The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lukman.c, 2021-05-17 04:58:26

คุณครูคนใหม่

คุณครูคนใหม่

บรรณาธิการ : ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกสรี ลดั เลีย คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา
ภาพ : วรา ส�ำราญ ISBN : 978-616-7782-75-1

พมิ พ์ครง้ั ที่ : ๑ จ�ำนวนพมิ พ์ : ๕๐๐ เล่ม ปีทพี่ ิมพ์ : ๒๕๖๒ จัดพมิ พโ์ ดย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา บรรณาธกิ าร : ผศ. ดร.เกสรี ลัดเลีย
การผลติ และการลอกเลียนแบบหนงั สือนี้ ไม่วา่ รปู แบบใดท้งั สิ้น ต้องไดร้ บั อนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อักษรจากผเู้ ขียน
พมิ พ์ : บริษทั ดุนยา ครเี อช่ัน จำ� กัด เลขท่ี ๓๕ หม่ทู ี่ ๑ ซอยควนสันติ ๔ ต�ำบลควนลงั อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา ๙๐๑๑๐

2

ฉันเรยี นอนบุ าล ผ่านมาสองปี
มาถึงวนั น้ ี เหน็ ทตี อ้ งจาก

3

ฉนั เศร้าใจมาก ไมอ่ ยากจากครู
อ ยากเขียนเรียนร ู้ ครูรกั มากมาย

4

ช้นั ใหม่ปนี ้ี ช่างมีความหมาย
หวาดหว่ันในใจ กลวั ไมเ่ ป็นสุข

5

ครูบอกอยา่ ทุกข ์ ปลกุ ปลอบก�ำลงั ใจ
คณุ ครคู นใหม่ ใจมเี มตตา

6

ฉนั เฝา้ ใฝ่หา พบหน้าครูใหม่
เมื่อพบสมใจ ครใู หม่ใจดี

7

คํานาํ

ชุดหนงั สือสําหรับเด็ก เพอ่ื สง เสรมิ การอยรู วมกันในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม จังหวัดชายแดนภาคใต
ชุด “เร่อื งราวของเราทุกคน” เหมาะสมสําหรับเด็กปฐมวยั และชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 1 เปน การขยายผลโครงการ
วิจัย เรื่อง “ชุดกิจกรรมการเรียนรู โดยการใชวรรณกรรมเปนฐาน เพ่ือสงเสริมการอยูรวมกันของเด็กในสังคม
พหวุ ฒั นธรรม สามจงั หวัดชายแดนภาคใต” ซง่ึ ไดรับทนุ สนบั สนนุ การวิจยั จากสาํ นกั งานคณะกรรมการอดุ มศึกษา
(สกอ.) ภายใต โครงการความรวมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต ประกอบไปดวย
หนังสอื สําหรับเด็ก 19 เร่ือง จากหัวเรอ่ื งหลัก “เรอื่ งราวของเราทกุ คน” ซงึ่ ประกอบดวยหวั เรอ่ื งยอย 3 หวั เร่อื ง คอื “เราคือ
คนสําคัญ” “การเปลี่ยนแปลง” และ “สังคมหองเรียน” เปนการสงเสริมการเรียนรู เพื่อการอยูรวมกันอยางยอมรับและ
เห็นคุณคาในตนเองและคนอ่ืนๆ คุณครูและผูปกครองสามารถนําวรรณกรรมในชุดนี้ ไปใชกับเด็กๆ ได โดยพิจารณา
แนวคดิ หลกั ของหวั เร่ืองหลกั “เร่ืองราวของเราทุกคน” และหัวเรือ่ งยอ ย 3 หวั เรือ่ ง และกระบวนการจัดการเรียนรู โดยใช
วรรณกรรมเปน ฐาน เพ่อื ใหวรรณกรรมชดุ น้ี สามารถตอ พลงั แหงการเรียนรูข องเด็กๆ ไดอ ยา งไมจ บสิ้น

