ก้อน ต้ังเรียง
กนั เป็นวงกลมซ้อนกัน 3 วง

คาดว่าถูกสร้างข้ึนเมื่อ 5,000 ปีที่แล้ว
นักวิทยาศาสตร์และนักประวัติศาสตร์ต่างสงสัย
ว่า คนสมยั กอ่ นยกแท่งหินที่หนักกวา่ 30 ตันขึ้นไป
วางเรยี งกนั ไดอ้ ยา่ งไร และทน่ี ่าแปลกคือบรเิ วณ ที่
ราบดังกล่าวไม่มีก้อนหินขนาดมหึมาน้ี จึง
สันนิษฐานว่าต้องใช้การชักลากแท่งหินท้ังหมดมา
จากที่อ่ืน ซ่ึงน่าจะมาจากบริเวณ "ทุ่งมาร์ลโบโร"
ทีไ่ กลออกไปประมาณ 40 กิโลเมตร

มีผู้สันนิษฐานถึงวัตถุประสงค์ในการสร้างสโตนเฮนจ์หลายประเด็น แต่ท่ีได้รับ
ความเช่ือถือมากท่ีสุด คือ เป็นสัญลักษณ์ถึงอวัยวะเพศหญิง เป็นสถานที่สาหรับทา
พิธีกรรมทางศาสนาของลัทธิดรูอิต รองลงมาคือความเชื่อท่ีระบุว่า ใช้ในการ
สงั เกตปรากฏการณ์ทเี่ กิดขนึ้ บนท้องฟา้

สโตนเฮนจ์จัดเปน็ เจด็ สงิ่ มหศั จรรย์ของโลกยุคกลาง

หนาวทสี่ ดุ ในโลก! 11

หมูบ่ ้านไซบเี รยี อุณหภูมิ -67 องศา
เมืองเล็ก ๆ แถบไซบีเรียของรัสเซีย เป็นเมืองที่มีอากาศหนาวท่ีสุดในโลก

อณุ หภมู ิเฉลย่ี ต่ากวา่ เกณฑท์ ี่กาหนดไว้ คอื -60 องศาเซลเซยี ส!
เมืองโอมียาคอน ต้ังอยู่เหนือระดับน้าทะเล 750 เมตร มีประชากรประมาณ

500 คน แม้ว่าสภาพอากาศจะเลวร้ายเพียงใด แต่การใช้ชีวิตของประชาชนก็ไม่ได้
รบั ผลกระทบมากนัก

โรงเรียนจะปิดเรียนก็ต่อเม่ืออุณหภูมิลดลงต่ากว่า -54 องศาเซลเซียส
เทา่ นั้น ประชาชนยังคงใชฟ้ นื หรอื ถา่ นหินเปน็ เช้ือเพลงิ และใหค้ วามอบอุ่น

อาหารส่วนใหญท่ ามาจากเน้ือม้าและกวางเรนเดียร์เปน็ หลัก

เมือง นี้อากาศห น าวจัดจนกระทั่ง
ทางการต้องทาป้ายท่ีมีคาว่า “Oymyakon,
the Pole of Cold” หรือ “โอมียาคอน ข้ัว
แห่งความหนาว” ช่วงฤดูหนาวในเดือน
ธันวาคมท่ีน่ีมีช่วงกลางวันเพียง 3 ชั่วโมง
ขณะท่ีในฤดูร้อนช่วงกลางวันจะยาวนานถึง
21 ช่ัวโมง

หอไอเฟล 12

หอไอเฟล สัญลักษณ์ของนครปารีส สร้างข้ึนใน ค.ศ. 1887–1889 ออกแบบ
โดยกสุ ตาฟ ไอเฟล (Gustave Eiffel) เพ่ือเปน็ สญั ลักษณก์ ารจัดงานแสดงสินคา้ โลก
ในปี ค .ศ. 1889 ฉลองครบรอบ 100 ปีแห่งการปฏิวัติอุตสาหกรรม

