The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kamonwarn.lk10, 2021-11-01 05:14:43

หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิต

หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิต

หน#วยของส่งิ มชี วี ติ

ชั้นมัธยมศกึ ษาป.ที่ 1

ตามมาตรฐานการเรียนรู,และตัวชี้วัดกลุ6มสาระการเรียนรู,วิทยาศาสตร;และ
เทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ข้นั พื้นฐานพุทธศกั ราช 2551

ผ#ูเรียบเรยี ง ผใู# ห#คำปรึกษา

นางสาวพิมพกานต+ กนั หลวง อาจารยอ+ สิ ระ ทับสสี ด
นางสาววนั วสิ า อนิ ต1ะปญ4 ญา
นางสาวกมลวรรณ แหลมหลัก
นางสาวณัฐสุดา ฉมิ สอาด



คำนำ

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร+ ชั้นมัธยมศึกษาปJที่ 1 จัดทำขึ้นตามมาตรฐาน
การเรียนรูP และตัวชี้วัด กลุQมสาระการเรียนรูPวิทยาศาสตร+ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยหนังสือเลQมนี้ประกอบไปดPวย
เนื้อหาที่ครบถPวนตรงตามหลักสูตรและยังไดPเพิ่มเติมเนื้อหาที่นักเรียนควรทราบ ใชPภาษาท่ี
ชัดเจนเขPาใจงQาย ภาพประกอบชัดเจนตรงตามหัวขPอ สQวนที่เป_นกิจกรรมการทดลองไดPระบุ
ขั้นตอนการทดลองพรPอมทั้งมีรูปประกอบการทำกิจกรรม ซึ่งจะชQวยใหPนักเรียนทำการทดลอง
ไดถP กู ตPองและมีประสทิ ธิภาพย่งิ ขน้ึ

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร+ ชั้นมัธยมศึกษาปJที่ 1 เลQมนี้จะชQวยใหPนักเรียน
เกิดความรูPความเขPาใจในเนื้อหาเรื่องหนQวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตไดPเป_นอยQางดี มีทักษะปฏิบัติท่ี
ถกู ตPองตามจดุ ประสงค+ของหลักสตู ร และมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสูง

คณะผูPจัดทำหวังเป_นอยQางยิ่งวQา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร+
ชั้นมัธยมศึกษาปJที่ 1 เลQมนี้จะมีคุณคQาในการพัฒนาการเรียนรูPของผูPเรียน และจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนของผูPสอนตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) และตามแนวปฏิรูปการเรียนรูPไดPเป_นอยQางดี หากมีสิ่งใดที่เป_น
ขPอบกพรQอง คณะผูPจดั ทำขอนPอมรับคำแนะนำเพื่อนำมาปรับปรงุ ในโอกาสตอQ ไป

คณะผูจ& ัดทำ

สารบัญ

หน#วยการเรียนร,ูท่ี 1 เรยี นรูใ# ช#งานกล#องจุลทรรศน;แบบใช#แสง 1

• สQวนประกอบและหนาP ท่ขี องกลPองจลุ ทรรศน+ 2
แบบใชPแสง
3
• การใชกP ลอP งจุลทรรศน+แบบใชPแสงและขPอควรระวงั 6
• วิธกี ารดแู ลรกั ษากลPองจุลทรรศน+ 8
• คำถามทPายบท

หน#วยการเรียนรท,ู ี่ 2 เซลลข; องสิ่งมชี ีวติ 9

• ประเภทของสงิ่ มชี วี ิต 10
• โครงสรPางและหนPาท่ีของเซลล+ 18
• การจัดระบบของเซลล+ 25
• คำถามทPายบท 27

หนว# ยการเรียนรูท, ี่ 3 การลำเลยี งสารเขา# และออกจากเซลล; 29

• การแพรQ (Diffusion) 31
• ออสโมซสิ (Osmosis) 37
• คำถามทPายบท 424

บรรณานกุ รม 45

หน#วยการเรยี นรท,ู ี่

1 เรียนร'ูและใช'งานกล'องจุลทรรศน5แบบใชแ' สง

จุดประสงค;การเรยี นร,ู

1. สามารถใชก+ ล+องจลุ ทรรศน5แบบใช+แสงศึกษาเซลลไ5 ด+ (P)
2. สามารถใช+กลอ+ งจุลทรรศนแ5 บบใชแ+ สงศกึ ษาโครงสร+างตEางๆ ภายในเซลล5ได+ (P)
3. ปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนการใชง+ านกล+องจลุ ทรรศนแ5 บบใชแ+ สงได+ (A)

เรยี นรแ'ู ละใช'งานกลอ' งจลุ ทรรศนแ5 บบใช'แสง 2
กลPองจุลทรรศน+ใชPแสงแบบเชิงประกอบ (compound light microscope) เป_นกลPอง
จุลทรรศน+ ชนิดที่ใชPเลนส+หลายอันและมีกำลังขยายตQางๆ กันจะเห็นภาพวัตถุไดPโดยมีการสะทPอนแสง
จากวัตถุเขPาสูQเลนส+ประกอบดPวย เลนส+ 2 ชุด คือ เลนส+ใกลPวัตถุ (objective lens) และเลนส+ใกลPตา
(ocular lens หรือ eyepiece) กำลังขยายของภาพคือ ผลคูณของกำลังขยายของเลนส+ใกลPวัตถุกับ
กำลังขยายของเลนส+ใกลPตา ความสามารถในการแจกแจงรายละเอียดของภาพของกลPองจุลทรรศน+
ข้ึนอยูQกับคุณสมบัติของเลนส+ และแสง

ส"วนประกอบและหนา. ท่ีของกลอ. งจลุ ทรรศน8แบบใช.แสง

ใช#หนบี สไลดใ, ห#แน.นอยู.กับที่

3 เรียนรู'และใชง' านกลอ' งจุลทรรศนแ5 บบใช'แสง

การใช&กล&องจลุ ทรรศนแ/ บบใช&แสงและขอ& ควรระวงั

ขน้ั ตอนการใช#งานกล#องจลุ ทรรศนแ; บบใชแ# สง

1 วางกลPองใหPฐานอยูQบนพื้นรองรับที่ 2 ปรับกระจกเงาใตPแทQนวางวัตถุใหPแสง
เรียบสม่ำเสมอหมุนเลนส+ใกลPวัตถุที่มี สะทอP นเขาP ลำกลPอง จากนั้นนำสไลด+ที่จะ
กำลงั ขยายต่ำสุดมาอยQูตรงกบั ลำกลPอง ศึกษาวางบนแทQนวางวัตถุ

ภาพที่ 1.2 กลอ' งจลุ ทรรศน5แบบใชแ' สง ภาพที่ 1.3 วางสไลด5
ทีม่ า : ออนไลน5 (14 กนั ยายน 2564) ทม่ี า : ออนไลน5 (14 กันยายน 2564)

3 หมุนปุƒมปรับภาพหยาบ ใหPลำกลPอง 4 หมุนปุƒมปรับภาพหยาบขึ้นชPาๆ จน
เลื่อนมาอยูQใกลPวัตถุที่จะศึกษามากที่สุด มองเห็นวัตถุที่จะศึกษาคQอนขPางชัดเจน
แลวP มองผQานเลนสใ+ กลPตา แลPวจึงเปลี่ยนมาหมุนปรับปุƒมภาพ
ละเอียด เพ่ือปรับภาพใหPคมชดั

ภาพที่ 1.4 มองผLานเลนส5 ภาพท่ี 1.5 หมุนปมุO ปรบั ภาพหยาบ
ที่มา : ออนไลน5. (14 กนั ยายน 2564) ท่ีมา : ออนไลน5. (14 กันยายน 2564)

5 ถ#าต#องการขยายภาพให#ใหญ.ขึ้นให#หมุนเลนส, เรยี นรูแ' ละใช'งานกล'องจลุ ทรรศนแ5 บบใชแ' สง 4
6 ปรับไอริส ไดอะแฟรม เมื่อตPองการ
ใกล#วัตถุอันที่มีกำลังขยายสูงขึ้นเข#ามาในแนว
ลำกลอ# ง แลว# หมนุ ปุHมปรับภาพละเอียด เพิม่ ความเขมP แสงทเี่ ขPาสูQลำกลPอง

ภาพที่ 1.6 หมนุ เลนส5ใกล'วัตถุ ภาพที่ 1.7 ปรับไอรสิ ไดอะแฟรม
ท่มี า : ออนไลน5. (14 กนั ยายน 2564) ทม่ี า : ออนไลน5. (14 กนั ยายน 2564)

7 ทำความสะอาด เมื่อใช#งานเสร็จให#เก็บโดยใช#ถุงคลุมหรือเก็บไว#ในที่ท่ี

ไม.มีฝุHน และความชื้นต่ำโดยเช็ดทำความสะอาดด#วยกระดาษเช็ด
เลนส,หรือน้ำยาสำหรับเชด็ เลนส,

ภาพท่ี 1.8 ทำความสะอาดเลนส5
ท่ีมา : ออนไลน.5 (14 กันยายน 2564)