เกสรี ลดั เลีย
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

2562

ทม่ี า : เกสรี ลดั เลยี 2552

8 ª´Ø ÇÃó¡ÃÃÁÊ‹§àÊÃÁÔ ¡ÒÃÍÂÙË ‹ÇÁ¡¹Ñ ã¹Êѧ¤Á¾ËÇØ Ñ²¹¸ÃÃÁ
ÊÓËÃѺà´ç¡»°ÁÇÂÑ áÅлÃжÁÈÖ¡ÉÒ»·‚ èÕ 1

ชดุ “เรอ่ื งราวของเราทกุ คน”

เราคือคนสาํ คญั การเปลย่ี นแปลง สงั คมหองเรียน
ตัวตนของเรา
1. ทแพําไนมดตาอ นงอมยชี ออ่ื ยากเปนเตา การสญู หาย กฎ กติกา มารยาท
2.
3. วนั เกิดของแตงโม 1. รองเทาสแี ดง 1. ผูน ําของเรา
ครอบครวั ของเรา 2. ดนิ สอของฉัน 2. ของขวญั หรรษา
1. ดงิ หลานปผู ูนารัก
2ค.นชเกมุ งชนคตนรดีมี ติทรี่เราชืน่ ชม การอพยพโยกยา ย เพ่ือนรัก
1. ทําดีไดด ี
1. คณุ ครคู นใหม 1. น้ําใจของฟร ดาว
2. เพอื่ นรกั ของเรา
การตายจาก
หองเรยี นแสนสขุ
1. ปลากือเลาะห
2. ลูกแมวของซอและห 1. หองเรยี นของเรา
2. หอ งเรียนแสนสขุ เลม 1
2. ลุงช่นื คนดี 3. หอ งเรียนแสนสขุ เลม 2

3. รายากนู ิง

ทมี่ า : เกสรี ลัดเลยี 2552

“เรอ่ื งราวของเราทกุ คน” 9

เด็กๆ เรียนรูเก่ียวกับเร่ืองราวของตนเอง เพื่อน รวมท้ังคนอื่นๆ ที่อยูรอบตัว เพื่อการอยูรวมกันอยางยอมรับและเห็นคุณคา
ซ่ึงกันและกันผานวรรณกรรมที่หลากหลาย เชน หนังสือสําหรับเด็ก วรรณกรรมพื้นบาน บทกวี เร่ืองมหัศจรรย เรื่องจริงทางประวัติศาสตร
หนังสอื อางอิง โปรแกรมคอมพวิ เตอร รวมถึงแอพพลิเคชัน่ และวรรณกรรมในชีวิตประจําวัน โดยมีหวั ขอยอย 3 เรอ่ื ง ดงั นี้

สังคมหอ งเรยี น เราคอื คนสาํ คญั การเปลย่ี นแปลง

กฎ กตกิ า มารยาท ตัวตนของเรา (ชือ่ รปู รา งหนา ตา วนั เกดิ ) การสูญหาย
(ระเบียบวินัย บทบาทหนา ท่ี วคคีรนรบอดรุบี ุษคครนววัีรเกขสองตงรทเีรใ่ีเนาราป(ภชรา่ืนะวษชตัามศิ ศา(ายสสอตนดรามคกนนาุษดรยแใี นตในชงกวีจติาินยจตรอนิงาา)หกาารร) การอพยพโยกยาย
ของสมาชกิ ในหอ งเรยี น การตายจาก
การแกป ญหาความขัดแยง)
เพอื่ นรักของเรา เรื่องราวของเราทกุ คน
(การแบง ปน การใหอ ภัย
การเปน ผูใหและผูรับ ทมี่ า : เกสรี ลัดเลยี 2552
การชว ยเหลอื เกอ้ื กูล)
หองเรียนแสนสขุ
(ความสะอาด ความสวยงาม
ความอบอนุ ความปลอดภยั )