ทาข้ึนจากโลหะ 15,000 ชิ้น หนักถึง 7,000 ตัน ยึดต่อด้วยนอต
3,500,000 ตัว สีทาท้ังหมด 35 ตัน สูง 1,050 ฟุต ใช้เงิน 7,799,401 ฟรังก์
เสียเวลาสร้าง 1 ปี มลี ิฟต์พาชมวิวได้ถึงยอดหอซ่ึงมีร้านอาหารท่ีสามารถนั่งชมวิว
ได้ทวั่ ทั้งกรงุ ปารสี และชมความงามของแมน่ า้ แซนดว้ ย

หอนเ้ี คยเปน็ อาคารสงู ที่สดุ ในโลกสมัยแรก จนกระทัง่ ตกึ เอม็ ไพรส์ เตท
สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1931

มหาวิหารนอเทรอดาม 13

มหาวิหารนอเทรอดาม(Notre Dame Cathedral) เป็นหนง่ึ ในมหาวิหารช่ือดัง
ของโลก ที่จารึกในประวัติศาสตร์ชั้นเอกของสถาปัตยกรรมกอธิคท่ีสวยงามทั้ง
ภายนอก-ภายใน มีผลงานแกะสลักอย่างวิจิตรงดงามเก่ียวกับศาสนาและ
วัฒนธรรม สามารถดึงดูดนักทอ่ งเที่ยวมากมายจากทวั่ ทุกมุมโลก

มหาวิหารแห่งน้ี ถือเป็นมหาวิหารแห่งแรกท่ีสร้างในสไตล์โกธิค ตัวอาคารมี
ความสูงวัดถึงยอดอยู่ท่ี 69 เมตรโดยมีระยะเวลาการก่อสร้างนานหลายยุคสมัย
ต้ังแต่ ค.ศ. 1163 จนสรา้ งแล้วเสรจ็ เม่ือ ค.ศ. 1345 โดยมีการปรับปรุงซ่อมแซมใน

ส่วนท่ีเสียหายอยู่เร่ือยๆ อาธิเช่น ซ่อมแซมหลังจาก
การปฏิวัตฝิ รง่ั เศส , ปรบั ปรงุ เพ่ือบูรณะอาคารอีกทง้ั
เปล่ียนวัสดุตกแต่งจากความสึกหรอ ภายในและ
ภายนอกอาคารประดับประดาด้วยประติมากรรม
และหน้าตา่ งกระจกสี ซ่ึงมคี วามงดงามมาก

ฟยอรด์ (Fjord) 14

ภาพเกรงั เกอรฟ์ ยอรด์ (Geirangerfjord)

ภาพซองฟยอรด์ Sognefjord) ภาพลีเซฟยอรด์ (Lysefjord)

ฟยอรด์ เกิดจากการกัดเซาะของธารนา้ แข็งบนท่ีราบหุบเขาท่ีมีชน้ั หนิ แขง็ โดยรอบ
โดยที่ราบหุบเขา (Valley) ส่วนมากน้ันมักจะเกิดตั้งแต่ในยุคน้าแข็งท่ีผ่านมา การ
ละลายของธารน้าแข็งร่วมกับการเด้งตัวกลับของเปลือกโลกเนื่องจากการหายไป
ของน้าแข็งและตะกอนจานวนมาก (ในทางธรณีวิทยาเรียกปรากฏการณ์น้ีว่า
Isostasy) ซ่ึงการเด้งตัวกลับของเปลือกโลกเกิดจากการท่ีน้าหนักจานวนมากกด
ทับบริเวณหนึ่งของเปลือกโลกจนเกิดการยุบตัวและเม่ือตาแหน่งของน้าหนักย้าย
หรอื หายไป ตาแหนง่ ท่ผี ิวโลกยบุ ตวั ลงกจ็ ะเดง้ กลบั อยา่ งชา้ ๆ โดยการเด้งกลับน้ีบาง
กรณี มคี วามเร็วยงิ่ กว่าระดบั ทีส่ งู ข้นึ เสยี อีก (ระดับน้าทะเลที่สูงข้ึนเนื่องจากโลกพ้น
จากยุคน้าแขง็ ) โดยส่วนมากใตพ้ ื้นน้าของ Fjord จะต่ากวา่ พน้ื ทะเล