เกร็ดความรู้

กำลังขยายของกล#อง = กำลังขยายของเลนส,ใกลต# า x กำลังขยายของเลนส,ใกลว# ตั ถุ

5 เรียนรูแ' ละใช'งานกลอ' งจุลทรรศน5แบบใช'แสง 2

ข#อควรระวงั ในการใชก# ลอ# งจุลทรรศน;
1

การยกกลPองควรใหมP อื หน่งึ จับแขนกลอP งและ วิธกี ารหนั ลำกลอP ง ควรหนั ลำกลPองมาทาง
อีกมอื หน่งึ รองทฐ่ี าน ทศิ ทางที่ถูก ควรหนั ลำกลอP งเขPาหาลำตวั

3 4

การหมุนปุHมปรับภาพ เมื่อจะต#องหมุนปุHมปรับ เมือ่ ใชเ# สร็จแลว# ตอ# งเอาวัตถุที่ศึกษาออกเช็ดแท.น
ภาพหยาบต#องมองด#านข#างตามแนวระดับแท.น วางวัตถุและเช็ดเลนส,ให#สะอาดหมุนเลนส,ใกล#
วางวัตถุและหมุนให#เลนส,ใกล#วัตถุกับแท.นวาง วัตถุกำลังขยายต่ำสุดให#อยู.ตรงกับลำกล#อง และ
วัตถุเคลื่อนเข#าหากันเพราะเลนส,ใกล#วัตถุ อาจ เลื่อนลำกล#องลงต่ำสุดปรับกระจกให#อยู.ใน
กระทบกระจกสไลดท, ำใหเ# ลนสแ, ตกได# แนวตั้งได#ฉากกับแท.นวางวัตถุเพื่อไม.ให#ฝุHนลง
แล#วเก็บใสก. ลอ. งหรอื ใส.ตู#ให#เรยี บร#อย

ภาพท่ี 1.9 ขอ' ควรระวงั ในการใชก' ลอ' งจุลทรรศน5
ท่ีมา : ออนไลน.5 (14 กันยายน 2564)

เกร็ดความรู้

สไลดแ+ ละกระจกปด… สไลด+ท่ีใชPตPองไมเQ ปJยก เพราะอาจจะทำใหPแทนQ วางวตั ถุ
เกิดสนิม และเลนสใ+ กลวP ตั ถุอาจข้นึ ราไดP

เรยี นรแ'ู ละใชง' านกลอ' งจุลทรรศน5แบบใชแ' สง 6

วิธีการดแู ลรักษากล&องจุลทรรศน/

12

ใชลP ูกยางเปาƒ ลม หรือแปลงขนนQมุ เปาƒ ฝƒนุ ออก ในกรณีที่เลนส+เป‡ˆอนคราบน้ำมัน ลายนิ้วมือ
ทำความสะอาดผิวเลนส+ โดยการนำกระดาษ
3 หรือผPาเช็ดเลนส+จุQมน้ำยาเช็ดเลนส+ แลPวคQอย
เช็ดวนจากดPานในสQูดาP นนอก

4

ทำความสะอาดตัวกลPองจุลทรรศน+ โดยใชPผPา วิธีการเก็บรักษา 1.คลุมผPาทุกครั้งที่ไมQไดPใชP
ใสQน้ำยาทำความสะอาดเล็กนPอย สำหรับ งาน 2.เกบ็ ไวPในพื้นท่ีแหงP ไมQมีความช้นื
ชิ้นสQวนที่เป_นพลาสติกหPามใชPทินเนอร+เช็ดทำ 3.หPามสัมผัสกับกระจกเลนส+ 4.หPามเก็บไวPใน
ความสะอาด ท่ีท่ีโดนแสงแดดโดยตรง

ภาพที่ 1.10 วธิ กี ารดูแลรกั ษากลอ' งจลุ ทรรศน5
ที่มา : ออนไลน.5 (14 กันยายน 2564)

5 กระจกจะตอP งอยูQในแขนขวาทQานง่ั 6 ควรดูแลรักษากลPองใหPสะอาดอยQู

ดPานซPายไมQใชมQ อื เดยี วทีจ่ ะดึงออกมาเพ่ือ เสมอ เมื่อไมQไดPใชPงานควรใชPถุงคลุมกลPองไวP
ไมใQ หหP ลดุ หรือชนกับสวQ นอนื่ เพื่อป‰องกันฝุƒนละอองและสิ่งสกปรก เขPาไป
สัมผัสกบั เลนส+กลอP ง

7 เรียนร'ูและใชง' านกล'องจลุ ทรรศน5แบบใชแ' สง 8 เลนสใ+ กลวP ตั ถุ 100x ทใ่ี ชPกับ

7 หาP มใชPมอื สมั ผัสสQวนที่เปน_ เลนส+ Immersion oil หลงั จากใชงP าน
แลPวควรทำความสะอาดโดยใชP
9 หากตPองการใชPแสงมากขึ้นควรปรับ กระดาษเชด็ เลนส+

ที่ความกวPางของไดอะแฟรมแทน 10 กอQ นปด… สวติ ซ+ทกุ ครั้งควรหรี่ไฟกอQ น
การปรบั ไฟไปตำแหนQงท่สี วQางที่สดุ
12 เกบ็ กลPองไวใP นทแี่ หงP และไมมQ ีความชืน้
11 หลังการใชPงานตPองเอาวัตถุที่ศึกษา

ออก ดูความเรียบรPอยรวมถึงความ
สะอาดดวP ย คลุมผPา

13 อยQาวางกลPองจุลทรรศน+ไวPที่ขอบของ 14 เมื่อวางชิ้นงานสไลด+ใหPมุQงเนPนไปท่ี

โต1ะทดสอบควรวางไวPที่ขอบ 10 ซม. กึ่งกลางของรูแสงและไมQสามารถ
เพอ่ื ไมQใหPกระแทกกบั พื้น ยPอนกลับสไลด+เพื่อป‰องกันการแตก
ของกระจกหรือการชนกันของเลนส+
15 อยQาถอดเลนส+ใกลPตาออกเพื่อป‰องกัน ใกลวP ตั ถุ

ไมQใหPฝุƒนตกลงไปในวัตถุและอยQาแยก
ช้นิ สวQ นทุกชิ้นเพ่ือปอ‰ งกันความเสียหาย

เกร็ดความรู้

หมุนเลนสใ5 กลว+ ตั ถใุ หม+ ีกำลงั ขยายต่ำสุด เมื่อเลกิ ใช+

เรยี นรู'และใชง' านกล'องจลุ ทรรศนแ5 บบใชแ' สง 8

คำถามทา< ยบท

จงตอบคำถามตอQ ไปนีใ้ หPถูกตPอง
1.กลอP งจุลทรรศนแ+ บบใชแP สงมเี ลนส+ทง้ั หมดกช่ี นดิ อะไรบาP ง

2. ภาพที่สงั เกตไดจP ากการใชแP วนQ ขยายตาQ งจากการใชกP ลPองจลุ ทรรศนห+ รอื ไมQ อยาQ งไร

3. แวQนขยายและกลPองจุลทรรศนม+ ีหนPาที่เหมอื นกนั คอื อะไร

4. ปƒมุ ปรับภาพหยาบและปมƒุ ปรบั ภาพละเอยี ดมีหนPาท่แี ตกตQางกันอยQางไร

5. เมื่อเปล่ียนสไลดท+ ี่ใกลวP ตั ถุทีม่ ีกำลังขยายสูงเขาP มาแทนทเี่ ลนสใ+ กลPวัตถุกำลังขยายตำ่ ภาพที่
เห็นมีลกั ษณะอยาQ งไร

หนว# ยการเรียนรท,ู ่ี

2 เซลลข$ องสิ่งมชี ีวิต

จุดประสงคก/ ารเรียนรู&

1. บรรยายหนาP ท่อี งค+ประกอบของเซลล+ไดP (K)
2. เปรียบเทียบรูปราQ งและโครงสรPางของเซลลพ+ ืชและเซลลส+ ตั วไ+ ดP (P)
3. อธบิ ายความสัมพนั ธร+ ะหวQางรูปรQางของเซลล+ตอQ การทำหนPาที่ของเซลลไ+ ดP (K)
4. อธบิ ายการจัดระบบของสิง่ มีชีวิตไดP (K)

เซลล5ของส่งิ มชี วี ิต 10

เซลลข/ องสง่ิ มชี วี ิต

เมื่อสังเกตสิ่งมีชีวิตตQางๆรอบตัวในระบบนิเวศ จะพบวQาสิ่งมีชีวิตแตQละชนิดจะมีรูปรQาง ขนาด
และลักษณะเฉพาะที่แตกตQางกัน แตQมีความเหมือนอยูQอยQางหนึ่งคือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบดPวย
หนวQ ยยอQ ยขนาดเลก็ ที่เรยี กวาQ เซลล/ (cell) ซ่ึงมีรูปราQ งหลายแบบแตกตาQ งกนั

