The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประมาณการเศรษฐกิจ Q3 66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประมาณการเศรษฐกิจ Q3 66

ประมาณการเศรษฐกิจ Q3 66

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ส านักงานคลังจังหวัดสมุทรปราการ ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ ถ.สุทธิภิรมย์ ต.ปากน า อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10270 โทร 0-2395-0801, 0-2395-5777 โทรสาร 0-2395-4771 http://www.cgd.go.th/smp E-mail : [email protected] ไตรมาสที่ 3/2566 ประจ าวันที่ 30 กันยายน 2566 1. เศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการในปี 2566 1.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ส านักงานคลังจังหวัดสมุทรปราการได้ประเมินภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.8 – 5.0 ต่อปี) ชะลอตัวเมื่อเทียบกับปี 2565 ที่ขยายตัวร้อยละ 31.4 โดยเป็นผลมาจาก ด้านอุปทาน ภายในจังหวัดที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ3.4(โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.3 –3.5 ต่อปี) ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 46.6 ต่ ากว่าที่คาดก ารณ์ ณ เดือนมิถุน ายน 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.2 จาก ภาคบริการ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.4 โดยได้รับแรงสนับสนุนจาก ภาคการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ด้านการท่องเที่ยวของภาครัฐ เช่น มาตรการวีซ่าฟรีแก่นักท่องเที่ยวชาวจีนและคาซัคสถาน ประกอบกับจังหวัด สมุทรปราการมีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ท าให้มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในจังหวัดมากขึ้น ภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.3 ซึ่งเป็นผลจากการผลิตสินค้าตามปริมาณค าสั่งซื้อค้างจอง และจากการด าเนินนโยบายทางการเงินที่เข้มงวดของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ยังส่งผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจคู่ค้าของไทย จึงคาดว่ามูลค่าการส่งออกมีแนวโน้มลดลง และภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะขยาย ร้อยละ 16.8 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตข้าวและกุ้งเป็นส าคัญ เนื่องจากแนวโน้มราคาข้าว และกุ้งเฉลี่ยต่อปีสูงขึ้น สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรเพิ่มพื้นที่การเพาะปลูกและเพาะเลี้ยงมากขึ้น ด้านอุปสงค์ภายในจังหวัดคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.0–4.3 ต่อปี) ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 15.8 ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะ ขยายตัวร้อยละ 4.7 จากการบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.2 เป็นผลจากรายได้ภาคประชาชน ฟื้นตัวตามสถานการณ์เศรษฐกิจภายในประเทศ ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลงส่งผลให้การบริโภคเพิ่มขึ้น และการใช้จ่ายของประชาชนผ่านโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐปี 2565 “เศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.9 ต่อปี โดยได้รับแรงสนับสนุนจากด้านอุปทานภาคบริการเป็นส าคัญ และด้านอุปสงค์ภายในจังหวัดที่ขยายตัว ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง และในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.1 โดยกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มที่ดีขี น”


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 การใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.6 จากผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนขยายตัวร้อยละ 5.4 เนื่องจากส่วนราชการในจังหวัดด าเนินการตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและการใช้จ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งก าหนดให้หน่วยงานภาครัฐต้องก่อหนี้ และลงนามในสัญญาให้ทันภายในไตรมาสที่ 1 โดยได้ก าหนดระยะเวลาให้เร็วขึ้น จากปีก่อน 3 เดือน ท าให้ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนในปีนี้สูงกว่าเป้าหมายตามมติคณะรัฐมนตรีและการลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.4 จากความเชื่อมั่นของเศรษฐกิจภายในประเทศที่เริ่มเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น จากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ เช่น มาตรการกระตุ้นการลงทุนเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจของธนาคารแห่ง ประเทศไทย 1.2 เสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในจังหวัด อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี2566 คาดว่าจะขยายตัว อยู่ที่ร้อยละ 3.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.1 – 3.4 ต่อปี) ชะลอตัวจากปี2565 ที่ขยายตัวอยู่ที่ ร้อยละ 8.0 เนื่องจากแรงกดดันจากราคาสินค้าในหมวดพลังงานได้คลี่คลายลง ประกอบกับมาตรการบรรเทา ภาระค่าไฟฟ้าของภาครัฐที่ช่วยบรรเทาภาระค่าครองชีพของประชาชน ด้านการจ้างงาน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.66 – 1.74 ต่อปี) ชะลอตัวจากปี2565 ที่ขยายตัวร้อยละ 4.3 เป็นผลจากการประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัส Covid-19 เป็นโรคประจ าถิ่นและสถานการณ์การเมืองของประเทศเป็นไปในทิศทางดีขึ้น ส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจ การลงทุนและการจ้างงานเพิ่มขึ้น 2. เศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการในปี 2567 2.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ส านักงานคลังจังหวัดสมุทรปราการได้ประเมินภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.0 – 4.2 ต่อปี) โดยเป็นผลจาก ด้านอุปทาน ภายในจังหวัดที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8 – 3.0 ต่อปี) จาก ภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.6 เป็นผลจากมาตรการเร่งขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ภาครัฐ อาทิเช่น การลดค่าใช้จ่าย ค่าน้ ามัน ค่าไฟ การแก้หนี้ครัวเรือน เป็นต้น ซึ่งคาดว่าจะช่วยสนับสนุน การขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภาคบริการ ที่ขยายตัวร้อยละ 3.2 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส Covid-19 ที่สามารถควบคุมได้และสถานการณ์ด้านการเมืองภายในประเทศเข้าสู่ ภาวะปกติ ประกอบกับภาครัฐมีมาตรการRestartการท่องเที่ยว เช่น มาตรการวีซ่าฟรี แก่นักท่องเที่ยวจีน และ คาซัคสถาน โดยไม่ต้องขอวีซ่าในการเดินทางเข้ามาประเทศไทย การเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยเป็น พิเศษ และมีการก าหนดแผนดูแลนักท่องเที่ยวต่างชาติอย่างดีและการสร้างความมั่นใจในการเดินทางเข้ามา ท่องเที่ยวในประเทศไทยผ่านรูปแบบการท าหนังโฆษณา และการดึง Influencer ทั้งดารา-นักร้อง ตลอดจน ตัวแทนรัฐบาลจีนระดับสูง ในการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของไทย เป็นต้น ภาคเกษตรกรรม ขยายตัว ร้อยละ 5.3 เนื่องจากได้รับแรงขับเคลื่อนตามนโยบายที่ส าคัญด้านการเกษตร เช่น เกษตรแปลงใหญ่ และตลาดน าการเกษตร รวมถึงมาตรการพักช าระหนี้ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เพื่อเสริมความรู้ฟื้นฟูทักษะในการประกอบอาชีพภายใต้แนวทาง “ตลาดน า นวัตกรรมเสริม เพิ่มรายได้ ใหม่” ให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นหลังการพักช าระหนี้