ดินดอนสามเหลย่ี มปากแมน่ า้ 15

ภาพดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน่ า้ ไนล์

ดินดอนสามเหลี่ยมเกิดขึ้นเน่ืองจากแม่น้า
แยกตัวออกเป็นลาน้าสาขาหลายสายท่ีบริเวณ
ใกล้ปากนา้ แล้วนาพาตะกอนมาทับถมกัน นาน
เข้าก็กลายเปน็ พืน้ ดินระหว่างลาน้าสายต่าง ๆ
ทีข่ ยายวงกวา้ งออกไปจนมีรปู รา่ งคลา้ ยพัด

บริเวณที่เกิดดินดอนสามเหล่ียมในทวีป
ยุโรปคือ ปากแม่น้าวอลกา ซ่ึงมีลักษณะเป็น
แอ่ง เรยี กวา่ “แอ่งตา่ แคสเปยี น”

ภเู ขาไฟ 16

เกิดจากหินหนืดที่อยู่ใต้เปลือกโลกถูกแรงดันอัดให้แทรกรอยแตกขึ้นสู่ผิวโลก
โดยมีแรงปะทหุ รอื แรงระเบิดเกิดข้ึน

สิ่งท่ีพุ่งออกมาจากภูเขาไฟเม่ือภูเขาไฟระเบิดก็คือ หินหนืด ไอน้า ฝุ่นละออง
เศษหินและแก๊สต่างๆ โดยจะพุ่งออกมาจากปล่องภูเขาไฟ (หินหนืดถ้าถูกพุ่ง
ออกมาจากบนพน้ื ผิวโลกเรียกว่า ลาวา แต่ถา้ ยังอยใู่ ต้ผวิ โลกเรยี กวา่ แมกมา)

ภเู ขาไฟเอตนา ในอติ าลี

ภูเขาไฟเอตนาของอิตาลี เป็นภูเขาไฟที่ยังมีพลังมากท่ีสุดแห่งหน่ึงของ
โลก ได้รับการข้ึนทะเบียนจากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และ
วฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (ยูเนสโก) ใหเ้ ปน็ มรดกโลก

ยูเนสโกระบุว่า ภูเขาไฟเอ็ตนา ซึ่งเป็นภูเขาไฟสูงที่สุดในยุโรป 3,300
เมตร ถอื เป็นบันทึกภเู ขาไฟเชิงประวัตศิ าสตร์ท่ียาวนานทส่ี ุดลกู หนงึ่ ของโลก
มีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย ควรค่าแก่การศึกษาวิจัย และยังคงมี
อทิ ธิพลต่อศาสตรด์ า้ นภูเขาไฟวทิ ยา

ทาไมถงึ เรยี กทะเลดา???? 17

ทะเลดา Black Sea เป็นพรมแดนของบุลกาเรีย โมราเมีย เตอรกี และ
สหภาพโซเวียต ท่ีได้ชื่อว่าทะเลดาก็เพราะดินโคลนชายฝั่ง ดินทรายชายหาด
ของทะเลแห่งน้ีเป็นสีดาอันเนื่องมาจากสารไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือท่ีเรียกว่า
ก๊าซไข่เน่า สารเคมีตัวน้ีเกิดมาจากแบคทีเรียที่อยู่ในทะเลผลิตข้ึนมาก๊าซไข่เน่า
เมอ่ื ไปจับกับดนิ โคลน หรือทรายชายฝงั่ จึงทาใหด้ นิ นน้ั เป็นสดี า

เขตเกษตรกรรมที่สาคญั ของทวปี ยโุ รป 18

เขตเกษตรกรรมที่สาคัญของ
ทวีปยุโรปอยู่ในเขตภูมิประเทศเขต
ที่ราบใหญ่ภาคกลาง เพราะเป็นท่ี
ราบ มีแม่น้าใหลผ่านหลายสาย มี
ประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
การคมนาคมขนส่งสะดวก