เซลล+ (cell) คือ หนQวยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต โรเบิร+ต ฮุค (Robert Hooke)
นักวิทยาศาสตร+ชาวอังกฤษ สQองดูชิ้นไมPก1อกดPวยกลPองจุลทรรศน+ที่ประดิษฐ+ขึ้น พบวQาชิ้นไมPก1อก
ประกอบดPวยตารางเล็กๆ อยูQชิดกัน และกั้นดPวยผนังที่หนา จึงเรียกสี่เหลี่ยมเล็กๆ นี้วQา เซลล+ (cell)
เซลล+มีลักษณะแตกตQางกันตามชนิดของสิ่งมีชีวิต เซลล+ตPองการสารอาหารเพื่อเปลี่ยนเป_นพลังงานและ
นำไปใชPในการดำรงชีวิต นอกจากนี้เซลล+สามารถแบQงตัวเพิ่มจำนวนไดPเป_นหลายเซลล+รวมกันและ
ทำงานประสานกนั เป_นระบบ แตสQ ิ่งมชี ีวติ บางชนดิ สามารถดำรงชวี ิตอยไQู ดPดวP ยเซลล+เพยี งเซลลเ+ ดยี ว

ภาพท่ี 2.1 เซลล5
ทม่ี า : ออนไลน5. (17 กนั ยายน 2564)

ประเภทของส่งิ มีชวี ติ

ส่ิงมีชวี ิตแบงQ ตามจำนวนเซลล+ไดPเป_น 2 ชนดิ คือ
1. สิ่งมีชีวิตเซลล/เดียว (unicellular organism) มีลักษณะที่สำคัญ คือ ทั้งรQางกายจะ
ประกอบดPวยเซลล+เพียงเซลล+เดียว เป_นเซลล+เดียวที่มีนิวเคลียส โดยสารในนิวเคลียสจะกระจายอยูQทั่ว
เซลล+ โครงสรPางภายในเป_นแบบงQายๆ พบไดPทั้งในน้ำและบนบก ดำรงชีวิตอยQางอิสระ กิจกรรมตQาง ๆ
ท่ีเกีย่ วขPองกบั การดำรงชีวติ เชนQ การกินอาหาร การยอQ ยอาหาร การขับถาQ ย การสืบพันธุ+ และกิจกรรม
อื่น ๆ จะเกิดขึ้นภายในเซลล+เพียงเซลล+เดียว สQวนมากนิวเคลียสมีเยื่อหุPม สามารถดำรงชีวิตตอยูQเป_น
อิสระไดP ตัวอยQางเชQน สาหรQายเซลล+เดียว อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา ยีสต+ ไดอะตอม เป_นตPน บาง
ชนิดนิวเคลียสไมQมีเยื่อหุPม เชQน แบคทีเรีย ดังนั้น DNA (Deoxyibonucleic acid) จะกระจายอยูQในไซ
โทพลาสซมึ ทำใหPไมมQ นี วิ เคลยี สเปน_ กPอนเหมือนส่ิงมชี ีวิตชนิดอนื่ ๆ

11 เซลลข5 องสิ่งมชี วี ิต

รูปรQางไมQแนQนอนเคลื่อนที่โดยใชPขาเทียม
(Pseudopodium)

ภาพที่ 2.2 อะมบี า
ที่มา : ออนไลน.5 (17 กนั ยายน 2564)

รูปรQางเรียวยาวคลPายรองเทPาแตะ มีขน (cilia)
รอบๆตัว ใชขP นในการเคล่อื นที่และหาอาหาร

ภาพท่ี 2.3 พารามเี ซียม
ท่ีมา : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564)

รูปรQางเรียวยาว มีแฟลกเจลลา
(flagella) อยูQบริเวณดPานบน ซึ่งใชP
ในการเคลื่อนท่ีและหาอาหาร

ภาพท่ี 2.4 ยกู ลนี า
ที่มา : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564)

เซลลข5 องสง่ิ มชี ีวติ 12

รูปราQ งกลมรี ไมมQ โี ครงสรPางในการเคลื่อนท่ี
มแี วคิวโอลขนาดใหญอQ ยใQู นไซโทพลาสซึม

ภาพที่ 2.5 ยีสต5
ท่ีมา : ออนไลน.5 (17 กันยายน 2564)

เกร็ดความรู้ ภาพท่ี 2.6 ไวรัส
ไวรัส ไวรัสมีโปรตีนหรือไขมันหQอหุPมสาร ที่มา : ออนไลน5. (17 กนั ยายน 2564)

พันธุกรรม (DNA หรือ RNA) สามารถเพิ่มจำนวนไดP
โดยอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นดPวยการปลQอยสารพันธุกรรมเขPา
สูQสิ่งมีชีวิตอื่น และสังเคราะห+สารพันธุกรรมและโปรตีน
ที่จำเป_นตQอการจำลองตัวในสิ่งมีชีวิต กQอใหPเกิดโรค
เมื่อเซลล+ของสิ่งมีชีวิตเสื่อมสลาย ไวรัสจำนวนมากจะ
ออกสูQภายนอก จึงไมQจัดไวรัสเป_นสิ่งมีชีวิต นอกจากน้ี
ไวรัสไมQมีสมบัติของเซลล+เนื่องจากไวรัสไมQมีทั้งเยื่อหุPม
เซลล+และไซโทพลาซึมแตQไวรัสจัดเป_นอนุภาค เรียกวQา
ไวริออน (virion)

13 เซลล5ของสง่ิ มีชีวิต
2. สิ่งมีชีวิตหลายเซลล/ (multicellular organism) สิ่งมีชีวิตที่รQางกายประกอบดPวยเซลล+

จำนวนมากหลายลPานเซลล+ โดยเซลล+ชนิดเดียวกันหรือเซลล+ที่มีลักษณะเหมือนกันจะมาอยูQรQวมกัน
เพื่อทำหนPาที่อยQางเดียวกัน เซลล+แตQละชนิดจะมีลักษณะรูปรQางตQางๆเพื่อใหPเหมาะสมที่จะทำหนPาท่ี
อยาQ งเฉพาะเจาะจง เชนQ มนุษย+ สัตว+ พชื เปน_ ตPน

ภาพท่ี 2.7 สัตว5 ภาพที่ 2.8 เซลล5บริเวณเยอื่ บุภายในลำตวั ของไฮดรา
ที่มา : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564) ทมี่ า : ออนไลน5. (17 กนั ยายน 2564)

ภาพท่ี 2.9 มนษุ ย5 ภาพที่ 2.10 เซลลเ5 มด็ เลอื ดในเลือดของมนษุ ย5
ทม่ี า : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564) ทีม่ า : ออนไลน.5 (17 กันยายน 2564)

ภาพที่ 2.11 พชื ภาพท่ี 2.12 เน้ือเยือ่ ลำเลียงน้ำและอาหาร
ท่มี า : ออนไลน.5 (17 กนั ยายน 2564) ที่มา : ออนไลน.5 (17 กันยายน 2564)

กิจกรรม เซลล5ของส่ิงมชี ีวติ 14

รปู ราF งและสวF นประกอบของเซลล/พืชและเซลล/สัตว/

วัสดอุ ปุ กรณ; 7. ปากคบี ปลายแหลม 1 อัน
8. สารละลายไอโอดนี 50 ml
1. นำ้ 50 ml 9. นำ้ เกลอื เขPมขนP 0.85% w/v ปรมิ าตร 50 ml
2. เขม็ เขย่ี 1 อนั 10. กระจกสไลด+และกระจกป…ดสไลด+ อยQางละ 2 อนั
3. กาP นสำลี 1 กาP น 11. หัวหอมแดง 1 หวั
4. หลอดหยด 1 หลอด 12. สาหรQายหางกระรอก 1 ใบ
5. กระดาษทิชชู
6. กลอP งจลุ ทรรศน+ 1 เครื่อง

วธิ ที ำ

ตอนที่ 1 ศึกษาเซลลพ/ ชื
เซลล+เย่อื หัวหอมแดง

1. ผQาหัวหอมแดง แลPวใชPปากคีบปลายแหลมหรือเข็มเขี่ยลอกเยื่อดPานในหัวหอมแดง
จากนัน้ ตัดเนื้อเย่อื ท่ลี อกไดPเป_นชนิ้ เลก็ ๆ

2. วางเนื้อเยื่อหัวหอมแดงลงบนกระจกสไลด+ที่มีหยดน้ำ แลPวหยดสารละลายไอโอดีน
1 หยด บนเยอ่ื หัวหอมแดง

3. ปด… ดวP ยกระจกป…ดสไลด+ โดยวาQ งกระจกปด… สไลด+เอียงทำมมุ 45 องศากับกระจกสไลด+แลPว
คQอยๆ ปด… ไปบนแผนQ สไลด+

4. ใชPกระดาษทิชชูแตะขPางๆ กระจกป…ดสไลด+เพื่อซับน้ำสQวนเกินออก แลPวนำสไลด+ไปศึกษา
ภายใตPกลPองจุลทรรศน+ โดยใชPเลนใกลPวัตถุกำลังขยายต่ำและกำลังขยายสูง ตามลำดับ
สังเกตและบันทกึ ภาพทีเ่ หน็ ภายใตกP ลPองจุลทรรศน+

15 เซลลข5 องส่ิงมชี วี ติ

ภาพที่ 2.13 ศึกษาเซลลเ5 ยอ่ื หัวหอมแดง
ทม่ี า : ออนไลน5. (17 กนั ยายน 2564)