10 เราคือคนสําคญั

แนวคิด : เด็กๆ ทุกคน มีอัตลักษณของตนเอง ซ่ึงการทําใหเด็กเขาใจวา “เราคือใครหรือเราไมใชใคร” เปนเรื่องที่ซับซอนและ
ตอ งสรา งความเขา ใจตง้ั แตร ะดบั ปฐมวยั จนกระทงั่ ตลอดชวี ติ โดยในเดก็ เลก็ ๆ เปน การสง เสรมิ ใหเ ดก็ ไดม คี วามเขา ใจเกย่ี วกบั ลกั ษณะทางกาย ภาษา
ศาสนา การแตง กาย อาหาร เปน ตน โดยมคี วามเชอื่ พนื้ ฐาน คอื ทกุ ครอบครวั สามารถมอบความรกั ความอบอนุ และใหก ารสนบั สนนุ ดา นสขุ ภาพ
และสง เสรมิ พัฒนาการและการเรยี นรขู องเด็กๆ นอกจากนี้ เด็กวัยนีค้ วรจะชน่ื ชมและเลียนแบบบคุ คลทท่ี ําสิง่ ดีๆ ทีอ่ ยรู อบตัวเดก็ เชน ยอดมนุษย
ในจินตนาการ ดารา นักรอง นักกีฬา ซ่ึงในขณะเดียวกัน เร่ืองราวของบุคคลท่ีสําคัญเหลานี้ ควรสรางความตระหนักในการจะเปนคนเกง คนดี
ในชีวติ จริงใหก ับเด็ก ดังนนั้ การกระตุน ใหเ ดก็ อยากเปนคนเกง คนดี ทีส่ ามารถปฏิบัตหิ นา ที่ของตนเองและชวยเหลือผอู ื่นในชวี ิตจรงิ ได จึงเปนสิง่ ที่
มีความจําเปนและตอ งสรางต้งั แตร ะดบั ปฐมวยั เปน ตนไป

คนเกง คนดี ทเ่ี ราชื่นชม เราคือคนสาํ คัญ ตวั ตนของเรา

ยอดมนษุ ยในจนิ ตนาการ ครอบครวั ของเรา ชือ่
วีระบุรษุ วีรสตรี ในประวตั ศิ าสตร รูปรางหนา ตา
คนเกง ในชวี ิตจริง ภาษา ศาสนา วนั เกิด
การแตงกาย อาหาร
ที่มา : เกสรี ลดั เลีย 2552

11

การเปลย่ี นแปลง

แนวคดิ : เมือ่ เกิดการเปลยี่ นแปลงในชวี ิต เชน มีของสูญหาย มีของเสียหาย มีคนทร่ี ักตองพลัดพราก การตาย
ของสัตวเล้ียงแสนรัก การตายจากของคนในครอบครัว ญาติมิตร หรือคนในครอบครัวตองอพยพโยกยาย เด็กยายโรงเรียน
หรือคุณครยู ายโรงเรียน ทําใหเดก็ ๆ เกดิ ทกุ ข ความเศรา จากเหตุการณในชีวิตจรงิ นอกจากน้ี ยังรวมถึงจากบทละครโทรทัศน
หรือเรื่องเลา ซึ่งการจัดการกับความทกุ ข ความเศรา เหลา น้ี เปนเร่ืองทอี่ ยูนอกเหนอื การควบคมุ ผูใหญทอ่ี ยูรอบตวั เดก็ เชน
คณุ ครู หรอื พอ แม แตท งั้ นี้ คณุ ครหู รอื พอ แมส ามารถเตรยี มการรบั มอื สถานการณเ หลา นี้ได โดยคณุ ครหู รอื พอ แมส ามารถเปน
ท่ีพงึ่ ใหเ ด็กๆ สามารถเผชิญหนากับความทุกข ความเศรา ไดอ ยา งเขาใจและอธิบายการเปล่ยี นแปลงทีเ่ กิดข้ึนได

การเปล่ยี นแปลง

การสูญหาย การอพยพโยกยา ย การตายจาก
การสูญหาย การยา ยโรงเรยี น สัตวเล้ยี งแสนรัก
การเสียหาย การยา ยบาน คนในครอบครวั