เขตท่รี าบสงู ของทวปี ยโุ รป 19

เขตทรี่ าบสูงของทวปี ยโุ รปจะพบทาง ตอนกลาง
ที่สาคัญ ได้แก่ ท่ีราบสูงมัสซีฟซองตรัล ในประเทศ
ฝร่ังเศส ,แบล็กฟอเรสต์ ในประเทศเยอรมนี เป็นต้น
กาเนิดของแม่น้าดานูบ

เขตเทอื กเขาภาคใต้ 20

เขตเทือกเขาภาคใต้ เป็นเทือกเขาท่ีมีอายุน้อย ทาให้เกิดแผ่นดินไหวและ
ภูเขาไฟระเบิดเกิดข้ึนบ่อย โดยเฉพาะในเขตประเทศ อดีตยูโกสลาเวีย
อติ าลี และกรซี

เทือกเขาพิเรนีส เทือกเขาแอลป์ มียอดเขาสาคัญคือ มงบล็อง เทือกเขา
แอเพนไนน์เทือกเขาไดนาริกแอลป์ เทือกเขาคาร์เพเทียน และเทือกเขาคอเค
ซัส มียอดเขาทส่ี ูงที่สุดในทวปี ยโุ รป คอื เมานต์เอลบรุส สูง 5,642 ม.

แม่น้าในทวีปยโุ รป 21

ลักษณะเด่นของแม่น้าในทวีปยุโรป คือ มีความยาวไม่มากแต่มีน้าไหล
สม่าเสมอตลอดปี ไหลผ่านที่ราบ ใช้ประโยขน์ในด้านการคมนาคมและการ
เกษตรกรรม ได้เปน็ อยา่ งดี

แ ม่ น้ า ส า ย ส า คั ญ ที่ สุ ด ข อ ง ท วี ป
ยุโรป เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แม่น้าถ่าน
หิน คือ แม่น้าไรน์ ไหลลงสู่ทะเล
เหนือที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยมี
เมืองท่าสาคัญของทวีปตั้งอยู่ คือ
เมืองท่ารอตเตอร์ดัม แม่น้าไรน์ถือ
เป็น แม่น้านานาชาติ เพราะไหลผ่าน
หลายประเทศ รวมทั้ง แม่น้าดานูบ
เพราะไหลผ่านจานวนประเทศมาก
ท่สี ดุ ในทวปี ยโุ รป

เขตภมู อิ ากาศ 22

เขตหนาว 66.5 N อาร์กติกเซอร์เคลิ
เขตอบอุน่
เขตรอ้ น 23.5 N ทรอปกิ ออฟแคนเซอร์

เขตอบอนุ่ 0 เส้นศูนยส์ ูตร
เขตหนาว 23.5 S ทรอปกิ ออฟแคปรคิ อน
66.5 S แอนตาร์กตกิ เซอร์เคลิ

ทวีป ยุ โ รป ต้ั ง อ ยู่ เ ห นือ เ ส้ น
ทรอปิกออฟแคนเซอร์อยู่ในแนว
ละติจูดกลางถึงสูง ส่งผลให้มี
พ้ื น ท่ี ส่ ว น ใ ห ญ่ อ ยู่ ใ น เ ข ต อ า ก า ศ
อบอุ่นและพื้นท่ีบางส่วนทางตอน
เหนอื อยู่ในเขตหนาวของโลกเพราะ
มีเส้นอาร์กติกเซอร์เคิลลากผ่าน
ทางตอนเหนือ และ ไม่มีพื้นท่ีอยู่ใน
เขตอากาศรอ้ นของโลก

ทวีปยุโรปไม่มีเขตอากาศแห้งแล้งแบบทะเลทราย เพราะมีชายฝั่งทะเล
เวา้ แหวง่ มากทาให้อทิ ธิพลความชืน้ จากมหาสมทุ รและทะเล แผเ่ ขา้ สู่ภายในทวีป
อย่างท่ัวถึง และมีลมประจาตะวันตกพัดผ่านนาความชื้นจากมหาสมุทร
แอตแลนตกิ นาฝนมาตกในทวีปทางดา้ นตะวันตก

