The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ 0644361952

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pichai14261, 2019-11-27 21:26:16

คู่มือการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ 0644361952

คู่มือการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ 0644361952

ค่มู อื การประกอบเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

นายพชิ ยั วงั ทองชกุ

คำนำ

งานช้ินนี้จัดทาขนึ้ เพื่อเป็นสว่ นหนึง่ ของวชิ าคอมพวิ เตอร์และการบารงุ รกั ษา ช้ัน ปวช.2
เพื่อให้ไดศ้ กึ ษาความรใู้ นเรื่องการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ และได้ศึกษาอยา่ งเข้าใจเพ่อื
เปน็ ประโยชน์กบั การเรยี น

ผู้จัดทาหวังว่างานชิ้นน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียนท่ีกาลังหาข้อมูลเรื่องน้ีอยู่
หากมีข้อแนะนาหรอื ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผ้จู ดั ทาขอน้อมรบั ไว้และขออภยั มา ณ ท่ีน้ีด้วย

ผจู้ ดั ทา
21 พฤศจิกายน 2562

สำรบญั หนำ้

เรอ่ื ง 2
6
เครื่องมือที่ใช้ในการประกอบเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 18
อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการประกอบคอมพวิ เตอร์ 27
ข้นั ตอนการประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ 28
บรรณานกุ รม
ประวตั สิ ่วนตวั

2

1.เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นกำรประกอบเครอื่ งคอมพิวเตอร์

1.1ไขควงปำกแฉก

ไขควงปากแฉก (Phillips type Screwdriver) ไขควงประเภทนจี้ ะใช้กับหวั สกรูทีเ่ ปน็ รอ่ ง
จบี ส่ีเหล่ียม การใช้ไขควงประเภทนีจ้ ะมลี ักษณะการใช้เหมือนกับไขควงปากแบน และที่
สาคญั กค็ อื จะต้องใหป้ ลายของไขควงเหมาะสมกับหวั ของสกรมู ากทสี่ ุด

3

1.2ไขควงปำกแบน

เป็นไขควงท่มี ีลกั ษณะปากของแบนลาดเอียงไปยงั ส่วนปลาย กา้ นของไขควงทาด้วยเหล็ก
และอบคืนตัว สว่ นปลายจองไขควงใช้ไขสกรหู รือคลายสกรผู ่าตรง โดยดา้ นขนานของปลาย
ไขควงต้องสวมพอดีกับรอ่ งของหัวสกรู

4

1.3ไขควงบล๊อคหกเหลี่ยม

มีลกั ษณะเหมอื นไขควงแบน ต่างกนั ตรงปลายไขควงจะเป็นหวั เหล่ยี มใช้สาหรบั นอตหวั
เหลีย่ ม

5

1.4 คีมปำกยำว

-ปากคมี มีลักษณะเรยี วแหลม และ มขี นาดเล็ก

-เหมาะกบั การใชง้ านในทแี คบ และ งานไฟฟา้
-ปกติคีมจะชุบแข็ง ไม่ควรจับช้ินงานท่ีร้อน นอกจากคีมงานเช่ือม ไม่ควรใช้แทนประแจ
อย่าใช้คีมตัดลวดเหล็กสปริง ห้ามใช้ขันขั้วไฟแรงสูง ห้ามใช้ค้อนช่วยตีถ้าต้องการตัดลวด
หลงั ใชง้ านเช็ดทาความสะอาด หยอดน้ามนั จุดข้อต่อ

6
2.อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นกำรประกอบคอมพวิ เตอร์

2.1 จอภำพ (Monitor)
เป็นอุปกรณ์แสดงผลท่ีมีความสาคัญมากท่ีสุด เพราะจะติดต่อโดยตรงกับผู้ใช้ ชนิดของ

จอภาพทีใ่ ชใ้ นเคร่ืองพีซีโดยทว่ั ไปจะแบ่งได้เปน็ 2 ชนดิ
- จอซีอาร์ที (CRT : Cathode Ray Tube) โดยมากจะพบในคอมพิวเตอร์ต้ังโตะ๊ ซ่ึง