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 ด้านอุปสงค์ภายในจังหวัดที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.9 – 3.1 ต่อปี) จากการใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3 เป็นผลจากผลการเบิกจ่ายรายจ่าย ประจ าและรายจ่ายลงทุน เนื่องจากพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปี2567 ล่าช้า คาดว่าจะ ประกาศใช้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2567 ช่วงไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2567 และอาจท าให้ผล การเบิกจ่ายอัตราชะลอตัว การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 2.8 เป็นผลจากความเชื่อมั่นของเศรษฐกิจ ภายในประเทศที่ดีขึ้นตามทิศทางของเศรษฐกิจโดยรวม ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่คาดว่าเศรษฐกิจ จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.6 เป็นผลจากมาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจของภาครัฐ ช่วยเพิ่มความเชื่อมั่นและสร้างบรรยากาศการจับจ่ายใช้สอยกลับมาขยายตัวได้ดี ในปี 2567 2.2 เสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในจังหวัด อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ที่ ร้อยละ 2.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5 – 2.8 ต่อปี) เป็นผลจากราคาพลังงานและต้นทุนน้ ามันเชื้อเพลิง ที่ปรับตัวต่อเนื่องตามราคาในตลาดโลก ส่งผลต่อราคาสินค้าและบริการ ด้านการจ้างงาน คาดว่าจะมีการจ้างงานขยายตัวร้อยละ 1.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.4 – 1.5 ต่อปี) จากแนวโน้มเศรษฐกิจที่คาดว่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดีกิจกรรมการผลิตเกิดการขยายตัว ส่งผลต่อความต้องการด้านแรงงานภาคนอกการเกษตรเป็นส าคัญ 3. ปัจจัยสนับสนุนทางเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการในปี2566 และปี 2567 3.1 การขับเคลื่อนการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐผ่านมาตรการทางการคลังต่าง ๆ ที่รัฐบาลน ามาเป็น แรงกระตุ้นเศรษฐกิจ เป็นปัจจัยส าคัญสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง 3.2 เส้นทางคมนาคมที่เชื่อมโยงภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ อาทิ การขนส่งทางอากาศ การคมนาคม ทางบก ระบบการขนส่งมวลชนที่ทันสมัย มีท่าเรือและคลังสินค้าส าหรับรองรับการขนส่งสินค้า ภาคอุตสาหกรรม ของจังหวัดไปสู่ท่าเรือน้ าลึก 3.3 การด าเนินการมาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส Covid -19 ของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ส่งผลด้านบวกต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 3.4 มาตรการด้านการเงินเพื่อช่วยเหลือลูกหนี้รายย่อยและภาคธุรกิจ โดยธนาคารแห่งประเทศไทย และกระทรวงการคลัง เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้กลุ่มเปราะบางที่รายได้ยังไม่กลับมาเต็มที่ และอาจได้รับผลกระทบ เพิ่มเติมจากค่าครองชีพที่สูงขึ้นด้วยการเสริมสภาพคล่อง และการปรับโครงสร้างหนี้ 3.5 การรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร เพื่อรักษาระดับรายได้ของเกษตรกรให้เพียงพออย่างต่อเนื่อง 3.6 มาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวของภาครัฐ อาทิ เช่น มาตรการวีซ่าฟรี แก่นักท่องเที่ยวจีน และ คาซัคสถาน โดยไม่ต้องขอวีซ่าในการเดินทางเข้ามาประเทศไทย การเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยเป็น พิเศษ และมีการก าหนดแผนดูแลนักท่องเที่ยวต่างชาติอย่างดีและการสร้างความมั่นใจในการเดินทางเข้ามา ท่องเที่ยวในประเทศไทย ผ่านรูปแบบการท าหนังโฆษณา และการดึง Influencer ทั้งดารา-นักร้อง ตลอดจน ตัวแทนรัฐบาลจีนระดับสูง ในการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของไทย เป็นต้น


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 4. ปัจจัยเสี่ยงทางเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการในปี2566 และปี 2567 4.1 ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ และสงครามเทคโนโลยีระหว่างจีน – สหรัฐ หากทั้ง 2 ประเทศมี การแบ่งแยกมากขึ้น จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกค่อนข้างมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเทคโนโลยี เรื่องการค้า หรือเรื่องของมาตรฐานต่าง ๆ เป็นต้น 4.2 สถานการณ์ราคาน้ ามันในตลาดโลกที่ส่งผลส่งผลให้ราคาโภคภัณฑ์สูงขึ้นซึ่งกระทบต่อก าลังซื้อของ ครัวเรือนและต้นทุนในภาคธุรกิจ 4.3 ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงินโลก อาทิ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและ การเคลื่อนย้ายเงินทุน และนโยบายการคลังและการเงินของประเทศที่ส าคัญในระยะต่อไป ที่มีแนวโน้มตึงตัวมากขึ้น 4.4 การปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายส่งผลต่อการใช้จ่ายของประชาชน และส่งผลต่อราคาของสินค้า หรือบริการโดยรวม ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการปี 2566 และ 2567 (ณ เดือนกันยายน 2566) 2563 2564 2565 E เฉลี่ย Min Max เฉลี่ย Min Max สมมตฐิานภายนอก ผลผลิตข้าว (รอ้ยละต่อปี) -40.4 74.0 -67.1 44.0 43.9 44.1 8.3 8.2 8.5 ผลผลิตปลานลิ (รอ้ยละต่อปี) -27.9 8.5 -37.6 -11.1 -11.2 -11.0 1.1 0.9 1.2 ผลผลิตกุ้ง (รอ้ยละต่อปี) -19.1 28.6 -64.3 12.2 12.0 12.3 1.0 0.8 1.1 ราคาข้าวเฉลี่ย (บาท/ตัน) 5,085.0 6,180.7 5,915.0 7,805.8 7,798.4 7,813.2 7,941.1 7,931.4 7,950.9 ราคาปลานลิเฉลี่ย (บาท/ตัน) 31,166.7 34,583.3 32,666.7 33,080.4 33,039.6 33,121.3 33,609.7 33,568.4 33,651.1 ราคากุ้งเฉลี่ย (บาท/ตัน) 122,583.3 120,083.3 114,333.3 120,697.9 120,555.0 120,840.8 121,502.5 121,351.7 121,653.4 จา นวนโรงงาน (โรง) 6,152 6,229 6,334 6,383 6,375 6,390 6,431 6,424 6,439 จา นวนทุนจดทะเบียน (รอ้ยละต่อปี) 1.7 4.2 1.8 3.8 3.7 4.0 3.5 3.4 3.6 ปรมิาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม (รอ้ยละต่อปี) -9.1 3.9 3.2 -2.9 -3.0 -2.7 3.8 3.7 3.9 ยอดขายที่ผู้ประกอบการแจง้เสียภาษี (รอ้ยละต่อปี) -15.7 11.3 13.7 3.9 3.8 4.1 3.2 3.1 3.3 จา นวนนกัท่องเที่ยว (คน) 1,260,474 458,101 2,359,937 2,426,802 2,423,852 2,429,752 2,474,529 2,471,495 2,477,562 (รอ้ยละต่อปี) -62.8 -63.7 415.2 2.8 2.7 3.0 2.0 1.8 2.1 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่งและขายปลีก (รอ้ยละต่อปี) -53.1 11.7 9.3 4.6 4.4 4.7 4.9 4.7 5.0 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร (รอ้ยละต่อปี) -73.2 15.7 34.8 23.5 23.4 23.6 6.3 6.2 6.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม (รอ้ยละต่อปี) -27.3 5.5 5.7 7.5 7.4 7.6 2.4 2.3 2.5 รถยนต์จดทะเบียนใหม่ (คัน) 230 171 215 224 223 224 235 234 235 รถจกัรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (คัน) 783 554 648 671 670 672 701 700 702 รถยนต์เพื่อการพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ (คัน) 1,054 1,675 1,713 1,778 1,775 1,780 1,818 1,816 1,820 สินเชื่อเพื่อการลงทุน (ล้านบาท) 109,772.9 108,924.3 110,734.3 111,730.9 111,592.5 111,869.3 114,822.1 114,682.4 114,961.8 (รอ้ยละต่อปี) 9.2 -0.8 1.9 0.9 0.8 1.0 2.8 2.6 2.9 ทุนจดทะเบียนธุรกิจนติิบุคคลใหม่ (รอ้ยละต่อปี) -23.9 10.9 2.2 8.1 7.9 8.2 1.8 1.7 2.0 สมมตฐิานดา้นนโยบาย รายจา่ยประจา (ล้านบาท) 2,530.7 3,533.5 3,154.1 3,109.9 3,106.0 3,113.9 3,180.4 3,176.5 3,184.3 (รอ้ยละต่อปี) 28.4 39.6 -10.7 -1.4 -1.5 -1.3 2.3 2.1 2.4 รายจา่ยลงทุน (ล้านบาท) 1,560.2 1,627.1 2,379.0 2,506.7 2,503.7 2,509.6 2,599.4 2,596.3 2,602.5 (รอ้ยละต่อปี) 1.1 5.1 53.2 5.4 5.2 5.5 3.7 3.6 3.8 หนว่ย 2567 F (ณ เดอืนกันยายน 2566) 2566 E (ณ เดอืนกันยายน 2566) รายการ