เซลล+ใบสาหรQายหางกระรอก
1. ใชปP ากคบี ปลายแหลมเดด็ ใบสาหราQ ยหางกระรอกบริเวณใกลสP Qวนยอด 1 ใบ
2. วางบนหยดนำ้ บนกระจกสไลด+ และป…ดดวP ยกระจกปด… สไลด+
3. นำสไลดไ+ ปศกึ ษาภายใหPกลPองจลุ ทรรศน+ โดยใชPเลนส+ใกลPวตั ถกุ ำลังขยายต่ำและ
กำลงั ขยายสงู ตามลำดบั สงั เกตและบนั ทกึ ภาพที่เหน็ ภายใตกP ลอP งจุลทรรศน+

ภาพท่ี 2.14 ศึกษาเซลลใ5 บสาหรLายหางกระรอก
ท่ีมา : ออนไลน.5 (17 กันยายน 2564)

เซลล5ของสงิ่ มีชวี ิต 16
ตอนท่ี 2 ศกึ ษาเซลลส/ ัตว/
เซลล+เยอื่ บขุ าP งแกมP

1. ใชPกPานสำลีที่สะอาดขูดเบาๆ ที่ดPานในของกระพุPงแกPม แลPวนำไปแตะลงบนกระจกสไลด+
ทมี่ หี ยดนำ้ เกลอื เขPมขนP 0.85% w/v

2. หยดสารละลายไอโอดีน 1 หยด ลงบนเซลล+เยื่อบุขPางแกPมบนกระจกสไลด+ แลPวป…ดดPวย
กระจกป…ดสไลด+

3. นำสไลด+ไปศึกษาภายใตPกลPองจุลทรรศน+ โดยใชPเลนส+ใกลPวัตถุกำลังขยายต่ำและ
กำลงั ขยายสงู ตามลำดบั สังเกตและบนั ทกึ ภาพท่เี ห็นภายใตPกลPองจลุ ทรรศน+

4. เปรียบเทียบเซลล+ที่สังเกตเห็นภายใตPกลPองจุลทรรศน+กับภาพตQอไปนี้ แลPวชี้
สวQ นประกอบในภาพทนี่ ักเรียนวาด

ภาพที่ 2.15 ศึกษาเซลลเ5 ยือ่ บุข'างแก'ม
ทมี่ า : ออนไลน.5 (17 กนั ยายน 2564)

17 เซลล5ของสิ่งมชี วี ติ

ตารางบันทกึ ผลจากการทำกจิ กรรม

เซลล;ที่นำมาศึกษา ภาพของเซลล; กำลังขยายของภาพ (เทาY )

1. เซลลเ/ ย่ือหอมหัวแดง

2. เซลล/ใบสาหรา\ ยหาง
กระรอก
3. เซลล/เยื่อบุขา& งแกม&

เซลล5ของสิง่ มชี ีวติ 18

โครงสรา& งและหน&าทขี่ องเซลล/

สง่ิ มีชีวิตทกุ ชนดิ ลว# นประกอบด#วยเซลล, ซึ่งส.วนใหญ.มีขนาดประมาณ 20 μm เล็กมากจนมองไม.เห็นด#วย
ตาเปล.าต#องอาศัยกล#องจุลทรรศน,ในการศึกษา จึงพบว.าเซลล,พืชและเซลล,สัตว,ถึงแม#จะมีรูปร.างลักษณะที่แตกต.าง
แต.กม็ โี ครงสร#างพน้ื ฐานทเ่ี หมอื นกัน

โครงสร&างพ้ืนฐานของเซลล/พืช

ภาพที่ 2.16 เซลลพ5 ชื
ทีม่ า : ออนไลน.5 (18 กนั ยายน 2564)

โครงสรา& งพื้นฐานของเซลลส/ ัตว/

ภาพที่ 2.17 เซลลส5 ัตว5
ท่ีมา : ออนไลน5. (18 กันยายน 2564)

19 เซลล5ของส่ิงมชี ีวิต
เซลลพ+ ืชและเซลล+สัตวม+ ีสวQ นประกอบท่สี ำคญั 3 สQวน คอื

1. สQวนที่หQอหุPมเซลล+ ไดPแกQ เยื่อหุPมเซลล+ (cell membrane) และผนังเซลล+ (cell wall) ซึ่งพบเฉพาะ
ในเซลลพ+ ืช
2. ไซโทพลาสซึม (cytoplasm)
3. นวิ เคลียส (nucleus)
1.ส\วนท่หี \อหมุ& เซลล/ ประกอบดPวย

1) เยอ่ื หุม& เซลล/ (cell membrane) เซลล+ของสง่ิ มชี ีวิตทกุ ชนิดจะมีเยอื่ หมPุ เซลลห+ Pมุ อยูQ
ภายนอก (ยกเวPนไวรัส ไมQมีเซลล+ จึงไมQมีเยอื่ หุPมเซลล)+ มีลักษณะเป_นเยอื่ บางๆ เหนยี ว ประกอบดวP ย
สารประเภทลิป…ดและโปรตีน เยอ่ื หPมุ เซลลม+ รี ูเล็กๆ สามารถจำกดั ขนาดของสารท่ีผQานเขPาออกไดP จึงมี
สมบตั เิ ปน_ เยอ่ื เลอื กผา\ น (semipermeable membrane) ซงึ่ สารขนาดเลก็ ผQานไดPสQวนสารขนาด
ใหญQผาQ นไมQไดP

หน&าที่ ควบคุมปริมาณและชนิดของสารบางอยQางที่ผQานเขPาออกจากเซลล+ เชQน น้ำ อาหาร
อากาศ และสารละลายตาQ งๆ แสดงขอบเขตของเซลลแ+ ละหQอหุPมสวQ นประกอบในเซลล+

ภาพที่ 2.18 เยื่อหุ'มเซลล5
ทมี่ า : ออนไลน.5 (18 กันยายน 2564)

เซลลข5 องสิ่งมีชวี ิต 20
2) ผนงั เซลล/ (cell wall) มเี ฉพาะในเซลล+พชื เปน_ โครงสราP งที่อยชQู นั้ นอกสุดหQอหุPม
เยื่อหุPมเซลล+อีกชั้นหนึ่ง เป_นผนังแข็งแรง ซึ่งสQวนใหญQสรPางจากสารเซลลูโลส (cellulose) เป็นสว่ นท,ี
ไมม่ ีชีวิต ทําให้เซลล์ทดทาน แข็งแรง แมPวQาเซลล+อาจตายไปแลPวก็ตาม และเป_นเนื้อเยื่อที่ยอมใหPสาร
ตQางๆผาQ นเขาP และออกจากเซลล+ไดP
หนา& ที่ ทำใหเP ซลล+พืชแข็งแรงคงรปู และป‰องกนั อนั ตรายใหPกบั เซลลพ+ ชื

ภาพที่ 2.19 ผนังเซลล5
ทมี่ า : ออนไลน.5 (18 กนั ยายน 2564)

2. ไซโทพลาสซึม (cytoplasm) เป_นสQวนที่อยูQภายในเซลล+ทั้งหมดยกเวPนนิวเคลียส มีลักษณะกึ่ง
เหลว สQวนใหญQเป_นน้ำและมีสารที่จำเป_นตQอการดำรงชีวิต เชQน น้ำตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน
และของเสียตQางๆ จากกิจกรรมของเซลล+ละลายและแขวนลอยอยูQ ภายในไซโทพลาสซึมมีโครงสรPาง
เล็กๆที่เรียกวQา ออร/แกเนลล/ (organelle) กระจายอยูQทั่วไป มีหลายชนิดและแตQละชนิดมีรูปรQาง
ลักษณะ และหนPาที่แตกตQางกันในกระบวนการดำรงชีวิตของเซลล+ ออร+แกเนลล+ที่พบทั้งในเซลล+พืช
และเซลลส+ ตั วม+ ีหลายชนิด เชQน

1) ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) เป_นแหลQงผลิตพลังงานใหPเซลล+ โดยสลายสารอาหารท่ี
เซลล+ไดรP บั มาใหเP ปน_ พลังงานไปใชPในกิจกรรมตาQ งๆ ของเซลล+

ภาพที่ 2.20 ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
ทมี่ า : ออนไลน5. (18 กันยายน 2564)

21 เซลล5ของสิ่งมชี ีวติ
2) ไรโบโซม (ribosome) เปน_ แหลงQ สรPางโปรตนี

ภาพท่ี 2.21 ไรโบโซม (ribosome)
ทม่ี า : ออนไลน5. (18 กันยายน 2564)

3) กอลจิ คอมเพลกซ/ (golgi complex) เปน_ แหลQงรวบรวม บรรจุ และขนสQงสารตาQ งๆ

ภาพท่ี 2.22 กอลจิ คอมเพลกซ5 (golgi complex)
ทมี่ า : ออนไลน5. (18 กันยายน 2564)

เซลล5ของสิง่ มชี วี ติ 22
4) ไลโซโซม (lysosome) เป_นออร+แกเนลล+ที่พบเฉพาะในเซลล+สัตว+ ทำหนPาที่เป_นผูPขนสQง
เอนไซมท+ ่มี ีสมบัติในการยอQ ยสลาย