ลักษณะ จอภาพชนดิ นีจ้ ะคล้ายโทรทศั น์ ซงึ่ จะใช้หลอดสุญญากาศ
การทางานของจอประเภทนี้จะทางานโดย อาศัยหลอดภาพ ที่สร้างภาพโดยการยิงลาแสง
อิเล็กตรอนไปยังท่ีผิวหน้าจอ ที่มีสารพวกสารประกอบของฟอสฟอรัส ฉาบอยู่ท่ีผิว ซ่ึงจะ
เกิดภาพข้ึนมาเมื่อสารเหลา่ น้ีเกิดการเรืองแสงขน้ึ มา เมื่อมีอเิ ล็กตรอนมากระทบ ซ่ึงในส่วย

ของจอแบบ Shadow Mask นั้น จะมีการนาโลหะท่ีมีรูเล็กๆ มาใช้ในการกาหนดให้แสง
อิเล็กตรอนน้ันยิงมาได้ถูกต้อง และแม่นยา ซ่ึงระยะห่างระหว่างรูน้ีเราเรียกกันว่า Dot
Pitch ซง่ึ ในรูน้ีจะมีสารประกอบของฟอสฟอรัสวางเรยี งกันอย่เู ปน็ 3 จุด 3 มมุ โดยแต่ละจุด
จะเป็นสขี องแม่สนี ้ันกค็ อื สีแดง สเี ขียว และสนี า้ เงนิ ซึ่งแต่ละจุดน้ีเราเรียกว่า Triad ในส่วน
ของจอแบบ Trinitron นนั้ จะมีการทางานที่เหมือนกนั แตต่ ่างกนั ที่ ไม่ไดใ้ ช้โลหะเป็นรแู ตจ่ ะ
ใช้ โลหะท่ีเป็นเส้นเล็กๆ ขึงพาดไปตาม แนวตงั้ เพื่อที่จะให้อเิ ล็กตรอนนัน้ ตกกระทบกบั ผิว

จอทมี่ ีสารประกอบของฟอสฟอรัสได้มากขึ้น สาหรบั จอ Trinitron
ในปัจจุบันนี่ได้มีการพัฒนาให้มีความแบนราบมากขึ้นซ่ึงจอแบบนี้จะเรียกกันว่า FD

Trinitron (Flat Display Trinitron) ซึ่งมีมากมายในปัจจุบันและจะเข้ามาแทนท่ีจะ
แบบเดิมๆ อกี ท้งั ราคายงั ถกู ลงเปน็ อย่างมากดว้ ย

7

- จอแอลซีดี (LCD : Liquid Crystal Display) ซ่งึ มี ลกั ษณะแบนราบ จะมี ขนาดเล็กและ
บาง
เมอื่ เปรียบเทียบกับจอภาพแบบซีแอลที
การทางานนั้นจะไม่เหมือนกบั จอแบบ CRT แม้สกั นดิ เดยี ว ซึ่งการแสดงภาพนั้นจะซับซ้อน
กว่ามาก การทางานน้ันอาศัยหลักของการใชค้ วามรอ้ นทไ่ี ด้จากขดลวด มาทาการเปลยี่ น
และ บงั คบั ให้ผลึกเหลวแสดงสีตา่ งๆ ออกมาตามทต่ี อ้ งการซงึ่ การแสดงสีนนั้ จะเป็นไปตามที่
กาหนด ไวต้ ามมาตรฐานของแต่ละ บรษิ ทั จึงทาให้จอแบบ LCD มีขนาดท่ีบางกว่าจอ CRT
อย่มู าก อกี ทั้งยังกนิ ไฟน้อยกวา่ จึงทาให้ผู้ผลติ นาไปใช้งานกับ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์แบบ
เคล่อื นทโ่ี นต้ บกุ๊ และเดสโนต้ ซึง่ ทาใหเ้ คร่ืองมขี นาดทีบ่ างและเล็กสามารถพกพาไปได้
สะดวก ในส่วนของการใชง้ านกับเครอื่ งเดสกท์ ็อปท่วั ไป กม็ ซี ง่ึ จอแบบ LCD น้ีจะมรี าคาท่ี
แพงกว่าจอทว่ั ไปอยู่ประมาณ 2 เท่าของ ราคาในปัจจุบนั

8

2.2 เคส (Case)
เคส คอื โครงหรือกล่องสาหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพวิ เตอรไ์ ว้ภายใน การ
เรยี กชือ่ และขนาด ของเคสจะแตกต่างกนั ออกไป ซงึ่ ในปัจจุบันมีหลายแบบที่นิยมกัน
แลว้ แต่ผซู้ ื้อจะเลอื กซอ้ื ตามความเหมาะสม ของงาน และสถานท่นี ั้น