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 ที่มา : กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด ส านักงานคลังจังหวัดสมุทรปราการ E = Estimate : การประมาณการ F = Forecast : การพยากรณ์ หมายเหตุ 1.ปรับปรุงข้อมูลยอดขายที่ผู้ประกอบการแจ้งเสียภาษีปี 2561 เนื่องจากสรรพากรปรับปรุงระบบการจัดเก็บข้อมูลจัดเก็บทุก ประเภทภาษี เฉพาะ Non-Lto 2.ปรับปรุงข้อมูลจ านวนนักท่องเที่ยวตั้งแต่ปี 2560 ใช้ข้อมูลจากสถิติการท่องเที่ยวและกีฬา www.mots.go.th Growth Growth Growth 2563 2564 2565 E เฉลี่ย Min Max เฉลี่ย Min Max ผลการประมาณการ อัตราการขยายตวัทางเศรษฐกิจ (รอ้ยละต่อป)ี -26.5 -1.8 31.4 4.9 4.8 5.0 4.1 4.0 4.2 ดา้นอุปทาน (การผลิต) (ร้อยละตอ่ ป)ี -41.0 -11.2 46.6 3.4 3.3 3.5 2.9 2.8 3.0 อัตราการขยายตัวภาคเกษตรกรรม (ร้อยละตอ่ ป)ี -26.5 29.4 -52.8 16.8 16.7 17.0 5.3 5.2 5.5 อัตราการขยายตัวภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละตอ่ ป)ี -3.5 3.5 2.8 0.3 0.2 0.5 2.6 2.5 2.7 อัตราการขยายตัวภาคบรกิาร (ร้อยละตอ่ ป)ี -63.9 -35.8 164.2 6.4 6.3 6.6 3.2 3.0 3.3 ดา้นอุปสงค์(การใชจ้่าย) (ร้อยละตอ่ ป)ี -4.6 5.8 15.8 4.1 4.0 4.3 3.0 2.9 3.1 อัตราการขยายตัวของการบรโิภคภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ป)ี -25.7 2.0 7.3 7.2 7.0 7.3 2.6 2.5 2.8 อัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ป)ี 6.0 -1.7 6.5 2.4 2.3 2.5 2.8 2.6 2.9 อัตราการขยายตัวของการใช้จา่ยภาครฐั (ร้อยละตอ่ ป)ี 8.3 15.9 29.1 3.6 3.5 3.7 3.3 3.2 3.5 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อ (Inflation : %p.a.) (ร้อยละตอ่ ป)ี -1.0 1.1 8.0 3.3 3.1 3.4 2.7 2.5 2.8 การจา้งงาน : Employment คน 1,352,648 1,374,358 1,433,569 1,457,956 1,457,333 1,458,579 1,478,699 1,478,065 1,479,332 (ร้อยละตอ่ ป)ี 0.0 1.6 4.3 1.7 1.7 1.7 1.4 1.4 1.5 อัตราการขยายตัวของรายได้เกษตรกร (Farm Income) (ร้อยละตอ่ ป)ี -44.7 35.8 -57.4 39.4 39.1 39.7 7.3 7.0 7.5 รายการ หนว่ย 2566 E (ณ เดอืนกันยายน 2566) 2567 F (ณ เดอืนกันยายน 2566)


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 -42.5 -19.5 22.2 -21.8 14.3 -40.4 74.0 -67.1 45.3 44.0 8.3 -80.0 -60.0 -40.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 E F % YOY สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจ 1. ด้านอุปทานในปี 2566คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.4ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 46.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.3 – 3.5 ต่อปี) ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะ ขยายตัวร้อยละ 4.2เป็นผลจากภาคเกษตรกรรมขยายตัวร้อยละ 16.8 ภาคบริการขยายตัวร้อยละ 6.4 และภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 0.3 และส าหรับปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.9 (โดยมีช่วง คาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8 – 3.0) ตามการขยายตัวของภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ และภาคอุตสาหกรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ปริมาณผลผลิตข้าว ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 44.0 ขยายตัวจากปีก่อน ที่หดตัวร้อยละ -67.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 43.9 – 44.1 ต่อปี) ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 45.3 เป็นผลจากเกษตรกรขยายพื้นที่การเพาะปลูกข้าว ส่งผลให้มีปริมาณ ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นและคาดว่าในปี 2567 ปริมาณผลผลิตข้าวจะขยายตัวร้อยละ 8.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 8.2 – 8.5 ต่อปี) เนื่องจากการขับเคลื่อนนโยบายที่ส าคัญของเกษตร และแนวโน้มราคาข้าวเฉลี่ย สูงขึ้น ท าให้เกษตรกรเพิ่มพื้นที่ในการเพาะปลูก (ณ เดือนกันยายน 2566)