ภาพท่ี 2.23 ไลโซโซม (lysosome)
ทีม่ า : ออนไลน.5 (18 กนั ยายน 2564)

5) เซนทริโอล (centriole) เป_นออร+แกเนลล+ที่พบเฉพาะในเซลล+สัตว+ ชQวยในการเคลื่อนที่
ของโครโมโซม และแยกโครมาทดิ แตลQ ะคูอQ อกจากกนั ขณะเซลล+แบQงตัว

ภาพที่ 2.24 เซนทรโิ อล (centriole)
ท่ีมา : ออนไลน5. (18 กันยายน 2564)

23 เซลลข5 องส่ิงมชี วี ติ
6) คลอโรพลาสต/ (chloroplast) เป_นออร+แกเนลล+ที่พบเฉพาะในเซลล+พืช พบใน

ไซโทพลาสซึมของเซลล+พืชบางชนิด มีลักษณะเป_นเม็ดกลมรีสีเขียวมีเยื่อหุPม 2 ชั้น โดยเยื่อชั้นนอกทำ
หนPาที่ควบคุมโมเลกุลของสารที่ผQานเขPาออก ชั้นในมีโครงสรPางคลPายถุงแบนๆเรียงซPอนกัน ภายในมี
สารสีเขียวที่เรียกวQา คลอโรฟnลล/ (chlorophll) ซึ่งเกี่ยวขPองกับการรับพลังงานแสงและมีของเหลวท่ี
ประกอบดPวยเอนไซม+หลายชนิดที่ใชPในการสรPางอาหารของพืช มีหนPาที่รับพลังงานแสงเพื่อใชPใน
กระบวนการสงั เคราะหด+ Pวยแสงของพชื

ภาพท่ี 2.25 คลอโรพลาสต5 (chloroplast)
ทมี่ า : ออนไลน.5 (18 กนั ยายน 2564)

7) แวคิวโอล (vacuole) มีลักษณะเป_นถุง เยื่อหุPมชั้นเดียว มีรูปรQางและขนาดแตกตQางกัน
ในเซลล+พืชมี แซบแวคิวโอล (sab vacuole) ทำหนPาที่สะสมน้ำและสารอื่นๆ ทั้งมีประโยชน+และไมQ
มีประโยชน+ เชQน กรดอะมิโน น้ำตาล แรQธาตุ สารพิษ รวมทั้งของเสียตQางๆซึ่งเซลล+พืชจะเก็บไวPในรูป
ผลึก พืชที่มีอายุนPอยจะมีแวคิวโอลขนาดเล็กจำนวนมาก เมื่อพืชอายุมากขึ้นแวคิวโอลเหลQานี้จะรวม
เป_นถุงเดียวกัน ทำใหPขนาดใหญQขึ้น ในเซลล+สัตว+ แวคิวโอลมีขนาดเล็กกวQาและมีจำนวนมากกวQาใน
เซลล+พืช ทำหนPาที่เก็บสะสมอาหารและน้ำ เชQน เซลล+เม็ดเลือดขาวมี ฟูดแวคิวโอล
(food vacuole) ทำหนPาที่บรรจุอาหารที่ไดPรับมาจากภายนอกเซลล+เพื่อยQอยสลายภายในเซลล+
ในเซลล+สิ่งมีชีวิตเซลล+เดียว เชQน อะมีบา พารามีเซียม มี คอนแทร็กไทล/แวคิวโอล (contractile
vacuole) ทำหนาP ทค่ี วบคุมปรมิ าณน้ำและของเสียภายในเซลล+

เซลลข5 องส่งิ มีชวี ิต 24

ภาพที่ 2.26 แวควิ โอล (vacuole)
ท่มี า : ออนไลน.5 (18 กนั ยายน 2564)

3. นิวเคลียส (nucleus) เป_นสQวนประกอบที่สำคัญของเซลล+ มีลักษณะคQอนขPางกลม มีเยื่อหุPม 2 ชั้น
มีรูเล็กๆเป_นเยื่อเลือกผQาน ซึ่งเป_นทางผQานของสารตQางๆเขPาและออกจากนิวเคลียส ภายในมีโครมาทิน
(chromatin) เป็นสารพนั ธุกรรมหรือยีนขดพนั กนั ไปมา เม,ือนิวเคลียสมีการแบ่งตวั โครมาทินจะขด
ตวั แนน่ ทําให้มีขนาดใหญ่และสนัM ลงเรียกวา่ โครโมโซม (chromosome)

ภาพท่ี 2.27 นิวเคลยี ส (nucleus)
ที่มา : ออนไลน5. (18 กันยายน 2564)

25 เซลลข5 องสิ่งมีชวี ิต เกร็ดความรู+
หนา& ที่
1. ควบคมุ การทำงานและกจิ กรรมตาQ งๆภายในเซลล+ ยีน ( gene) คือ ภาพที่ 2.28 ยีน (gene)
เชQน การเจรญิ เติบโตของเซลล+ หน&วยที่ควบคุม ท่ีมา : ออนไลน.4 (18 กนั ยายน 2564)
2. ควบคุมการถQายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของ การแสดงออกของ
สงิ่ มชี ีวิต ลักษณะต&างๆของ
3. เปน_ แหลQงสังเคราะหส+ ารพันธุกรรมและควบคุม สงิ่ มีชีวติ
การสังเคราะห+โปรตนี ภายในเซลล+

การจดั ระบบของเซลล;

1. เซลล/หลายเซลล/ที่มีรูปร\างเหมือนกันและทำหน&าที่อย\างเดียวกันจะรวมกลุ\มกันเปtนเนื้อเยื่อ
(tissues) เชนQ เนื้อเยอื่ บุผนงั ลำไสP เนอื้ เยอื่ ประสาท
2. เนื้อเยื่อหลายๆ ชนิดที่ทำหน&าที่อย\างเดียวกันจะรวมกันเปtนอวัยวะ (organ) เชQน กระเพาะ
อาหารประกอบดPวยเนื้อเยื่อบุผิว เนื้อเยื่อประสาท และเนื้อเยื่อกลPามเนื้อ ใบไมPประกอบดPวยเนื้อเยื่อ
ผวิ ใบ เน้อื เยื่อลำเลียงอาหาร และเนอ้ื เยอื่ ลำเลยี งน้ำ
3. อวยั วะหลายๆอวัยวะจะทำหน&าทีร่ \วมกนั เปนt ระบบอวยั วะ (organ system) เชนQ ระบบยQอย
อาหารของคนประกอบดวP ยปาก กระเพาะอาหาร ลำไสPเลก็ ลำไสPใหญQ ตบั และตับออQ น
4. ระบบอวัยวะหลายๆระบบทำงานร\วมกันภายในร\างกายของสิ่งมีชีวิต (organism) ทำใหP
สงิ่ มชี วี ิตนนั้ ๆ ดำรงชวี ิตอยูไQ ดP

ภาพที่ 2.29 การจัดระบบของเซลล5
ที่มา : ออนไลน.5 (18 กันยายน 2564)

เซลล5ของส่ิงมชี วี ติ 26

เกร็ดความรู&

สเต็มเซลล/ (Stem cell) หรอื เซลล/ต&นกำเนิด เป_นเซลล+ชนิดพิเศษที่ไมQมีหนPาที่ของ
เซลล+ที่เฉพาะเจาะจงแตQสามารถแบQงตัวไดPอยQางไมQจำกัด และสามารถเปลี่ยนแปลงไปเป_น
เซลล+ของเนื้อเยื่อชนิดตQางๆในรQางกายไดP เชQน เซลล+หัวใจ เซลล+ผิวหนัง เป_นตPน สเต็มเซลล+มี
2 ชนิด คือ สเต็มเซลล/ที่แยกได&จากตัวอ\อนระยะ blastocyst ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงไป
เป_นเซลล+รQางกายไดPเกือบทุกชนิดและ สเต็มเซลล/ที่แยกได&จากเนื้อเยื่อหรือสิ่งมีชีวิตที่โตเต็ม
วัย ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงไปเป_นเซลล+ของเนื้อเยื่อนั้นๆ เชQน สเต็มเซลล+ของเลือดสามารถ
เปลี่ยนเป_นเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดไดP ป4จจุบันไดPมีการศึกษาคPนควPาและ
วิจัยในการนำเสต็มเซลล+มาใชPในการรักษาโรคตQางๆ เชQน โรคลิวคีเมีย โรคธาลัสซีเมีย
โรคเบาหวาน เป_นตPน

ภาพท่ี 2.30 สเตม็ เซลล5
ท่ีมา : ออนไลน.5 (6 ตุลาคม 2564)

27 เซลลข5 องส่งิ มีชวี ติ

คำถามทา< ยบท

1.จงพิจารณาพรอP มบอกวQาเป_นเซลลช+ นิดใดและบอกสQวนประกอบของเซลลใ+ หถP กู ตPอง

เซลล,........................

เซลล,........................