เคส (case)

2.3. พำวเวอร์ซพั พลำย (Power Supply)
เป็นอปุ กรณท์ ่ีทาหนา้ ท่ใี นการจ่ายกระแสไฟฟ้าใหก้ บั ชน้ิ สว่ นอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ ซึ่งถา้
คอมพวิ เตอร์มีอุปกรณ์ตอ่ พวงเยอะๆ เชน่ ฮาร์ดดสิ ก์ ซดี ีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์กค็ วรเลอื ก
พาวเวอรซ์ ัพพลายทมี่ ีจานวนวัตต์สงู เพือ่ ให้สามารถ จ่ายกระแสไฟไดเ้ พียงพอ

Power Supply

9

2.4. คียบ์ อร์ด (Keyboard)
เปน็ อปุ กรณ์ในการรับขอ้ มลู ท่สี าคัญทส่ี ุด มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ ของเครอ่ื งพมิ พ์ดดี มี
จานวนแปน้ 84 - 105 แป้น ขึ้นอย่กู ับแป้นที่เปน็ กลุ่มตวั เลข (Numeric keypad) กลุ่ม
ฟงั กช์ นั (Function keys) กล่มุ แปน้ พิเศษ (Special-purpose keys) กลมุ่ แป้นตวั อักษร

(Typewriter keys) หรอื กลุ่มแปน้ ควบคุมอนื่ ๆ (Control keys) ซง่ึ การสั่งงาน

คอมพิวเตอรแ์ ละการทางานหลายๆ อยา่ งจาเป็นต้องใช้แป้นพมิ พ์เปน็ หลกั

Keyboard

2.5 เมำส์ (Mouse)
อุปกรณร์ ับข้อมลู ท่ีนยิ มรองจากคยี ์บอร์ด เมาส์จะช่วยในการบ่งช้ตี าแหนง่ วา่ ขณะน้ีกาลังอยู่
ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกวา่ "ตัวชี้ตาแหน่ง (Pointer)" ซ่งึ อาศยั การเลอื่ นเมาส์ แทนการกด
ปมุ่ บังคบั ทิศทางบนคียบ์ อรด์

Mouse

10

2.6 เมนบอร์ด (Main board)
แผน่ วงจรไฟฟา้ แผ่นใหญ่ท่ีรวมเอาช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกสท์ ีส่ าคญั ๆมาไว้ด้วยกัน ซง่ึ เป็นสว่ นท่คี วบคมุ
การทางานของ อุปกรณต์ ่างๆ ภายในพชี ที ั้งหมด มีลักษณะเป็นแผน่ รูปร่างส่เี หลยี่ มแผ่นทีใ่ หญ่ทสี่ ุดใน
พชี ี ทจี่ ะรวบรวมเอาชิปและไอชี (IC = Integrated Circuit) รวมทั้ง การด์ ตอ่ พว่ งอน่ื ๆ เอาไว้ดว้ ยกนั
บนบอรด์ เพียงอันเดยี วเคร่ืองพชี ีทุกเคร่อื งไมส่ ามารถทางาน ไดถ้ ้าขาดเมนบอร์ด

Mainboard
2.7ซพี ียู (CPU)
ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหน่ึงว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip)
นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากท่ีสุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลจากข้อมูลที่
ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วย
ประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คอื

1) หนว่ ยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทาหน้าที่
เหมือนกับเคร่ืองคานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์
เช่น บวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคานวณธรรมดาไม่มี คือ
ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเง่ือนไขและ
กฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คาตอบออกมาวา่ เง่อื นไข นน้ั เป็น จริง หรือ เทจ็ ได้

11

2) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทาหน้าท่ีควบคุมลาดับข้ันตอนการ
ประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และ
หน่วยความจาสารองด้วย ซพี ียูท่ีมจี าหน่ายในทอ้ งตลาด ได้แก่ Pentium III , Pentium 4 ,
Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon

CPU

2.8กำร์ดแสดงผล (Display Card)
การ์ดแสดงผลใช้สาหรับเก็บข้อมูลที่ได้รับมาจากซีพียู โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถ
ประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซ่ึงจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทาให้การ
ทางานของคอมพิวเตอร์น้ันเร็วข้ึนด้วย ซึ่งตวั การ์ดแสดงผลน้นั จะมีหน่วยความจาในตัวของ
มันเอง ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากข้ึน ซ่ึงจะช่วยให้การ
แสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขนึ้ ดว้ ย

12

หลักกันทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเร่ิมต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมา
ประมวลผลท่ี ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลท่ีจะนามาแสดงผลบน
จอภาพมาท่ีการด์ แสดงผล จากน้ัน การ์ดแสดงผล ก็จะส่งขอ้ มูลน้ีมาที่จอภาพ ตามขอ้ มูลที่
ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ท่ีออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็วการ
แสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามาให้มากพอสมควร
2.9แรม (RAM)
RAM ยอ่ มาจากคาว่า Random-Access Memory เปน็ หน่วยความจาหลกั แต่ไม่ถาวร ซ่ึง
จะต้องมไี ฟมาหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดในการทางาน โดยถ้าเกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ
ขอ้ มลู ทถ่ี กู บนั ทึกไว้ในหนว่ ยความจาจะหายไปทันที

SDRAM

DDR-RAM

RDRAM

13

2.10 ฮำรด์ ดสิ ก์ (Hard disk)
เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเก็บข้อมลู หรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ โดยฮาร์ดดิสค์จะมี
ลักษณะเป็นรูปส่ีเหลี่ยมท่ีมีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง และมีแผงวงจรสาหรับการควบคุม
การทางานประกบอยู่ที่ด้านล่าง พร้อมกับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง
ส่วนประกอบภายในจะถูกปิดผนึกไว้อย่างมิดชิด โดยฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วย
แผ่นจานแม่เหล็ก(platters) สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกนเดียวกันเรียก
Spindle ทาให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลอ่ื นของมอเตอร์ แต่ละหน้า
ของแผ่นจานจะมีหวั อา่ นเขยี นประจาเฉพาะ โดยหัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชอื่ มติดกนั คล้ายหวี
สามารถเคล่ือนเข้าออกระหวา่ งแทร็กต่าง ๆ อยา่ งรวดเร็ว ซ่ึงอินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสกท์ ใี่ ช้
ในปจั จบุ นั มีอยู่ 3 ชนิดด้วยกนั

- IDE (Integrated Drive Electronics)
เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันน้ี การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์
แบบ IDE จะตอ่ ผ่านสายแพรและคอนเนค็ เตอร์จานวน 40 ขาท่ีมีอยู่บนเมนบอรด์ ส่วนใหญ่
แล้วใน 1 คอนเนค็ เตอร์ จะสามารถต่อฮาร์ดดสิ กไ์ ด้ 2 ตัวและบนเมนบอร์ด

Harddisk แบบ IDE

14

IDE Cable

- SCSI (Small Computer System Interface)
เป็นอินเตอรเ์ ฟสท่ีแตกต่างจากอนิ เตอร์เฟสแบบอ่ืน ๆ มาก โดยจะอาศัย Controller Card
ที่มี Processor อยู่ในตัวเองทาให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่โดยจะสนับสนุนการ
ต่ออุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว แต่การ์ดบางรุ่นอาจจะได้ถึง 14 ตัวทีเดียว โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้
งานในรปู แบบ Server เพราะมีราคาแพงแต่มีความเรว็ ในการสง่ ข้อมูลสงู

Harddisk แบบ SCSI

SCSI controller

15

- Serial ATA (Advanced Technology Attachment)
เป็นอินเตอรเ์ ฟสแบบใหม่ เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มถิ ุนายน 2545 งาน PC Expo ใน
New York มคี วามเรว็ ในเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ถึง 150 Mbytes ต่อ วนิ าที และให้ผลตอบสนองใน
การทางานได้เร็วมากในส่วนของ extreme application เชน่ Game Home Video และ
Home Network Hub โดยเป็นอินเตอร์เฟสท่ีจะมาแทนทีข่ อง IDE ในปัจจบุ ัน