ท่ีมา : เกสรี ลดั เลยี 2552

12 สังคมหอ งเรยี น
แนวคิด : หองเรียนเปนชุมชุนและเปนโลกยอสวนของเด็กๆ เพ่ือการเรียนรูเกี่ยวกับบทบาทหนาท่ีในการอยูรวมกัน เด็กๆ จะได
เรียนรูเกี่ยวกับมิตรภาพ เน่ืองจากเด็กทุกคนมีความตองการพื้นฐานท่ีจะมีเพื่อนๆ และตองการไดเปนเพ่ือนกับคนท่ีพวกเขาสนใจ เพ่ือน คือ
คนท่ีปฏิบัติตอกันดวยความดีงาม ออนโยน สามารถแลกเปล่ียนของเลน ของใช ความลับ และคํามั่นสัญญา เด็กทุกคนตางก็เรียนรูวิธีการ
ในการรักษาความเปนเพื่อนเอาไวใหยืนนาน นอกจากน้ี ในสังคมหองเรียน เด็กๆ ยังตองเรียนรูเรื่องกฎ กติกา มารยาท ในการอยูรวมกัน
และสังคมหองเรียนยังเปนที่ซึ่งเด็กจะไดเรียนรูในการรวมสรางสังคมแหงความสุขรวมกัน สรางหองเรียนที่อบอุน ปลอดภัย สะดวกสบาย
ตอบสนองดานกายภาพและจิตวิทยา นับเปนสถานที่สําคัญในการเช่ือมโยงโลกท่ีบานและท่ีโรงเรียนไวดวยกัน ในบรรยากาศแหงความอบอุน
เปนสขุ และปลอดภัย

หอ งเรยี นแสนสขุ สังคมหอ งเรยี น เพอ่ื นรักของเรา

ความสะอาด กฎ กติกา มารยาท การแบง ปน
ความสวยงาม การใหอ ภัย
ความอบอนุ ระเบยี บวนิ ัยหองเรยี น การเปน ผูใหแ ละผรู ับ
ความปลอดภัย บทบาทหนา ที่ การชว ยเหลอื เก้อื กลู
การเสริมแรง

ทีม่ า : เกสรี ลดั เลยี 2552

กระบวนการจดั การเรยี นรูโ ดยใชว รรณกรรมเปน ฐาน 13

โครงการ : วจิ ยั เรอื่ งชุดกิจกรรมการเรยี นรู โดยใชว รรณกรรมเปน ฐาน เพ่ือสง เสริมการอยูรวมกันของเด็กเลก็ ในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม สามจังหวดั ชายแดนภาคใต

ระยะใชว รรณกรรม

วรระยรณะกกอรนรใชม กราะรยใชะปวรรระเณมินกผรลรม

การกําหนดหัวเรื่องใน การเลอื กวรรณกรรม การอา นวรรณกรรม การตอบสนองวรรณกรรม การสนับสนุนจากครู การใชว รรณกรรม
การเรียนรูแ ละบรู ณาการ (เลอื กดูวรรณกรรม) (มิแชเชอื นรว มกิจกรรม) และผูป กครอง ที่ยอมรับและเห็นคุณคา
สาระวิชาการตางๆ สู ภาษาและวรรณกรรม
กจิ กรรมการเรียนรู (นําสูวัฒนธรรมหลากหลาย) ของกลมุ วฒั นธรรม
(กาํ หนดหวั เร่ืองเรยี นรู) ตนเองและผอู นื่
กจิ กรรม : กจิ กรรม : กจิ กรรม : กจิ กรรม : กจิ กรรม : (ไดย อมรับและเห็นคณุ คา
- กาํ หนดหวั เรือ่ ง เลอื กวรรณกรรม ปฏบิ ัตติ ามหวั เร่อื ง สนับสนุนการเรียนรู นานาวัฒนธรรม)
- สรา งแผนการเรียนรู (ครูนํวารอรฟางณนคใกรู หร อรฟามง)น (นอั่งาลนงออสิ ารนะเอง) จากครแู ละผปู กครอง กิจกรรม :
- กําหนดกจิ กรรม - สะทอ นความคดิ ตอ