เซลลข5 องสง่ิ มชี วี ิต 28

2. ใหนP กั เรียนสรปุ เปรียบเทียบความเหมอื นและความแตกตQางระหวQางเซลลพ+ ืชและเซลล+สัตว+

สว6 นทพี่ บเฉพาะในเซลล;พืช สว6 นที่พบทง้ั ในเซลลพ; ชื และเซลล;สตั ว; สว6 นที่พบเฉพาะในเซลล;สตั ว;

3. จงเตมิ ขPอความใหPถูกตอP ง อวัยวะ

เซลล,

หน#วยการเรียนร,ูที่

3 การลำเลยี งสารเขา, และออกจากเซลล2

จุดประสงค/การเรยี นร&ู

1. อธบิ ายกระบวนการแพรแQ ละออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจกั ษไ+ ดP (K)

2. ยกตวั อยQางการแพรแQ ละออสโมซสิ ในชีวิตประจำวันไดP (K)
3. ใชงP านอุปกรณท+ างวทิ ยาศาสตรไ+ ดPอยQางถูกตPอง (P)

การลำเลยี งสารเข'าและออกจากเซลล5 30

ภาพท่ี 3.1 การเคลอื่ นทขี่ องอนภุ าคสารสีแดงของกระเจ๊ยี บ
ท่มี า : หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร5 มธั ยมศึกษาปท{ ่ี 1 (17 กนั ยายน 2564)

น้ำกระเจี๊ยบเป_นเครื่องดื่มที่มีสีแดงใหPรสเปรี้ยว สามารถเตรียมไดPโดยนำกลีบเลี้ยงที่อยูQติดกับผล
กระเจี๊ยบมาแชQในน้ำรPอน สังเกตไดPวQาน้ำบริเวณใกลPกับกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบจะคQอยๆ จะมีแดงจนในที่สุด
น้ำสีแดงทั่วทั้งแกPวการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ เกี่ยวขPองกับการที่อนุภาคสารสีแดงเคลื่อนที่ออกจาก
เซลล+ของกลีบเลยี้ งกระเจยี๊ บไปจนทั่วทั้งแกPว

เซลล+มีกระบวนการตQาง ๆ ในการนำสารเขPาออกเซลล+การนำสารเขPาและออกจากเซลล+มีหลาย
วิธี เชQน การแพรQ เป_นวิธีการที่สารจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขPมขPนของสารมากไปสูQบริเวณที่มี
ความเขPมขPนของสารนPอย สQวนการออสโมซิส เป_นการแพรQของน้ำผQานเยื่อหุPมเซลล+จากดPานที่มีความ
เขPมขนP ของสารละลายตำ่ ไปยังดาP นท่ีมคี วามเขPมขนP ของสารละลายสงู กวQา

ภาพ 3.2 การแพรL
ที่มา : ออนไลน5. (17 กนั ยายน 2564)

31 การลำเลยี งสารเข'าและออกจากเซลล5

การแพรF (Diffusion)

ภาพ 3.3 ผักและผลไม'ดอง
ท่ีมา หนังสอื เรียนรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร5 มัธยมศกึ ษาปท{ ่ี 1 (17 กันยายน 2564)

วิธีที่เรานิยมใชPในการถนอมอาหาร คือ การดองซึ่งอาจใชPเกลือหรือน้ำตาลเติมในอาหารเพื่อใหP
อาหารนั้นไมQเนQาเสีย เก็บไดPนานขึ้น ตัวอยQาง เชQน การทำผักกาดดอง โดยใชPเกลือในการดองทำใหPผักที่
ไดPมีรสเค็ม เนื่องจากเกลือเคลื่อนเขPาสูQภายในเซลล+ของผักกาด รูPหรือไมQวQากระบวนการนี้เกิดขึ้นไดP
อยาQ งไร

การแพร\ คือ การเคลื่อนที่ของโมเลกุลสารหรือสสาร จากบริเวณที่สารละลายมีความเขPมขPนสูง
ไปยังบริเวณที่สารละลายที่มีความเขPมขPนต่ำ เพื่อปรับใหPความเขPมขPนของทั้งสองบริเวณเทQากัน เรียกวQา
สมดุลของการแพรQ (Diffusion Equilibrium) โดยการแพรQนั้นสามารถเกิดขึ้นทุกสถานะ ทั้งของแข็ง
ของเหลว และแก1ส เชQน การแพรQของกลิ่นอยQางน้ำมันหอมระเหย ดอกไมP อาหาร หรือการแพรQของ
หยดสลี งบนกระดาษท่ีเปยJ กนำ้ เปน_ ตนP

ภาพ 3.4 การแพรLของกลิ่นอาหาร
ทีม่ า : ออนไลน.5 (17 กันยายน 2564)

การลำเลยี งสารเข'าและออกจากเซลล5 32
เมื่อการแพรQเกิดขึ้นที่เซลล+ จะมีเยื่อบางๆ ที่เรียกวQา เยื่อหุPมเซลล+ ซึ่งสQวนใหญQประกอบดPวย
ลิพิดและโปรตีน มาเป_นหนQวยคัดกรองและควบคุมสารที่ผQานเขPาออกเซลล+ ยกตัวอยQาง เชQน การแพรQ
ของแก1สออกซิเจนและคาร+บอนไดออกไซด+บริเวณถุงลมปอด หรือการแพรQของแก1สออกซิเจนและ
คารบ+ อนไดออกไซดบ+ รเิ วณปากใบของพืช

ประเภทของการแพรY

1. การแพร\ธรรมดา (Simple Diffusion) คือการเคลื่อนที่ของสาร โดยไมQอาศัยตัวพาหรือ
ตัวชQวยขนสQง (Carrier) ใดๆ เชQน การแพรQของผงดQางทับทิมในน้ำ จนทำใหPน้ำมีสีมQวงแดงทั่วทั้งภาชนะ
การไดPกลน่ิ ผงแป‰ง หรือการไดกP ล่ินนำ้ หอม เป_นตPน

ภาพ 3.5 การแพรLธรรมดาและการแพรLโดยอาศยั ตัวพา
ทมี่ า : ออนไลน.5 (17 กันยายน 2564)

2. การแพร\โดยอาศัยตัวพา (Facilitated Diffusion) ซึ่งเกิดขึ้นเฉพาะในเซลล+ของสิ่งมีชีวิต
เทQานั้น คือการเคลื่อนที่ของสารบางชนิดที่ไมQสามารถแพรQผQานเยื่อหุPมเซลล+ไดPโดยตรง จึงตPองอาศัย
โปรตีนตัวพา (Protein Carrier) ที่ฝ4งอยูQบริเวณเยื่อหุPมเซลล+ทำหนPาที่รับสQงโมเลกุลของสารเขPา-ออก
โดยมีทิศทางการเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขPมขPนสูงไปยังบริเวณที่มีความเขPมขPนต่ำ เชQน การ
ลำเลียงสารที่เซลล+ตับและเซลล+บุผิวลำไสPเล็ก หรือการเคลื่อนที่ของน้ำตาลกลูโคสเขPาสูQเซลล+กลPามเนื้อ
เป_นตPน

33 การลำเลียงสารเข'าและออกจากเซลล5

ป[จจยั ท่ีมผี ลตYอการแพรY

การแพรQที่เกิดขึ้นแตQละครั้ง มีความรวดเร็วและอัตราการแพรQที่แตกตQางกัน ขึ้นอยูQกับป4จจัย
ตQางๆ เชนQ

1. อุณหภูมิ บริเวณที่มีอุณหภูมิสูงจะเกิดอัตราการแพรQไดPเร็วกวQาอุณหภูมิต่ำ เพราะอนุภาค
เคลอื่ นทีไ่ ดPเรว็ ขน้ึ

2. ความดัน เม่ือความดันเพม่ิ ขน้ึ อตั ราการแพรจQ ะเพิ่มสงู ขึ้นไปดวP ย
3. สถานะของสาร สารที่มีสถานะเป_นแก1สจะแพรQไดPรวดเร็วกวQาสถานะของเหลวและของแข็ง
เนอ่ื งจากอนุภาคเป_นอสิ ระมากกวาQ
4. สถานะของตัวกลาง ป4จจัยนี้จะคลPายกับขPอที่แลPว คือ สถานะแก1สจะเป_นตัวกลางที่ทำใหP
อตั ราการแพรเQ กดิ ข้ึนเรว็ กวQาของแข็งและของเหลว
5. ขนาดอนุภาค สารที่มีอนุภาคขนาดเล็กจะเกิดการแพรQไดPงQายและเร็วกวQา เนื่องจากเคลื่อนที่
ไดดP กี วาQ สารทม่ี ีอนภุ าคใหญQ
6. ความแตกต\างของความเข&มข&นสาร 2 บริเวณ ยิ่งความเขPมขPนของสารทั้งสองบริเวณมี
ความแตกตQางกันมากเทาQ ไร การแพรQมกั จะเกิดข้ึนไดดP มี ากเทาQ นน้ั