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 1.2 ปริมาณผลผลิตปลานิล ในปี 2566 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ -11.1 ปรับตัวดีขึ้นจากปีก่อน ที่หดตัวร้อยละ -37.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (-11.2)– (-11.0)ต่อปี)ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะหดตัวร้อยละ -10.4 เนื่องจากสภาพอากาศแปรปรวนส่งผลต่อการเจริญเติบโตของปลานิล ท าให้ผลผลิตปลานิลลดน้อยลง และคาดว่าในปี 2567 ปริมาณผลผลิตปลานิลจะขยายตัวร้อยละ 1.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.9 – 1.2 ต่อปี) ตามความต้องการของผู้บริโภคและราคาเฉลี่ยต่อปีเพิ่มขึ้น 1.3 ปริมาณผลผลิตกุ้ง ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 12.2 ขยายตัวจากปีก่อนที่หดตัว ร้อยละ -64.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 12.0 – 12.3 ต่อปี) สูงกว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 9.7 เนื่องจากราคากุ้งเฉลี่ยต่อปีมีแนวโน้มสูงขึ้น สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรขยาย พื้นที่การเพาะเลี้ยงกุ้งมากขึ้น และคาดว่าในปี 2567 ปริมาณผลผลิตกุ้งจะขยายตัวร้อยละ 1.0 (โดยมีช่วง คาดการณ์ที่ร้อยละ 0.8 – 1.1 ต่อปี) จากความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้นและการขับเคลื่อนตามนโยบาย ส าคัญของเกษตรอย่างต่อเนื่อง 170.0 478.8 -27.7 67.5 -67.1 -27.9 8.5 -37.6 -10.4 -11.1 1.1 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 500.0 600.0 E F % YOY 238.6 455.6 29.0 92.6 -59.8 -19.1 28.6 -64.3 9.7 12.2 1.0 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 500.0 E F % YOY


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 1.4 จ านวนโรงงาน ในปี 2566 คาดว่ามีจ านวนโรงงาน 6,383 แห่ง เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจ านวน 49 แห่ง (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 6,375 - 6,390 แห่ง) ต่ ากว่าจากที่คาดการณ์ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะมีจ านวนโรงงาน 6,440 แห่ง เป็นผลจากความเชื่อมั่นต่อเศรษฐกิจภายในประเทศที่เริ่มฟื้นตัว ตามทิศทางของเศรษฐกิจโดยรวม และคาดว่าในปี 2567 จะมีจ านวนโรงงาน 6,431 แห่ง โดยได้รับปัจจัยหนุน จากสถานการณ์ด้านการเมืองภายในประเทศและการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของ ผู้ประกอบการธุรกิจและนักลงทุน 1.5 ทุนจดทะเบียนของอุตสาหกรรม ในปี2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 ขยายตัว ต่อเนื่องจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 1.8(โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.7 –4.0ต่อปี)ต่ ากว่าจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.5 เป็นผลจากสถานการณ์ด้านการเมืองส่งผลบวก ต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนและผู้ประกอบการ และคาดว่าในปี 2567 ทุนจดทะเบียนของอุตสาหกรรม จะขยายตัวร้อยละ 3.8 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการธุรกิจ และนักลงทุน 7,345 6,741 7,635 7,161 6,017 6,152 6,229 6,334 6,440 6,383 6,431 0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 9,000 E F 3.6 51.6 4.5 1.1 -27.9 1.7 4.2 1.8 4.5 3.8 3.5 -40.0 -30.0 -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 E F %YOY


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 1.6 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ในปี 2566 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ -2.9 หดตัวจาก ปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 3.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (-3.0) – (-2.7) ต่อปี) ต่ ากว่าจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.0 เนื่องจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลกใน ภูมิภาคต่างๆ เช่น ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน การแข่งขันเชิงยุทธศาสตร์ระหว่างจีนและสหรัฐฯ ส่งผลต่อกิจกรรมการผลิตและการส่งออกลดลง และในปี 2567 คาดว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม จะขยายตัวร้อยละ 3.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.7 – 3.9 ต่อปี) เป็นผลจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ต่าง ๆ ของภาครัฐ ส่งผลให้กิจกรรมการผลิตและการส่งออกมีแนวโน้มดีขึ้น 1.7 ยอดขายที่ผู้ประกอบการแจ้งเสียภาษีในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.9 ชะลอตัว จากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 13.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.8 – 4.1 ต่อปี) สูงกว่าจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 เป็นผลจากเศรษฐกิจภายในประเทศเป็นไปในทิศทาง ที่ดีส่งผลให้ผู้ประกอบการด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น และในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 3.1 – 3.3 ต่อปี) เนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่าง ๆ ของภาครัฐ ส่งผลให้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจกลับมาด าเนินการเพิ่มขึ้น -2.5 3.2 -1.3 -1.6 -6.4 -9.1 3.9 3.2 1.0 -2.9 3.8 -10.0 -8.0 -6.0 -4.0 -2.0 0.0 2.0 4.0 6.0 E F %YOY -6.1 -27.2 2.2 -62.1 -37.1 -15.7 11.3 13.7 2.8 3.9 3.2 -70.0 -60.0 -50.0 -40.0 -30.0 -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 E F %YOY


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 1.8 จ านวนนักท่องเที่ยว ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 ชะลอตัวจากปีก่อน ที่ขยายตัวร้อยละ 415.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.7 – 3.0 ต่อปี) สูงกว่าจากที่คาดการณ์ ณ เดือน มิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.7 เป็นผลจากการได้รับปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการขับเคลื่อน การท่องเที่ยวของประเทศ ประกอบกับจังหวัดสมุทรปราการมีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในจังหวัด ส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศเดินทางท่องเที่ยวเข้ามาในจังหวัดสมุทรปราการมากขึ้น และในปี 2567 จ านวนนักท่องเที่ยวจะยังคงขยายตัวร้อยละ 2.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.8 – 2.1 ต่อ ปี) คาดว่าจะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเดินทางเข้ามาในประเทศไทยและจังหวัดสมุทรปราการเพิ่มขึ้น 1.9 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่งและขายปลีก ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.6 ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 9.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.4 – 4.7 ต่อปี) คงที่จากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.6 เป็นผลจากการที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยว เข้ามาในจังหวัดสมุทรปราการมากขึ้น เกิดการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน หมวดขายส่งและขายปลีกขยายตัว และในปี 2567 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่งและขายปลีกจะขยายตัวร้อยละ 4.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.0 – 5.3 ต่อปี) โดยคาดว่าเป็นผลจากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวได้ดี อย่างต่อเนื่อง 1.9 -3.6 141.5 4.8 0.5 -62.8 -63.7 415.2 2.7 2.8 2.0 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 500.0 E F 1.3 31.4 -2.1 55.7 -53.1 11.7 9.3 4.6 4.6 4.9 -60.0 -40.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 E F %YOY