การเรียนรู วรรณกรรม
- นทิ รรศการแสดง

ผลงานจากการเรียนรู

(ครื้นอเาคนรรงวกมบั กเพันื่อน)

ทมี่ า : เกสรี ลัดเลีย 2552

14

รายชอ่ื คณะครู และผวู ิจยั และโรงเรียนทีเ่ ขารว มโครงการ

โครงการ : วจิ ัย เร่ืองชุดกิจกรรมการเรยี นรู โดยใชว รรณกรรมเปน ฐาน เพ่อื สง เสรมิ การอยูร ว มกันของเดก็ เลก็ ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม สามจงั หวดั ชายแดนภาคใต

ที่ ชอ่ื -สกลุ โรงเรียน จงั หวัด
1 นางพรรณี จูฑังคะ โรงเรยี นบานทาสาป ยะลา
2 นางปาริชาติ เพ็ญจันทร โรงเรยี นบานทาสาป ยะลา
3 นางฮาลปี ะห บุหงาราํ ไพ โรงเรยี นบา นทาสาป ยะลา
4 นางรุหะณี หะยสี ะมะแอ โรงเรียนครุ ชุ นพฒั นา ยะลา
5 นางบาซีเราะ เจะหนิ โรงเรียนครุ ชุ นพัฒนา ยะลา
6 นางซอลหี ะ มานิ โรงเรียนครุ ชุ นพฒั นา ยะลา
7 นางซามียะ อบั ดุลลี โรงเรยี นคุรชุ นพฒั นา ยะลา
8 นางธมลวรรณ ไวยากรณ โรงเรียนเทศบาล 1 (บา นสะเตง) ยะลา
9 นางสนทศิ า ทองธรรมชาติ โรงเรยี นเทศบาล 1 (บา นสะเตง) ยะลา
10 นางสาวรอซยี ะ อาแว โรงเรียนเทศบาล 1 (บานสะเตง) ยะลา
11 นางวาสนา พันธเจรญิ โรงเรียนเทศบาล 1 (บานสะเตง) ยะลา
12 นางวภิ าดา รตั นโชติ โรงเรยี นยะหร่ิง ปต ตานี
13 นางนินรุ มา สิตเิ ลาะ โรงเรยี นยะหรง่ิ ปต ตานี
14 นางสาวหน่ึงเสมอ เสนารกั ษ โรงเรียนยะหร่ิง ปต ตานี
15 นางวนั เพ็ญ รัศมี โรงเรียนยะหร่งิ ปตตานี
16 นางอาํ ไพ องอาจ โรงเรยี นเทศบาล 2 (วดั ตานนี รสโมสร) ปต ตานี
17 นางกาสเมา ะ หะยีแวบลู ะ โรงเรยี นเทศบาล 2 (วดั ตานีนรสโมสร) ปตตานี

15

รายชอื่ คณะครู และผูวจิ ัย และโรงเรยี นท่เี ขารว มโครงการ

โครงการ : วิจัย เร่อื งชดุ กิจกรรมการเรยี นรู โดยใชวรรณกรรมเปนฐาน เพื่อสงเสรมิ การอยูร วมกันของเดก็ เล็กในสังคมพหุวัฒนธรรม สามจังหวดั ชายแดนภาคใต