Harddisk แบบ Serial ATA

Serial ATA Cable

16

2.11 CD-ROM / CD-RW / DVD / DVD-RW
เปน็ ไดรฟส์ าหรบั อ่านขอ้ มลู จากแผน่ ซีดรี อม หรือดวี ีดรี อม ซงึ่ ถ้าหากตอ้ งการบนั ทกึ ขอ้ มูล
ลงบนแผ่นจะต้องใชไ้ ดรฟ์ทส่ี ามารถเขียนแผ่นได้คือ CD-RW หรอื DVD-RW โดยความเรว็
ของ ซีดรี อมจะเรยี กเป็น X เช่น 16X , 32X หรือ 52X โดยจะมี Interface เดยี วกับ
Harddisk

CD-ROM

การทางานของ CD-ROM ภายในซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็ก
เตอร์ในซีดีรอมจะมีขนาดเทา่ กนั ทุกเซ็กเตอร์ ทาใหส้ ามารถเก็บข้อมูลได้มากขึน้ เมอ่ื ไดรฟ์ซีดีรอมเริ่ม
ทางานมอเตอร์จะเร่ิมหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพ่ือให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอม
คงท่ีสม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไมว่ ่าจะเปน็ เซ็กเตอร์ ทีอ่ ยู่รอบนอกหรือวงในกต็ าม จากนัน้ แสงเลเซอรจ์ ะ
ฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ท่ีเคล่ือนตาแหน่งได้ โดยการทางานของขดลวด
ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปท่ีซดี ีรอมแล้วถูกสะทอ้ นกลับ ที่ผิวหน้าของซีดีรอมจะเป็น หลุมเป็นบ่อ
สว่ นท่เี ปน็ หลุมลงไปเรียก "แลนด์" สาหรับบรเิ วณที่ไม่มกี ารเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิวสองรูปแบบน้ี
เราใช้แทนการเกบ็ ข้อมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเม่ือถกู พิตจะกระจายไปไม่สะท้อนกลับ แต่เมื่อ
แสงถูกเลนส์จะสะท้อนกลับผ่านแท่งปริซึม จากน้ันหักเหผ่านแท่งปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกที
ทุกๆช่วงของลาแสงท่ีกระทบตัวตรวจจับแสงจะกาเนิดแรงดันไฟฟ้า หรือเกิด 1 และ 0 ท่ีทาให้
คอมพวิ เตอร์สามารถเข้าใจได้ ส่วนการบนั ทกึ ข้อมูลลงแผน่ ซีดีรอมน้ันต้องใชแ้ สงเลเซอรเ์ ชน่ กัน โดยมี
ลาแสงเลเซอร์จากหัวบันทึกของเคร่ือง บันทึกข้อมูลส่องไปกระทบพื้นผิวหน้าของแผ่น ถ้าส่องไป
กระทบบริเวณใดจะทาให้บริเวณนัน้ เป็นหลมุ ขนาดเล็ก บรเิ วณทีไม่ถกู บันทึกจะมีลักษณะเปน็ พืน้ เรียบ
สลับกันไปเร่ือยๆตลอดท้งั แผ่น

17
2.12ฟล็อปปดี้ ิสก์ (Floppy Disk)
เป็นอุปกรณ์ท่ีกาเนิดมาก่อนยุคของพีซีเสียอีก โดยเร่ิมจากที่มีขนาด 8 น้ิว กลายมาเป็น
5.25 น้ิว จนมาถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ที่ 3.5 น้ิว ในส่วนของความจุเร่ิมต้นต้ังแต่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์
มาเปน็ 1.44 เมกะไบต์ และ 2.88 เมกะไบต์ ตามลาดบั

Floppy Disk Drive

18

3.ขน้ั ตอนกำรประกอบเครือ่ งคอมพวิ เตอร์

1. ขัน้ แรกใหเ้ ตรียมอปุ กรณ์ท่ีจาเปน็ สาหรับการประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ เช่น ไขควงส่ี
แฉก กลอ่ งสาหรับใส่นอ็ ต คู่มอื เมนบอรด์ คีมปากจิง้ จก

2. เร่ิมจากการติดตั้งซีพียูก่อน โดยง้างขาล็อคของซ็อกเก็ตขึ้นมาจากน้ันนาซีพียูมาใส่ลงไป
ในซ็อกเก็ตโดยใหว้ างตาแหน่งขาท่ี 1 ของซีพยี แู ละซอ็ กเกต็ ให้ตรงกัน โดยสังเกตว่าที่ขาท่ี 1
ของซพี ยี ูจะทาเครอ่ื งหมายเปน็ จุดเลก็ ไวท้ มี่ มุ ด้านบนของซพี ียู