การแพรYในพชื

แก1สออกซิเจนที่อยูQในดินจะแพรQเขPาสูQเซลล+ขนรากโดยวิธีการแพรQ แลPวแพรQเขPาไปสูQเซลล+
ขPางเคียง ทำใหPแก1สออกซิเจนเขPาสูQเซลล+พืชและใชPในกระบวนการเมแทบอลิซึมหรือกระบวนการหายใจ
ไดPแก1สคาร+บอนไดออกไซด+ และแพรQออกจากพืชทางปากใบ แก1สคาร+บอนไดออกไซด+แพรQผQานทางปาก
ใบของพืชเขPาสูQเซลล+ เพื่อใชPในกระบวนการสังเคราะห+แสง หรือสรPางอาหารใหPแกQพืชแลPว ไดPน้ำตาล
กลโู คส และแก1สออกซเิ จน เมอ่ื ในเซลล+มแี กส1 ออกซเิ จนมากจึงแพรผQ QานออกสภQู ายนอกโดยผาQ นทางปาก
ใบ ธาตุอาหารในดนิ จะแพรQเขPาสเQู ซลลข+ นรากโดยวธิ กี ารแพรQ

ภาพ 3.6 การแพรแL ละการออสโมซิส
ทมี่ า : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564)

กิจกรรม การลำเลียงสารเขา' และออกจากเซลล5 34

การแพรขF องสาร

วัสดุอปุ กรณ;

1. นำ้ 30 ml
2. ชอP นตกั สาร 1 คัน
3. เครือ่ งช่งั สาร 1 เคร่ือง
4. เกลด็ ดQางทบั ทมิ 0.5 กรัม
5. บีเกอรข+ นาด 50 ml

วธิ ีทำ

1. ใสนQ ้ำปริมาณ 30 ml
2. ใชPชPอนตักสารตักดQางทับทิม 0.5 กรัม ใสQ
ลงในบีเกอร+ที่บรรจุน้ำ 30 ml สังเกตการณ+
เปล่ยี นแปลงทเี่ กิดข้ึนภายใน 5 นาที

ภาพ 3.7 การทดลองการแพรขB องเกลด็ ดาB งทบั ทิม
ที่มา : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564)

อภิปรายผลกจิ กรรม ภาพ 3.8 การแพรBของเกล็ดดBางทับทิม
ท่ีมา : ออนไลน.5 (17 กันยายน 2564)
จากผลกิจกรรมเมื่อใสQเกล็ดดQางทับทิมลงในน้ำใน
ระยะแรกอนุภาคของเกล็ดดQางทับทิมจะยังไมQเกิดการแพรQ แตQ
เมือ่ เวลาผาQ นไปอนุภาคของเกลด็ ดQางทับทิมจะแพรQจากบริเวณ
ที่มีความเขPมขPนสูงไปสูQบริเวณที่มีความเขPมขPนต่ำ จนกระทั่ง
ความเขมP ขนP ของสารในบกี เกอรเ+ ขPาสQูสภาวะสมดลุ น้ำใน
บกี เกอรจ+ ะเปล่ียนเปน_ สีมวQ ง ดงั รปู

35 การลำเลยี งสารเข'าและออกจากเซลล5

คำถามท<ายกจิ กรรม

จงตอบคำถามตอQ ไปนี้ใหPถูกตอP ง
1. เกล็ดดาQ งทบั ทิมมีลักษณะและสเี ปน_ อยQางไร

2. หลงั จากหยอQ นเกล็ดดาQ งทับทิมลงน้ำ เกิดการเปลี่ยนแปลงอยาQ งไรและนกั เรยี นจะอธิบายไดP
อยQางไร

3. เมอ่ื เวลาผาQ นไป 3 นาที น้ำในบกี เกอรม+ ีการเปล่ียนแปลงอยQางไร

4. เม่ือเวลาผาQ นไป 5 นาที น้ำในบกี เกอรม+ ีการเปลยี่ นแปลงอยาQ งไร

5. ถาP ทิง้ น้ำในบกี เกอรไ+ วP 2 ชว่ั โมง ผลเปน_ อยQางไรเพราะเหตุใด

6. ถPาท้งิ นำ้ ในบกี เกอรไ+ วหP น่ึงคืน ผลเป_นอยาQ งไรเพราะเหตใุ ด

การลำเลียงสารเข'าและออกจากเซลล5 36
8. ถPาความเขมP ขนP ของอนภุ าคสารภายในเซลล+พืชและภายนอกเซลลพ+ ืชไมเQ ทQากัน ผลจะเปน_
อยาQ งไร

9. ในชวี ติ ประจำวนั นักเรียนมีประสบการณเ+ ก่ยี วกบั การแพรขQ องสารบPางหรอื ไมQ อธิบาย
พรอP มกับยกตวั อยQางประกอบ

37 การลำเลียงสารเข'าและออกจากเซลล5

ออสโมซสิ (Osmosis)

ภาพ 3.9 ผักกอL นและหลงั แชนL ำ้
ทมี่ า : ออนไลน5. (17 กนั ยายน 2564)

เมื่อเราวางผักสดทิ้งไวPสักครูQ ใบผักจะคQอย ๆ เหี่ยวลง และเมื่อเวลาผQานไป ใบและกPานผักจะ
เหี่ยวมากขึ้นเรื่อย ๆ แตQเมื่อเรานำผักนั้นไปแชQในน้ำสักครูQหนึ่ง ใบและกPานผักจะคQอยๆ เตQงขึ้น
จนกระทง่ั กลับมาสดเหมอื นเดิม การเปลีย่ นแปลง ดังกลQาวเกดิ ข้ึนไดอP ยาQ งไร

การออสโมซิส คือ การเคลื่อนที่ของน้ำหรือตัวทำละลาย ผQานเยื่อเลือกผQาน ซึ่งในเซลล+ของเรา
จะมีเยื่อหุPมเซลล+ ที่มีคุณสมบัติเป_นเยื่อเลือกผQาน โดยน้ำจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่สารละลายมีความ
เขPมขPนต่ำ (โมเลกุลของน้ำมาก) ไปยังบริเวณที่มีสารละลายที่มีความเขPมขPนสูง (โมเลกุลของน้ำนPอย)
เชนQ การดูดซมึ น้ำของรากพชื

ภาพ 3.10 กระบวนการออสโมซิสในรากพืช
ท่ีมา : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564)

การลำเลียงสารเข'าและออกจากเซลล5 38

ปจ[ จัยที่เก่ยี วขอ# งกับการออสโมซสิ

1. ความเขมP ขPนของสาร ถาP ความเขPมขPนของสารแตกตาQ งกนั มาก การอออสโมซิสจะเกิดไดดP ี
2. อุณหภมู ิ ถPาอณุ หภูมสิ ูง กระบวนการออสโมซิสจะเกิดไดPดี
3. ขนาดของอนุภาค อนุภาคท่ีมีขนาดเล็กจะเกิดการออสโมซสิ ไดดP ี
4. สมบัตขิ องเยื่อกัน้ เยื่อกนั้ บางชนิดจะยอมใหPสารผQานไดP การอออสโมซสิ จึงเกดิ ขึน้ ไดดP ี

การออสโมซิสในพืช ภาพ 3.11 การออสโมซิสในพชื
ท่มี า : ออนไลน5. (17 กนั ยายน 2564)
พืชจะดูดน้ำเขPาสูQเซลล+ขนรากดPวย
กระบวนการออสโมซิส โดยผQานเยื่อหุPมเซลล+ ซึ่งทำ
หนPาที่เป_นเยื่อเลือกผQาน เพราะบริเวณรอบๆ ราก
จะมีปริมาณน้ำมากกวQาในเซลล+ขนรากและจะ
ออสโมซิสไปยังเซลล+ขPางเคียงตQอๆ ไปจนถึงเนื้อเยื่อ
ลำเลยี งนำ้

การออสโมซสิ ในชวี ิตประจำวัน

1. การแชQผกั ในน้ำ
2. การปก4 ดอกไมใP นแจกนั
3. การหบุ ของตนP ไมยราบ
4. การเห่ยี วของตนP พชื
5. การพองของเย่ือชัน้ ในของไขเQ มือ่ แชใQ นน้ำ

การออสโมซสิ ในเซลลพ; ืชและเซลลส; ตั ว;

จะมีความคลPายคลึงกัน คือ เซลล+จะมีรูปรQางปกติ เมื่อแชQในสารละลายมีความเขPมขPนเทQากับ
ภายในเซลล+ แตQหากแชQเซลล+ในสารละลายที่มีความเขPมขPนมากกวQาภายในเซลล+ (โมเลกุลของน้ำนPอย
กวQา) น้ำจะออสโมซิสออกไปยังนอกเซลล+ ทำใหPเซลล+เหี่ยว สQวนการแชQเซลล+ในสารละลายที่มีความ
เขPมขนP นPอยกวาQ ในเซลล+ (โมเลกลุ ของน้ำมากกวQา) จะทำใหPน้ำออสโมซสิ เขPาสเูQ ซลล+ ซึ่งหากเป_นเซลล+สัตว+
อาจทำใหเP ซลล+เตงQ จนแตกไดP ขณะที่เซลลพ+ ืชจะทำใหPเซลล+เตงQ แตQไมQแตก เน่ืองจากมีผนงั เซลลก+ ั้นอยQู