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 1.10 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 23.5 ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 34.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 23.4 – 23.6 ต่อปี) สูงกว่าที่ คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 23.2 เป็นผลจากที่กระทรวงสาธารณสุขได้ ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัส Covid-19 เป็นโรคประจ าถิ่น ภาครัฐผ่อนคลายมาตรการควบคุมการเดินทางส่งผลให้ ประชาชนและนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวและบริโภคเพิ่มขึ้น และในปี 2567 คาดว่าภาษีมูลค่าเพิ่มหมวด โรงแรมและภัตตาคารจะขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 6.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 6.2 – 6.4 ต่อปี) เป็นผลจากภาคการท่องเที่ยวและภาคบริการฟื้นตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง 2. ด้านอุปสงค์ ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.1 ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 15.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.0 – 4.3 ต่อปี) ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.7 เป็นผลจากการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 7.2 ต่อปี การใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวร้อยละ 3.6 ต่อปีและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 2.4 ต่อปีและคาดว่าในปี 2567 ด้านอุปสงค์จะขยายตัวร้อยละ 3.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.9 – 3.1 ต่อปี) ตามการขยายตัวของ การใช้จ่ายภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน และการบริโภคภาคเอกชน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 5.9 5.4 8.1 4.7 87.0 -73.2 15.7 34.8 23.2 23.5 6.3 -100.0 -80.0 -60.0 -40.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 E F %YOY


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 2.1 ภาษีมูลค่าเพิ่ม ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.5 ขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อนที่ ขยายตัวร้อยละ 5.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 7.4 – 7.6 ต่อปี) สูงกว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.2 เป็นผลจากนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อที่ลดลง ส่งผลให้เกิดการบริโภคเพิ่มขึ้น และในปี 2567 คาดว่าภาษีมูลค่าเพิ่ม จะขยายตัวร้อยละ 2.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.3 – 2.5 ต่อปี) จากความเชื่อมั่นเศรษฐกิจเป็นไปใน ทิศทางที่ดีขึ้น ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยกันมากขึ้น 2.2 รถยนต์จดทะเบียนใหม่ ในปี2566 คาดว่าจะมีจ านวน 224 คัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจ านวน 9 คัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 223 – 224 คัน) ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะมี จ านวน 225 คัน เป็นผลบริษัทค่ายรถยนต์จัดรายการส่งเสริมการขายช่วงท้ายปี และคาดว่าในปี 2567 จะมีจ านวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่เพิ่มขึ้นเป็น 235 คัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 234 – 235 คัน) เนื่องจาก บริษัทค่ายรถยนต์จัดรายการส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่องประกอบกับยอดค าสั่งซื้อค้างจองจากปีก่อน 8.8 -9.5 2.2 3.4 -8.4 -27.3 5.5 5.7 7.2 7.5 2.4 -30.0 -25.0 -20.0 -15.0 -10.0 -5.0 0.0 5.0 10.0 15.0 E F %YOY 183 248 378 204 248 230 171 215 225 224 235 0 50 100 150 200 250 300 350 400 E F


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 2.3 รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ในปี 2566 คาดว่าจะมีจ านวน 671 คัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ านวน 23 คัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 670 – 672 คัน) สูงกว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะมีจ านวน 670 คัน เป็นผลจากบริษัทค่ายรถจักรยานยนต์จัดรายการส่งเสริมการขายเพื่อกระตุ้น ยอดจ าหน่ายในช่วงท้ายปีประกอบกับรายได้ภาคประชาชนที่ฟื้นตัวตามสถานการณ์เศรษฐกิจภายในประเทศ ท าให้ผู้บริโภคมีก าลังซื้อเพิ่มขึ้น และคาดว่าจะส่งผลในปี 2567 จะมีรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่เพิ่มขึ้น เป็น 701 คัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 700 – 702 คัน) เนื่องจากเศรษฐกิจในจังหวัดมีการขยายตัวดีขึ้น ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีก าลังซื้อมากขึ้น 2.4 รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ในปี 2566 คาดว่าจะมีจ านวน 1,778 คัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ านวน 65 คัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 1,775 – 1,780 คัน) สูงกว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะมีจ านวน 1,777 คัน เป็นผลจากเศรษฐกิจภายในประเทศเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น ส่งผลต่อความ เชื่อมั่นของต่อผู้ประกอบการและนักลงทุน และส่งผลต่อเนื่องในปี 2567 คาดว่าจะมีรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ จ า น ว น 1,818 คัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 1,816 – 1,820 คัน) เนื่องจากทิศทางความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจและ กิจกรรมการผลิตมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง 1,283 1,104 1,067 1,079 1,105 783 554 648 670 671 701 0 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400 E F 1,454 1,343 1,576 1,854 1,492 1,054 1,675 1,713 1,777 1,778 1,818 0 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400 1,600 1,800 2,000 E F


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 2.5 สินเชื่อเพื่อการลงทุน ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.9 ชะลอตัวจากปีก่อน ที่ข ย ายตั ว ร้อ ย ล ะ 1.9 (โด ย มี ช่ วงค าด ก า รณ์ ที่ ร้อ ย ล ะ 0 .8 – 1 .0 ต่ อปี ) สูงกว่ าที่ ค าด ก า รณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.8 เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจฟื้นตัว ส่งผลให้ ภาคธุรกิจเพิ่มการลงทุนสอดคล้องกับการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินผ่านมาตรการทางการเงินต่าง ๆ และในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.6 – 2.9 ต่อปี) ตามกิจกรรม การผลิตที่เพิ่มขึ้น 2.6 ทุนจดทะเบียนธุรกิจนิติบุคคลใหม่ ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 8.1 ขยายตัว ต่อเนื่องจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 2.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 7.9 – 8.2 ต่อปี) สูงกว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.1 ตามทิศทางความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจที่มีทิศทางดีขึ้น และในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7 – 2.0 ต่อปี) จากความเชื่อมั่น ของเศรษฐกิจภายในประเทศที่ขยายตัวตามทิศทางเศรษฐกิจโดยรวม 19.5 -2.5 89.8 -37.3 -13.9 -23.9 10.9 2.2 1.1 8.1 1.8 -60.0 -40.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 E F %YOY 7.1 1.8 9.3 11.5 2.2 9.2 -0.8 1.9 0.8 0.9 2.8 -2.0 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 E F %YOY


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 2.7 การใช้จ่ายภาครัฐ ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.6 ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 29.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.5 – 3.7 ต่อปี) ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.8 เป็นผลจากผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนขยายตัวร้อยละ 5.4 เนื่องจาก ส่วนราชการด าเนินการตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งก าหนดให้หน่วยงานภาครัฐต้องก่อหนี้และลงนามใน สัญญาให้ทันภายในไตรมาสที่ 1 โดยได้ก าหนดระยะเวลาให้เร็วขึ้นกว่าปีก่อน 3 เดือน ท าให้ผลเบิกจ่ายรายจ่าย ลงทุนในปีนี้สูงกว่าเป้าหมายตามมติคณะรัฐมนตรี ส าหรับรายจ่ายประจ าหดตัวร้อยละ -1.4 เนื่องจาก ส่วนราชการบางหน่วยงานได้รับจัดสรรเงินงบประมาณน้อยลง ท าให้มีผลการเบิกจ่ายน้อยกว่าปี 2565 และในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.2 – 3.5 ต่อปี) เนื่องจาก พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปี 2567 ล่าช้า คาดว่าจะประกาศใช้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2567 ช่วงไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2567 ซึ่งอาจท าให้ผลการเบิกจ่ายชะลอตัวลง 0.3 1.8 -24.9 -24.9 -15.8 8.3 15.9 29.1 5.8 3.6 3.3 -30.0 -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 E F %YOY