19

3. เม่ือวางซีพียูตรงล็อคกับซ็อกเก็ตแล้ว จากนั้นให้กดขาล็อกลงไปเหมือนเดิม แล้วนา
ซลิ ิโคนมาทาตรงบรเิ วณคอร์ (แกน) ของซีพียู และไม่ควรทาซิลิโคนให้หนา หากเหน็ วา่ หนา
เกินไปให้ใช้กระดาษหรอื แผ่นพลาสตกิ มาปาดออกเสยี บา้ ง

4. ติดตั้งฮีทซงิ ค์และพัดลมลงไปบนคอร์ของซีพียู ติดล็อกใหเ้ รียบร้อยในขั้นตอนน้มี จี ุดท่ีตอ้ ง
ระวังอยู่ 2 จุดคือ การติดต้ังฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบสนิทกับคอร์ของซีพียู อย่า
พยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของซีพียูอาจบ่ินได้ ส่วนขาสปริงท่ียึดพัดลมบางทีมันแข็ง
เกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริงให้เข้าลอ็ ก ซ่ึงอาจทาให้พลาดไปขูดเอาลายป
ร้นิ บนเมนบอรด์ ขาดทาให้เมนบอรด์ อาจเสียหายได้

20

5. เสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขั้ว CPU FAN โดยดูจากคูม่ ือเมนบอรด์

6. นาแรมมาเสียบเข้ากับซอ็ กเก็ตแรมโดยให้ตรงกับร่องของซ็อกเกต็ จากนั้นจึงกดลงไปจน
ดา้ นลอ็ กทั้ง 2 ดา้ นดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้านอาจไม่จาเป็นต้องดีดขึน้ มาก็
ได้ใหด้ วู า่ เขา้ ล็อกกนั ก็พอ)

21

7. ขันแทน่ รองนอ็ ตเขา้ กับเคส

8. นาเมนบอรด์ ทไี่ ดต้ ดิ ตั้งซีพยี แู ละแรมวางลงไปบนเคส จากน้ันขนั น็อตยดึ เมนบอร์ดเข้ากับ
ตวั เคสให้ครบทุกตัว

9. เสียบการด์ แสดงผลลงไปในสลอ็ ต AGP เสรจ็ แล้วขนั นอ็ ตยึดติดกับเคส

22

10. เสียบการด์ เสยี งลงไปในสลอ็ ต PCI เสรจ็ แล้วขนั นอ็ ตยึดติดกบั เคส

11. เสียบสายเพาเวอร์ซัพพลายเข้ากับข้ัวต่อบนเมนบอร์ด โดยควรเสียบให้ปล๊ักของสาย
เพาเวอรซ์ ัพพลายตรงล็อกกบั ขวั้ ตอ่ บนเมนบอร์ด

12. สอดไดรฟซ์ ีดรี อมเข้ากบั ช่องว่างหน้าเคส แล้วขนั นอ็ ตยึดกบั ตัวเคสให้แน่น

23
13. เสียบสาย IDE เข้ากับไดรฟ์ซีดีรอมโดยให้แถบสีแดงตรงกับขาท่ี 1หรือด้านท่ีติดกับข้ัว
สายไฟ จากน้ันจงึ เสยี บสายไฟและสายสัญญาณเสียงเขา้ ไปดว้ ย

14. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Secondary IDE บนเมนบอร์ดโดยแถบสีแดงตรง
กบั ขาท่ี 1 ของข้ัวตอ่ ด้วย

15. สอดฮารด์ ดสิ กเ์ ขา้ กบั ช่องติดตั้ง แลว้ ขันน็อตยึดกบั ตวั เคสใหแ้ น่น

24
16. เสียบสาย IDE เข้ากับฮาร์ดดิสก์โดยให้แถบสแี ดงตรงกบั ขาท่ี 1 หรือดา้ นท่ีตดิ กบั ข้ัว
สายไฟ จากนน้ั จงึ เสียบสายไฟเขา้ ไปด้วย

17. เสยี บสาย IDE อีกดา้ นเข้ากบั ขั้วต่อ Primary IDE บนเมนบอรด์ โดยแถบสแี ดงตรงกับ
ขาท่ี 1 ของขัว้ ตอ่ ด้วย