39 การลำเลยี งสารเข'าและออกจากเซลล5

ประเภทของสารละลายจำแนกตามความดันออสโมซิส

สารละลายที่มีความเขPมขPนตQางกันสQงผลตQอเซลล+แตกตQางกันออกไป ดังนั้น สารละลายที่อยูQนอก
เซลล+สามารถจำแนกออกเป_น 3 ประเภท ตามการเปลี่ยนแปลงของขนาดเซลล+ เมื่ออยูQภายใน
สารละลายนัน้ ๆ

ภาพ 3.12 สารละลายจำแนกตามความดนั ออสโมซสิ
ทม่ี า : ออนไลน5. (17 กนั ยายน 2564)

1. สารละลายไฮโพทอนิก (Hypotonic Solution) คือ สภาพของสารละลายภายนอกเซลล์
ซงึ, มีความเข้มข้นตํ,ากว่าสารละลายภายในเซลล์ ทําให้นําM ที,อย่ภู ายนอกเซลล์เกิดการเคลื,อนท,ีหรือ
ออสโมซิสเข้ามาภายในเซลล์ สง่ ผลให้เซลล์เตง่ และแตกได้ โดยปรากฏการณ์นีมM ีชื,อเรียกวา่ “พลาส
มอพไทซสิ ” (Plasmoptysis)

ภาพ 3.13 สารละลายไฮโพทอนกิ (Hypotonic Solution)
ท่ีมา : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564)

การลำเลียงสารเข'าและออกจากเซลล5 40
2. สารละลายไฮเพอร+ทอนิก (Hypertonic Solution) คือสภาพของสารละลายภายนอกเซลล์
ซงึ, มีความเข้มข้นสงู กว่าสารละลายภายในเซลล์ ทําให้นําM ภายในเซลล์เกิดการเคลื,อนท,ีหรือออสโมซิ
สออกจากเซลล์ ส่งผลให้เซลล์มีขนาดเล็กลงหรือมีสภาพเห,ียวลง โดยปรากฏการณ์นีมM ีชื,อเรียกว่า
“พลาสโมไลซสิ ” (Plasmolysis)

ภาพ 3.14 สารละลายไฮเพอร5ทอนิก (Hypertonic Solution)
ท่ีมา : ออนไลน.5 (17 กันยายน 2564)

3. สารละลายไอโซทอนกิ (Isotonic Solution) คือสภาพของสารละลายภายนอกเซลล์ ซง,ึ มี
ความเข้มข้นเท่ากบั สารละลายภายในเซลล์ ทําให้การออสโมซิสของนําM ระหวา่ งภายในกบั ภายนอก
เซลล์ไมเ่ กิดความแตกตา่ ง สง่ ผลให้รูปร่างของเซลล์ไมเ่ กิดการเปลย,ี นแปลงใดๆ

ภาพ 3.15 สารละลายไอโซทอนิก (Isotonic Solution)
ทีม่ า : ออนไลน5. (17 กันยายน 2564)
เกร็ดความรู้

การที่น้ำแพร.เข#าไปในเซลล,พืชและเซลล,สัตว,มากๆ ก็อาจจะทำให#เซลล,
แตก และตายได# แต.ในเซลล,ของสิ่งมีชีวิตบางชนิด เช.น เซลล,แบคทีเรีย สามารถสร#างผนังเซลล,
ใหม.ขึ้นมาทดแทนผนังเซลล,เก.าที่ตายได# จึงทำให#เซลล,ไม.ตาย ป_จจุบันทางการแพทย,ได#ใช#
ประโยชน,ของกระบวนการของความดันออสโมติกมาใช#ควบคู.กับการให#ยาเพนนิซิลิน
(penicillin) ซึ่งเปhนยาปฏิชีวนะ ที่ช.วยปjองกันไม.ให#แบคทีเรียสร#างผนังเซลล,ได# เมื่อแบคทีเรียไม.
สามารถสร#างผนังเซลล, เซลลก, จ็ ะถกู ทำลายด#วยแรงดันของน้ำท่ีแพร.เข#าไปในเซลล,

41 การลำเลยี งสารเขา' และออกจากเซลล5 การแพรFผาF นเย่อื เลอื กผาF น

กจิ กรรม

วสั ดุอปุ กรณ;

1. เซลโลเฟน 1 แผนQ
2. นำ้ ปริมาตร 50 cm3
3. บีกเกอร+ ขนาด 100 cm3
4. สารละลายน้ำตาลทรายความเขPมขPน 20 %
5. หลอดแกPวขนาดเสPนผาQ นศูนยก+ ลาง 0.5 cm ยาว 20 cm
6. ปากกาสำหรบั ทำเครอ่ื งหมายบนหลอดแกวP 1 ดาP ม
7. ยางสำหรับรดั ถงุ เซลโลเฟน 1 เสPน
8. ขาต้ังพรPอมทหี่ นบี 1 ชุด

วิธที ำ

1. นำเซลโลเฟนชุบน้ำใหPเปJยก แลPวบุลงในบีกเกอร+เปลQาจากนั้นนำสารละลายน้ำตาลทราย
ปริมาตร 30 ลกู บาศก+เซนตเิ มตร เทลงในเซลโลเฟนทอี่ ยใQู นบกี เกอร+

2. นำหลอดแกPวจุQมลงในสารละลายน้ำตาลทรายแลPว รวบขอบแตQละดPานของเซลโลเฟนเขPา
ดวP ยกันใหเP ปน_ ถงุ ใชPยางรดั ปากถงุ ใหPแนนQ

3. ใชPยางรัดปากถุงติดกับหลอดแกPวใหPแนQนโดยพยายาม อยQาใหPมีฟองอากาศในหลอดแกPวและ
ในถงุ เซลโลเฟน

4. ยึดหลอดแกPวกับขาตั้งใหPตั้งตรงจากนั้น ทำเครื่องหมายแสดงระดับสารละลายน้ำตาลทรายใน
หลอดแกPวใสQนำ้ ลงในบกี เกอรใ+ หPระดับน้ำในบกี เกอรอ+ ยQใู ตPยางที่รดั ปากถงุ เลก็ นอP ย

5. สังเกตและบนั ทึกผลการเปลย่ี นแปลงทุกๆ 2 นาที เป_นเวลา 10 นาที

ภาพ 3.16 การทดลองการแพรLผาL นเย่ือเลือกผาL น
ทมี่ า : ออนไลน.5 (17 กนั ยายน 2564)

การลำเลยี งสารเข'าและออกจากเซลล5 42

ตารางบนั ทึกผล

อภปิ รายผลกิจกรรม

จากผลกิจกรรมพบวQาระดับของเหลวในหลอดแกPวจะเพิ่มสูงขึ้นซึ่งเกิดจากการแพรQ
ของน้ำจากภายนอกถุงเซลโลเฟนความเขPมขPนของสารละลายต่ำผQานเขPาไปในถุง (ความ
เขมP ขนP ของสารละลายสูง) โดยถงุ เซลโลเฟนจะทำหนาP ท่ีเป_นเยอ่ื เลอื กผาQ นยอมใหอP นุภาคของ
น้ำผQานเขPาไปไดP แตQไมQยอมใหPอนุภาคของน้ำตาลที่มีขนาดใหญQผQานออกมาซึ่งอนุภาคของน้ำ
ทีผ่ QานเขPาไปจะทำใหรP ะดับของเหลวในหลอดแกPวเพ่มิ สงู ขน้ึ

ตารางการเปรยี บเทยี บการแพรY และการออสโมซสิ การออสโมซสิ

การแพร\

การเคล่ือนท่ี โมเลกลุ ของสาร โมเลกุลของน้ำ
หลกั การการเคลือ่ นที่ จากบรเิ วณทม่ี คี วาม (ตอ# งผ.านเยอื่ บางๆ)
เข#มข#นมากไปท่ีที่มีความ จากบรเิ วณทม่ี นี ้ำมาก
(สารละลายเจือจาง) ไปที่
เข#มข#นน#อย ทมี่ ีน้ำน#อย(สารละลาย

เขม# ข#น)

43 การลำเลียงสารเขา' และออกจากเซลล5

คำถามทา< ยกจิ กรรม

จงตอบคำถามตอQ ไปนี้ใหPถูกตอP ง
1. เม่ือน้ำเคล่อื นทไ่ี ปตามเน้อื เย่ือลำเลียงน้ำจนถึงสวQ นบนของลำตPน เซลล+ทอี่ ยQูรอบๆเน้ือเย่อื
ลำเลียงนำ้ จะไดPรบั นำ้ โดยวิธีใด

2. นกั เรียนจะสามารถนําความเข้าใจ เรื,อง ออสโมซสิ ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวนั ได้
อยา่ งไรบ้าง

3. ระดบั ของเหลวในหลอดแก้วมีการเปลย,ี นแปลงอยา่ งไร เพราะเหตใุ ดจงึ เป็นเชน่ นนัM

4. หากเปลย,ี นนําM ในบีเกอร์เป็นสารละลายท,ีมีความเข้มข้นมากกวา่ สารละลายนําM ตาลทราย
ระดบั ของเหลวในหลอดแก้วมีการเปลย,ี นแปลงอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด


Click to View FlipBook Version