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ก าหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมไว้ที่ร้อยละ 93.0 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม และเป้าหมายการเบิกจ่ายงบลงทุนไว้ที่ร้อยละ 75.0 ของวงเงินงบประมาณ งบลงทุน และเป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ดังนี้ เป้าหมายการเบิกจ่าย ภาพรวม (ร้อยละ) งบลงทุน (ร้อยละ) งบประจ า (ร้อยละ) ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 32.00 19.00 35.00 ไตรมาส 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 52.00 39.00 55.00 ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 75.00 57.00 80.00 ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 93.00 75.00 98.00 ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 รายจ่ายรัฐบาล คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ได้ทั้งสิ้น 4,735.0 ล้านบาท ลดลงร้อยละ -14.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันกับปีก่อน คิดเป็นอัตราร้อยละ 94.7 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม ซึ่งคาดว่าจะสูงกว่าเป้าหมายการเบิกจ่ายที่ก าหนดไว้ที่ร้อยละ 93.0 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม โดยรายจ่ายประจ าคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 2,955.0 ล้านบาท ลดลง ร้อยละ -9.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันกับปีก่อน คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายที่ร้อยละ 98.5 ของวงเงินงบประมาณ ประจ า และรายจ่ายลงทุนคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 1,780.0 ล้านบาท ลดลงร้อยละ -21.6 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันกับปีก่อน คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 89.0 ของวงเงินงบประมาณงบลงทุน เป็นผลจาก ส่วนราชการด าเนินการตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ของจังหวัดสมุทรปราการ งบประมาณ จดัสรร ผลการเบกิจา่ย สะสมตงั้แตต่น้ ปีงปม.จนถงึ เดอืน ก.ย 2566 ร้อยละการ เบกิจา่ย งบประมาณที่ คาดว่าจะ ไดร้ับจดัสรร งปม.2566 (ทงั้ป)ี ผลคาดการณ์ เบกิจา่ยปี งปม.2566 (ทงั้ป)ี คาดการณ์ ร้อยละการ เบกิจา่ย เปา้หมาย การเบกิจา่ย สงูกว่า / ตา่่กว่า เปา้หมาย 1.รายจา่ยจริงปปีจัจบุนั 4,843.9 4,501.5 92.9 5,000.0 4,735.0 94.7 93.0 1.8 - รายจ่ายประจ า 2,972.6 2,941.5 99.0 3,000.0 2,955.0 98.5 98.0 0.5 - รายจ่ายลงทุน 1,871.3 1,559.9 83.4 2,000.0 1,780.0 89.0 75.0 18.7 2.งบประมาณเหลอื่มปี 1,150.5 750.4 65.2 - ปี2565 1,150.5 750.4 65.2 - กอ่นปี2565 0.0 0.0 0.0 3.รวมการเบกิจา่ย (1+2) 5,994.4 5,251.9 87.6


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 10.2 0.0 32.0 52.0 75.0 93.0 10.2 24.9 32.3 38.0 37.4 49.9 56.5 65.9 69.6 75.2 84.8 92.9 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 100.0 1.6 6.1 9.2 12.9 20.6 27.7 41.4 52.5 59.8 74.0 83.4 0.0 19.0 39.0 57.0 75.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 3. ด้านรายได้เกษตรกร ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 39.4 ขยายตัวจากปีก่อนที่หดตัว ร้อยละ -57.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 39.1 – 39.7 ต่อปี) สูงกว่าที่คาดการณ์ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 39.0 เป็นผลจากปริมาณผลผลิตภาคเกษตรกรรมขยายตัวร้อยละ 16.8 และราคา สินค้าเกษตรโดยรวมขยายตัวร้อยละ 19.3 เป็นผลจากปริมาณและราคาผลผลิตทางการเกษตรที่ปรับตัวสูงขึ้น และเป็นไปตามกลไกตลาด และส าหรับปี 2567 คาดว่ารายได้เกษตรกรจะยังคงขยายตัวร้อยละ 7.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 7.0 – 7.5 ต่อปี) ตามปริมาณและราคาผลผลิตทางการเกษตรที่ปรับตัวสูงขึ้น และเป็นไปตามกลไกตลาด โดยมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 ราคาข้าว ในปี 2566 คาดว่าราคาข้าวเฉลี่ยอยู่ที่ 7,805.8 บาท/ตัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งราคาอยู่ที่ 5,915.0 บาท/ตัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 7,798.4 – 7,813.2 บาท/ตัน) สูงกว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าราคาจะอยู่ที่ 7,700.0 บาท/ตัน ซึ่งเป็นไปความต้องการของตลาดผู้บริโภคและ การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และในปี 2567คาดว่าราคาข้าวอยู่ที่ 7,941.1 บาท/ตัน ซึ่งเป็นไปตามกลไก และความต้องการของตลาด 7,332.3 7,094.2 7,409.1 7,409.2 7,768.3 5,085.0 6,180.7 5,915.0 7,700.0 7,805.8 7,941.1 0.0 1,000.0 2,000.0 3,000.0 4,000.0 5,000.0 6,000.0 7,000.0 8,000.0 9,000.0 E F


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 3.2 ราคาปลานิล ในปี 2566 คาดว่าราคาปลานิลเฉลี่ยอยู่ที่ 33,080.4 บาท/ตัน เพิ่มขึ้นจาก ปีก่อนซึ่งราคาอยู่ที่ 32,666.7 บาท/ตัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 33,039.6 – 33,121.3 บาท/ตัน) สูงกว่า ที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าราคาจะอยู่ที่ 33,254.7 บาท/ตัน เป็นไปตามกลไกของตลาดที่ ปริมาณผลผลิตปลานิลออกสู่ท้องตลาดจ านวนน้อยและความต้องการของผู้บริโภคที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ท าให้ ปลานิลมีราคาเพิ่มสูงขึ้น และส าหรับปี 2567 คาดว่าราคาปลานิลเฉลี่ยอยู่ที่ 33,609.7 บาท/ตัน (โดยมีช่วง คาดการณ์ที่ 33,568.4 – 33,651.1 บาท/ตัน) ซึ่งเป็นไปตามกลไกของตลาด 3.3 ราคากุ้ง ในปี 2566 คาดว่าราคากุ้งเฉลี่ยอยู่ที่ 120,697.9 บาท/ตัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งราคาอยู่ที่ 114,333.3 บาท/ตัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 120,555.0 – 120,840.8 บาท/ตัน) ต่ ากว่าที่ คาดการณ์ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าราคาจะอยู่ที่ 120,964.7 บาท/ตัน เนื่องจากความต้องการของ ผู้บริโภคมีแนวโน้มสูงขึ้น ท าให้ราคาในท้องตลาดปรับตัวเพิ่มขึ้น และส าหรับปี 2567 คาดว่าราคากุ้งเฉลี่ยอยู่ที่ 121,502.5 บาท/ตัน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 121,351.7 – 121,653.4 บาท/ตัน) ซึ่งเป็นไปตามกลไกของตลาด 33,708.3 38,083.3 41,750.0 35,166.6 37,562.5 31,166.7 34,583.3 32,666.7 33,254.7 33,080.4 33,609.7 0.0 5,000.0 10,000.0 15,000.0 20,000.0 25,000.0 30,000.0 35,000.0 40,000.0 45,000.0 E F 202,333.3 142,083.3 135,833.3 122,916.7 147,100.0 122,583.3 120,083.3 114,333.3 120,964.7 120,697.9 121,502.5 0.0 50,000.0 100,000.0 150,000.0 200,000.0 250,000.0 E F