กระแสนา้ อนุ่ กระแสนา้ เยน็ 23

กระแสน้าในมหาสมุทรมีอยู่ 2 ชนดิ คือ กระแสน้าอนุ่ กับกระแสน้าเยน็
1. กระแสนา้ อนุ่ คือ กระแสนา้ ที่มอี ุณหภูมิสูงกวา่ นา้ บริเวณนัน้ มกั เกดิ บริเวณ

ชายฝ่ังทางตะวันออกของทวีป เช่น กระแสน้าอุ่นกัลฟ์สตรีม (เกิดทางชายฝ่ัง
ตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ) จะทาให้อุณหภูมิเหนือผิวดินอุ่นข้ึน ความชื้นใน
อากาศเพ่ิมขึ้น ความกดอากาศต่าลง ภูมิประเทศบริเวณน้ันจึงเป็นเขตอบอุ่นและ
อดุ มสมบรู ณ์

2. กระแสน้าเย็น คือ กระแสน้าท่ีมีอุณหภูมิต่ากว่าน้าบริเวณนั้น โดยมาก
เกิดข้ึนบริเวณชายฝ่ังตะวันตกของทวีป เช่น กระแสน้าเย็นเปรู (เกิดทางชายฝ่ัง
ตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้) จะทาให้เกิดความกดอากาศสูง และลดความชื้นใน
อากาศ ฝนจึงตกน้อยลง ภมู ปิ ระเทศบรเิ วณนน้ั จึงแห้งแล้ง บ้างเปน็ ทะเลทราย

นอกจากนี้ กระแสน้าท้ังสองยังเป็นปัจจัยเกิดลมพายุ หากอากาศเย็นจากข้ัว
โลกไหลมาพบอากาศอุ่นใกล้กับกระแสน้าอุ่น มวลอากาศทั้งสองจะปะทะกัน และ
เกดิ เป็นพายหุ มนุ เขตร้อน พน้ื ทท่ี ่ีพบบ่อย เชน่ ฟลอริดา อ่าวเมก็ ซโิ ก ฟลิ ปิ ปินส์ ฯลฯ

กระแสน้าท่ีไหลผ่านทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรป
คือ กระแสน้าอุ่นกัลสตรีม (แอตแลนติกเหนือ) ส่งผลให้
ชายฝั่งทะเลของนอร์เวย์นา้ ไม่เป็นนา้ แข็งในฤดหู นาว

พื้นท่อี บั ฝน หรือเขตเงาฝน 24

พื้นท่ีอับฝน หรือเงาฝน Rain Shadow เป็นบริเวณที่อยู่ด้านหลังภูเขา
หรือทิวเขา ซึ่งมีฝนตกน้อยกว่าบริเวณด้านหน้า ซึ่งเป็นด้านรับลม หรือพื้นท่ี
ทางด้านปลายลมซ่ึงมีค่าปริมาณฝนเฉล่ีย น้อยกว่าพ้ืนท่ีทางด้านต้นลม
เนื่องจากมีส่ิงกีดขวางทางธรรมชาติ เช่น มียอดเขาสูงก้ันขวางทิศทางลมที่
พาเอาฝนมาตก

Dogger Bank 25

บริเวณที่กระแสน้าอุ่นแอตแลนติกเหนือ
บรรจบกับกระแสน้าเย็นกรีนแลนด์ตะวันออก
เกิดเป็นแหล่งที่มีปลาชุกชุมมากแห่งหน่ึงของ
โลกเรียกว่า ดอกเกอร์แบงก์ (Dogger
Bank)

ป ร ะ เ ท ศ ท่ี จั บ ป ล า ไ ด้ ม า ก ส ห ร า ช
อาณาจักร ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ / บริเวณอ่าว
บสิ เคย์จนถงึ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยเฉพาะ
บริเวณทะเลดา ทะเลสาบแคสเปียนและแม่น้า
โวลกา มีการจับปลาสเตอร์เจียน มาทาเป็นไข่
ปลาคารเ์ วยี ร์

26

แบบทดสอบหลงั เรยี น

ใหน้ กั เรยี น SCAN
QR CODE แลว้ ทา
แบบทดสอบออนไลน์


Click to View FlipBook Version