18. สอดไดรฟ์ฟลอ็ บปีด้ สิ ก์เข้าไปในช่องตดิ ต้งั แลว้ ขนั น็อตยดึ กบั ตวั เคสใหแ้ น่น
19. เสียบสายไฟเข้ากับขั้วต่อสายไฟของฟล็อบปีด้ ิสก์ ให้สังเกตสายไฟของฟล็อบปี้ดสิ ก์จะมี
หัวขนาดเล็กกวา่ สายไฟของซดี รี อมและฮารด์ ดิสก์

25

20. เสยี บสายแพขนาด 34 เสน้ (เสน้ เลก็ กว่าสายแพของฮาร์ดดิสก์และซีดีรอม) ให้ด้านที่มี
การไขว้สายเขา้ กบั ขวั้ ต่อไดรฟ์ฟลอ็ บปีด้ สิ ก์ โดยแถบสีแดงของสายแพตอ้ งตรงกบั ขาที่ 1
ของขว้ั ตอ่ ด้วย หากใส่ผดิ ดา้ นไฟของไดรฟฟ์ ล็อบป้ีดิสกจ์ ะติดตลอด วิธีแก้ไขคอื ให้หันสาย
แพกลับดา้ นเพราะไดรฟ์ฟลอ็ บป้ดี สิ กบ์ างยี่ห้ออาจต้องใส่สลบั ด้านกนั

21. เสียบสายแพอีกด้านเขา้ กับขวั้ ตอ่ ฟล็อบปี้ดิสก์บนเมนบอร์ด โดยให้สายสแี ดงตรงกับขา
ที่ 1 หรือ pin1 ของข้ัวตอ่ ดว้ ย

26
22. เสยี บสายสญั ญาณตา่ งๆ จากเคส เช่น สวิตช์เปดิ ปิดเคร่ือง ไฟบอกสถานะเปิดเคร่อื ง ไฟ
บอกสถานะฮาร์ดดิสก ปมุ่ Reset ลาโพง ลงบนเมนบอร์ดควรดูคมู่ อื เมนบอรด์ ประกอบดว้ ย
โดยต้องเสียบข้ัวให้ถูกหากผิดขั้ว คอมพิวเตอร์จะไม่ติดหรอื มีไฟค้างตลอดเวลา วิธีแก้ไขคือ
ใหเ้ ราลองสลับข้วั และเปิดเครอ่ื งขนึ้ มาใหม่

23. เม่ือเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เราลองสารวจดูว่ามีน็อตหรืออุปกรณ์อื่นๆตกค้างอยู่บน
เมนบอร์ดหรือไม่ เพราะอาจทาให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกดิ ความเสยี หายต่อเมนบอร์ด
และอุปกรณ์ตา่ งๆ บนเมนบอร์ดได้ นอกจากน้ีควรตรวจสอบการตดิ ต้ังทัง้ หมดวา่ เรียบรอ้ ยดี
แล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบแน่นหนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัด
ลมต้องแนบสนทิ กบั ซีพียู พรอ้ มทง้ั ลอ็ กติดกนั อยา่ งแนน่ หนา

24. เมอื่ เรียบร้อยดีแล้วปิดฝาเคสและขันนอ็ ตให้เรียบร้อย กเ็ ป็นอันเสร็จสิน้ ข้นั ตอนการ
ประกอบเคร่ืองอยา่ งถูกต้องและสมบูรณ์แบบแล้ว

27
บรรณำนกุ รม
https://sites.google.com/site/jakub6774/kar-prakxb-khxmphiwtexr-
beuxng-tn
https://sites.google.com/site/gengwissaroot/xupkrn-sakhay-thi-chi-ni-

kar-prakxb-khxmphiwtexr
https://sites.google.com/site/wanvisatan7/home/khan-txn-kar-prakxb-
khxmphiwtexr

28

ประวัติผจู้ ัดทำ

นาย พชิ ยั วังทองชกุ เลขท่ี 11 ชอื่ เลน่ โอม
สาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ ระดับชน้ั ปวช.2
จบการศกึ ษามาจาก โรงเรียน อุดมวิทยากร
ทอ่ี ยู่ หม่1ู บา้ นเลขท่ี 548 ถนน บางสมบรณู ์

ตาบล ปากนา้ อาเภอ หลงั สวน จังหวดั ชมุ พร 86150


Click to View FlipBook Version