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 4. ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในจังหวัดสมุทรปราการ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2566 คาดว่าจะ ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.3 ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 8.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.1– 3.4ต่อปี)ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.7 ตามการเพิ่มขึ้น ของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นจากหมวดข้าว แป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง หมวดไข่ และผลิตภัณฑ์นม หมวดผักและผลไม้และหมวดเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และดัชนีหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหาร และเครื่องดื่ม เพิ่มขึ้นจากหมวดเคหสถาน หมวดการตรวจรักษาบริการส่วนบุคคล และหมวดบันเทิงการอ่าน การศึกษาและการศาสนา และจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย – ยูเครน และการแข่งขัน เชิงยุทธศาสตร์ระหว่างจีนและสหรัฐฯ ที่ยังคงมีผลต่อเศรษฐกิจโลก และในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ที่ 2.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5 – 2.8 ต่อปี) เนื่องจากราคาพลังงานโลกและต้นทุนน้ ามันมีแนวโน้มปรับสูงขึ้น 4.1 การจ้างงาน ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.7 ชะลอตัวจากปีก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 4.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 1.7 – 1.7 ต่อปี) ต่ ากว่าที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2566 คาดว่าจะมี การจ้างงานขยายตัวร้อยละ 2.0จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส Covid-19 ที่คลี่คลาย ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว ท าให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น และส าหรับปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.4 – 1.5 ต่อปี) จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่คาดว่าจะยังคงขยายตัว เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น -0.1 0.6 0.4 1.1 1.0 -1.0 1.1 8.0 3.7 3.3 2.7 -2.0 -1.0 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0 E F %YOY Inflator 1.4 2.6 1.2 -0.2 0.9 0.0 1.6 4.3 2.0 1.7 1.4 -0.5 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0 E F %YOY


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโน้มของจังหวัดสมุทรปราการ ที่มา : กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด ส านักงานคลังจังหวัดสมุทรปราการ Indicator unit 2563 2564 2565E 2566F 2567F MIN CONCENSUS MAX MIN CONCENSUS MAX Economic Growth GPP current price Million Baht 635,446 648,031 660,865 713,287 714,939 716,591 829,573 831,360 833,147 %yoy -17.8 2.0 2.0 5.5 5.7 6.0 6.2 6.5 6.7 GPP constant price (CVM) Million Baht 502,770 504,885 663,631 695,280 696,109 696,939 723,730 724,601 725,471 %yoy -16.7 0.4 31.4 4.8 4.9 5.0 4.0 4.1 4.2 population person 2,249,961 2,288,567 2,387,164 2,406,262 2,408,649 2,409,842 2,427,918 2,430,327 2,431,531 %yoy 1.8 1.7 4.3 0.8 0.9 1.0 0.8 0.9 1.0 GPP per capita baht/person 282,425 283,160 276,841 296,429 296,821 297,360 341,681 342,077 342,643 Agriculture : API (Q) %yoy -26.5 29.4 -52.8 16.7 16.8 17.0 5.2 5.3 5.5 Industry : IPI (Q) %yoy -3.5 3.5 2.8 0.2 0.3 0.5 2.5 2.6 2.7 Service : SI (Q) %yoy -63.9 -35.8 164.2 6.3 6.4 6.6 3.0 3.2 3.3 Private Consumption : Cp Index %yoy -25.7 2.0 7.3 7.0 7.2 7.3 2.5 2.6 2.8 Private Invesment : Ip Index %yoy 6.0 -1.7 6.5 2.3 2.4 2.5 2.6 2.8 2.9 Government Expenditure : G Index %yoy 8.3 15.9 29.1 3.5 3.6 3.7 3.2 3.3 3.5 Farm Income %yoy -44.7 35.8 -57.4 39.1 39.4 39.7 7.0 7.3 7.5 Economic Stability Inflation Rate ( ) % per annual -1.0 1.1 8.0 3.1 3.3 3.4 2.5 2.7 2.8 GPP deflator %yoy -1.3 2.5 9.0 0.7 0.8 1.0 2.3 2.4 2.5 Employment person 1,352,648 1,374,358 1,433,569 1,457,333 1,457,956 1,458,579 1,478,065 1,478,699 1,479,332 yoy 9,750 31,459 90,670 114,434 115,057 115,680 135,167 135,800 136,434 %yoy 0.0 1.6 4.3 1.7 1.7 1.7 1.4 1.4 1.5


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 นิยามตัวแปรและการค านวณในแบบจ าลองเศรษฐกิจจังหวัด GPP Constant Price หมายถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน GPP Current Price หมายถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีปัจจุบัน GPPS หมายถึงดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปทาน GPPD หมายถึงดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปสงค์ API (Q) หมายถึงดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมจังหวัด IPI หมายถึงดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมจังหวัด SI หมายถึงดัชนีผลผลิตภาคบริการจังหวัด CP Index หมายถึงดัชนีการบริโภคภาคเอกชนจังหวัด IP Index หมายถึงดัชนีการลงทุนภาคเอกชนจังหวัด G Index หมายถึงดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ XM Index หมายถึงดัชนีมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ยจังหวัด GPP Deflator หมายถึงระดับราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด CPI หมายถึงดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัด PPI หมายถึงดัชนีราคาผู้ผลิตระดับประเทศ Inflation rate หมายถึงอัตราเงินเฟ้อจังหวัด Farm Income Index หมายถึงดัชนีรายได้เกษตรกรจังหวัด Population หมายถึงจ านวนประชากรของจังหวัด Employment หมายถึงจ านวนผู้มีงานท าของจังหวัด %yoy หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน Base year หมายถึงปีฐาน (2548 = 100) Min หมายถึงสถานการณ์ที่คาดว่าเลวร้ายที่สุด Consensus หมายถึงสถานการณ์ที่คาดว่าจะเป็นได้มากที่สุด Max หมายถึงสถานการณ์ที่คาดว่าดีที่สุด การค านวณดัชนี ดัชนีชี วัดเศรษฐกิจด้านอุปทาน (Supply Side หรือ Production Side : GPPS) ประกอบด้วย 3 ดัชนี ได้แก่ 1. ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมจังหวัด โดยให้น้ าหนัก 0.007 2. ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมจังหวัด โดยให้น้ าหนัก 0.508 3. ดัชนีผลผลิตภาคบริการจังหวัด โดยให้น้ าหนัก 0.485 การก าหนดน้ าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพิ่มราคาปีปัจจุบันของ เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตรและสาขาประมง) เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (สาขา อุตสาหกรรม และสาขาไฟฟ้าฯ) และเครื่องชี้เศรษฐกิจภาคบริการ (11 สาขา ตั้งแต่ สาขาก่อสร้างถึงสาขา ลูกจ้างในครัวเรือน) จากข้อมูล GPP ของ สศช. เทียบกับ GPP รวมราคาปีปัจจุบันของ สศช. จัดท าขึ้นเพื่อติดตามภาวการณ์ผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัด สมุทรปราการเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 1 เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการค านวณ API(Q), IPI(Q), SI(Q) ได้ก าหนดปีฐาน 2560 ซึ่งค านวณจากเครื่องชี้ผลผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของ จังหวัดสมุทรปราการรายเดือน อนุกรมเวลาย้อนหลังไปตั้งแต่ พ.ศ.2560 เป็นต้นมา