ที่ ช่ือ-สกลุ โรงเรยี น จังหวดั
18 นางสาววิไลภรณ พนมจันทร โรงเรียนเทศบาล 2 (วดั ตานนี รสโมสร) ปตตานี
19 นางซอมารียะห อลั ยุฟรี โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดตานนี รสโมสร) ปตตานี
20 นางศภุ ผล จลุ ละบันตน โรงเรยี นเมอื งปต ตานี ปตตานี
21 นางรอฮานี ปแ นบาโง โรงเรยี นเมืองปตตานี ปตตานี
22 นางสรุ ีย แกว นิตย โรงเรียนเมอื งปต ตานี ปต ตานี
23 นางอารีย ธรรมเจรญิ โรงเรยี นเมืองปต ตานี ปต ตานี
24 นางสาวฮอลยี ะ โสะประจิน โรงเรยี นบานบาละแต ปต ตานี
25 นางสไุ หลา กะเดง็ โรงเรยี นบานบาละแต ปตตานี
26 นางพาตเี มาะ ยสี าและ โรงเรยี นบานบาละแต ปตตานี
27 นางสาลอี ะ หาแว โรงเรียนบานบาละแต ปตตานี
28 นางสาวรสุ มี มูเลง โรงเรียนเจาะบาแน ปตตานี
29 นางยูนยั นะ ปูแต โรงเรยี นเจาะบาแน ปตตานี
30 นางภาวรรณี วาเฮง็ โรงเรียนเจาะบาแน ปตตานี
31 นางสาวมาซีเตาะห โตะแวอายี โรงเรยี นเจาะบาแน ปต ตานี
32 นางนชุ เนตร รตั นนวน โรงเรียนเทศบาล 1 (บา นจะบงั ตีกอ) ปต ตานี
33 นางศิริรตั น ทองหนู โรงเรยี นเทศบาล 1 (บา นจะบังตีกอ) ปต ตานี
34 นางศริญญา วานิ โรงเรยี นเทศบาล 1 (บา นจะบงั ตกี อ) ปตตานี

16

รายชอ่ื คณะครู และผูวจิ ัย และโรงเรยี นทเี่ ขา รว มโครงการ

โครงการ : วจิ ยั เรอ่ื งชดุ กจิ กรรมการเรียนรู โดยใชว รรณกรรมเปนฐาน เพ่อื สง เสริมการอยรู วมกนั ของเด็กเล็กในสังคมพหุวฒั นธรรม สามจังหวัดชายแดนภาคใต

ท่ี ช่ือ-สกลุ โรงเรยี น จังหวดั
35 นางสาวอามเี นาะ จะปะกยี า โรงเรียนเทศบาล 1 (บา นจะบงั ตกี อ) ปต ตานี
36 นางสไุ บดสั มะยาเดง โรงเรียนบานจะแนะ นราธวิ าส
37 นางสาวมาซีลา บินหะยสี ะมะแอ โรงเรยี นบานจะแนะ นราธิวาส
38 นางคอลเี ยาะ เลาะแม โรงเรียนบานจะแนะ นราธวิ าส
39 นางสาวอสั นี อาแว โรงเรียนบา นจะแนะ นราธวิ าส
40 นางดารียาณี ปแนบาโง โรงเรยี นบกู ิต๊ ยือแร นราธิวาส
41 นางสาวมาซีเตา ะ มะลาตอ โรงเรยี นบูกติ๊ ยือแร นราธวิ าส
42 นางสาวซาลวานี เจะ โดสามะ โรงเรียนบูกิต๊ ยือแร นราธิวาส
43 นางซไู ฮลา เร็งมา โรงเรียนบกู ิ๊ตยือแร นราธวิ าส
44 นางอาแอเสาะ อมู า โรงเรียนบา นบาโงปูโละ นราธิวาส
45 นางเจะรอเมาะ ดอมะ โรงเรยี นบานบาโงปูโละ นราธวิ าส
46 นางสาวสุวรรณี มะเซง็ โรงเรยี นบา นบาโงปูโละ นราธิวาส
47 นางนูรีซนั โตะเจะ โรงเรยี นบานบาโงปโู ละ นราธวิ าส
48 นางสาวนริ ุสมีนี โตะเจะ โรงเรยี นบา นปาหนัน นราธวิ าส
49 นางสาวรอสีดาห ดาโอะ โรงเรยี นบานปาหนัน นราธวิ าส
50 นางคอลีเยาะ นอรอเอ โรงเรยี นบานปาหนนั นราธิวาส
51 นางรอซียะ เปาะซา โรงเรยี นบานปาหนัน นราธิวาส


Click to View FlipBook Version