The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanaphat Yamsang, 2022-09-11 23:20:30

ดโนเสาร์

ดโนเสาร์

ไดโนเสาร์

ไดโนเสาร์ (องั กฤษ: dinosaur) เป็นชื่อเรียกโดยรวม
ของสตั ว์ดกึ ดาบรรพ์ในอนั ดบั ใหญ่ Dinosauria ซง่ึ เคย
ครองระบบนเิ วศบนพืน้ พภิ พ ในมหายคุ มีโซโซอิก เป็น
เวลานานถงึ 165 ล้านปี กอ่ นจะสญู พนั ธ์ุ ไปเมอ่ื 65
ล้านปี ท่ีแล้ว

คนส่วนใหญ่เขา้ ใจวา่ ไดโนเสาร์เป็น
สตั วเ์ ล้ือยคลาน แต่อนั ที่จริงไดโนเสาร์เป็นสตั ว์
ในอนั ดบั หน่ึงที่มีลกั ษณะกา้ ก่ึงระหวา่ ง
สตั วเ์ ล้ือยคลานและนก
คาวา่ ไดโนเสาร์ ในภาษาองั กฤษ
dinosaur ถกู ต้งั ข้ึนโดย เซอร์ ริชาร์ด โอ
เวน นกั บรรพชีวนิ วทิ ยา ชาวองั กฤษ ซ่ึงเป็นการ
ผสมของคาในภาษากรีกสองคา คือคา

วา่ deinos (δεινός) (ใหญ่จนน่า
สะพรึงกลวั ) และคาวา่ sauros
(ζαύρα) (สตั วเ์ ล้ือยคลาน)
หลายคนเขา้ ใจผดิ วา่ ไดโนเสาร์ คือสตั วท์ ่ีอาศยั
อยใู่ นมหายคุ มีโซโซอิกท้งั หมด แต่จริง ๆ แลว้
ไดโนเสาร์ คือสตั วช์ นิดหน่ึงท่ีอาศยั อยบู่ น
พ้ืนดินเท่าน้นั สตั วบ์ กบางชนิดท่ีคลา้ ย
ไดโนเสาร์ สตั วน์ า้ และสัตวป์ ี กที่มีลกั ษณะคลา้ ย
ไดโนเสาร์ ไม่ถือวา่ เป็นไดโนเสาร์ เป็นเพยี ง
สตั วช์ นิดท่ีอาศยั อยใู่ นยคุ เดียวกบั ไดโนเสาร์
เท่าน้นั

แม้วา่ ไดโนเสาร์จะสญู พนั ธ์ุไปนานหลายล้านปี
แล้ว แตค่ าวา่ ไดโนเสาร์ก็ยงั เป็นทร่ี ู้จกั กนั อยา่ ง
แพร่หลาย ทงั้ นีอ้ าจเป็นเพราะไดโนเสาร

ประวตั ิการคน้ พบ
มนุษยค์ น้ พบซากดึกดาบรรพไ์ ดโนเสาร์มาเป็น
เวลานบั พนั ปี แลว้ แต่ยงั ไม่มีผใู้ ดเขา้ ใจอยา่ งถ่อง
แทว้ า่ เศษซากเหล่าน้ีเป็นของสตั วช์ นิดใด และ
พากนั คาดเดาไปต่าง ๆ นานา ชาวจีนมีความคิด
วา่ นี่คือกระดูกของมงั กรขณะที่ชาวยโุ รปเชื่อวา่
น่ีเป็นสิ่งหลงเหลือของสตั วท์ ่ีสูญพนั ธุ์ไปเมื่อ
คร้ังเกิดนา้ ท่วมโลกคร้ังใหญ่ จนกระทง่ั เมื่อมี
การคน้ พบซากดึกดาบรรพใ์ นปี ค.ศ. 1822
โดย กิเดียน แมนเทล นกั ธรณีวทิ ยาชาวองั กฤษ
ไดโนเสาร์ชนิดแรกของโลกจึงไดถ้ ูกต้งั ช่ือข้ึน
วา่ อิกัวโนดอน เน่ืองจากซากดึกดาบรรพน์ ้ีมี
ลกั ษณะ

ละมา้ ยคลา้ ยคลึงกบั โครงกระดูกของตวั อิกวั นา
ในปัจจุบนั
สองปี ตอ่ มา วลิ เลยี ม บกั แลนด์ (William

Buckland)

ศาสตราจารย์ด้านธรณีวิทยา ประจา
มหาวิทยาลยั ออกซฟอร์ด ก็ได้เป็นคนแรกท่ี
ตีพิมพ์ข้อเขยี นอธิบายเกี่ยวกบั ไดโนเสาร์ใน
วารสารทางวิทยาศาสตร์ โดยเป็นไดโนเสาร์
ชนิด เมกะโลซอรสั บกั แลนดี

(Megalosaurus bucklandii)
และการศกึ ษาซากดกึ ดาบรรรพ์ของสตั ว์พวก
กิง้ ก่า ขนาดใหญ่นีก้ ็ได้รับความนิยมเพ่มิ ขนึ ้
เรื่อย ๆ จากนกั วิทยาศาสตร์ทงั้ ในยโุ รปและ
อเมริกา

จากนนั้ ในปี ค.ศ. 1842 เซอร์ ริชาร์ด โอเวน
เห็นวา่ ซากดกึ ดาบรรพ์ขนาดใหญ่ที่ถกู ค้นพบมี
ลกั ษณะหลายอยา่ งร่วมกนั จงึ ได้บญั ญตั คิ าวา่
ไดโนเสาร์[7] เพื่อจดั ให้สตั ว์เหลา่ นีอ้ ยใู่ นกลมุ่
อนกุ รมวิธานเดยี วกนั นอกจากนี ้ เซอร์ริชาร์ด
โอเวน ยงั ได้จดั ตงั้ พิพิธภณั ฑ์ประวตั ิศาสตร์
ธรรมชาติ ขนึ ้ ทเี่ ซาท์เคนซงิ ตนั กรุงลอนดอน
เพอ่ื แสดงซากดกึ ดาบรรพ์ไดโนเสาร์ รวมทงั้
หลกั ฐานทาง

ธรณีวิทยาและชีววทิ ยาอ่ืน ๆ ที่ถูกคน้ พบ โดย
ไดร้ ับการสนบั สนุนจากเจา้ ชายอลั เบิร์ตแห่ง
แซกซ์-โคเบิร์ก-โกทา (Prince Albert
of Saxe-Coburg-Gotha) พระ

สวามีของสมเดจ็ พระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย
แห่งสหราชอาณาจกั ร
จากนนั้ มา ก็ได้มีการค้นหาซากดกึ ดาบนั

ไดโนเสาร์ในทกุ ทวีปทว่ั โลก (รวมทงั้ ทวีปแอน
ตาร์กติกา) ทกุ วนั นีม้ ีคณะสารวจซากดกึ ดา
บรรพ์ไดโนเสาร์อยมู่ ากมาย ทาให้มีการค้นพบ
ไดโนเสาร์ชนิดใหม่เพ่ิมขนึ ้ อีกเป็นจานวนมาก
ประมาณวา่ มีการค้นพบไดโนเสาร์ชนิดใหม่เพ่ิม
ขนี ้ หนง่ึ ชนิดในทกุ สปั ดาห์ โดยทาเลทอง
ในตอนนีอ้ ยทู่ ท่ี างตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้
โดยเฉพาะประเทศอาร์เจนตินา และประเทศ


Click to View FlipBook Version