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมจังหวัด (Agriculture Production Index : API) ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 5 ตัว คือ 1. ปริมาณผลผลิตปลานิล โดยให้น้ าหนัก 0.174 2. ปริมาณผลผลิตกุ้ง โดยให้น้ าหนัก 0.169 3. ปริมาณผลผลิตมะม่วง โดยให้น้ าหนัก 0.132 4. ปริมาณผลผลิตข้าว โดยให้น้ าหนัก 0.389 5. ปริมาณผลผลิตกล้วย โดยให้น้ าหนัก 0.136 โดยตัวชี้วัด (ปลานิล, กุ้ง, มะม่วง ข้าว และกล้วย) ได้ปรับฤดูกาล (Seasonal Adjusted : SA) แล้ว การก าหนดน้ าหนักขององค์ประกอบในการจัดท า API (Q) ให้น้ าหนักของเครื่องชี้ข้างต้นได้จากสัดส่วน มูลค่าเพิ่มของเครื่องชี้ ณ ราคาปีปัจจุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตรและสาขาประมง) ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมจังหวัด (Industrial Production Index : IPI) ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 5 ตัว คือ 1. ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม โดยให้น้ าหนัก 0.298 2. จ านวนโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัด โดยให้น้ าหนัก 0.288 3. ทุนจดทะเบียนของอุตสาหกรรม โดยให้น้ าหนัก 0.195 4. ยอดขายผู้ประกอบการแจ้งเสียภาษี โดยให้น้ าหนัก 0.219 การก าหนดน้ าหนักขององค์ประกอบในการจัดท า IPI ให้น้ าหนักของเครื่องชี้จากหาความสัมพันธ์ Correlation ระห ว่างเครื่องชี้เศรษ ฐกิจผลผลิตอุตสาหกรรมรายปี กับ GPP (สศช.) ณ ราคาคงที่ ภาคอุตสาหกรรม (สาขาอุตสาหกรรม และสาขาไฟฟ้า) ดัชนีผลผลิตภาคบริการจังหวัด (Service Index : SI) ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 3 ตัว คือ 1. จ านวนนักท่องเที่ยว โดยให้น้ าหนัก 0.733 2. ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่งและขายปลีก โดยให้น้ าหนัก 0.115 3. ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร โดยให้น้ าหนัก 0.152 การก าหนดน้ าหนักขององค์ประกอบในการจัดท า SI ให้น้ าหนักของเครื่องชี้ โดยใช้เครื่องชี้ภาคบริการ ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) หารด้วยเครื่องชี้แต่ละตัว ดัชนีชี วัดเศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (Demand Side : GPPD) ประกอบด้วย 3 ดัชนี ได้แก่ 1. ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน โดยให้น้ าหนัก 0.333 2. ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน โดยให้น้ าหนัก 0.252 3. ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ โดยให้น้ าหนัก 0.415 การก าหนดน้ าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉลี่ยในแต่ละดัชนี เทียบกับ GPP Constant Price โดยเฉลี่ยเพื่อหาค่าสัดส่วน และค านวณหาน้ าหนักของแต่ละดัชนีเทียบกับผลรวมสัดส่วนดัชนี รวมทั้งหมด


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 จัดท าขึ้นเพื่อติดตามภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และการใช้จ่าย ภาครัฐของจังหวัดสมุทรปราการเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 1 เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการค านวณ CP Index, IP Index, G Index ได้ก าหนดปีฐาน 2548 ซึ่งค านวณจากเครื่องชี้ภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และการใช้จ่ายภาครัฐของจังหวัดสมุทรปราการเป็นรายเดือน อนุกรมเวลา ย้อนหลังไปตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา ดัชนีการบริโภคภาคเอกชนจังหวัด (Private Consumption Index : CP) ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 3 ตัว คือ 1. ภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้น้ าหนัก 0.877 2. รถยนต์จดทะเบียนใหม่ โดยให้น้ าหนัก 0.116 3. รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ โดยให้น้ าหนัก 0.007 การก าหนดน้ าหนักขององค์ประกอบในการจัดท า CP Index ให้น้ าหนักของเครื่องชี้ จากการหา ค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ในการจัดท า CP Index และแปลงมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ าหนักจากสัดส่วน มูลค่าเครื่องชี้เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนจังหวัด (Private Investment Index : IP) ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 4 ตัว คือ 1. พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างรวม โดยให้น้ าหนัก 0.309 2. รถยนต์เพื่อการพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ โดยให้น้ าหนัก 0.014 3. สินเชื่อเพื่อการลงทุน โดยให้น้ าหนัก 0.580 4. ทุนจดทะเบียนธุรกิจนิติบุคคลใหม่ โดยให้น้ าหนัก 0.097 การก าหนดน้ าหนักขององค์ประกอบในการจัดท า IP Index ให้น้ าหนักของเครื่องชี้ จากการหา ค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ในการจัดท า IP Index และแปลงมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ าหนักจากสัดส่วน มูลค่าเครื่องชี้เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐของจังหวัด (Government Expenditure Index : G) ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 2 ตัว คือ 1. รายจ่ายประจ าภาครัฐ ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยให้น้ าหนัก 0.663 2. รายจ่ายลงทุนภาครัฐ ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยให้น้ าหนัก 0.337 การก าหนดน้ าหนักขององค์ประกอบในการจัดท า G Index ให้น้ าหนักของเครื่องชี้ จากการหาค่าเฉลี่ย ของเครื่องชี้ในการจัดท า G Index และแปลงมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ าหนักจากสัดส่วนมูลค่า เครื่องชี้เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด


ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ ไตรมาส 3/2566 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาคงที่ (GPP Constant Price) ประกอบด้วยดัชนี 2 ด้าน - ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอุปทาน (GPPS) โดยให้น้ าหนัก 0.600 - ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (GPPD) โดยให้น้ าหนัก 0.400 ดัชนีชี วัดเสถียรภาพเศรษฐกิจ GPP Deflator : ระดับราคาประกอบไปด้วย - ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) โดยให้น้ าหนัก 0.600 - ดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดสมุทรปราการ (CPI) โดยให้น้ าหนัก 0.400 การเปลี่ยนแปลงของจ านวนผู้มีงานท า - ค านวณจาก GPP Constant Price * 0.35 (อัตราการพึ่งพาแรงงาน) ส านักงานคลังจังหวัดสมุทรปราการ ขอขอบคุณส่วนราชการ ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ในจังหวัดสมุทรปราการ ที่ให้การสนับสนุนข้อมูลประกอบการจัดท าประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ


Click to View FlipBook Version