ตัวชี้วัด คะแนน
54321
ข้อท่ี 6 มุ่งม่ันในการทำงาน
6.1 ตั้งใจและรบั ผดิ ชอบหน้าทีก่ ารทำงาน ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
6.2 ทำงานดว้ ยความเพยี รพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสำเรจ็
ตามเป้าหมาย
รวมคะแนน
ข้อ 7 รักความเปน็ ไทย
7.1 ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย
และมีความกตญั ญูกตเวที
7.2 เห็นคณุ คา่ และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
7.3 อนรุ กั ษ์ สบื ทอดภมู ปิ ญั ญาไทย
รวมคะแนน
ขอ้ 8 มีจิตสาธารณะ
8.1 ช่วยเหลือผอู้ นื่ ด้วยความเตม็ ใจโดย ไม่หวงั ผลตอบแทน
8.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชุมชน และสังคม
รวมคะแนน
รวมคะแนนทง้ั หมด
รวมคะแนนทงั้ หมดเฉลยี่ รอ้ ยละ
ระดับคณุ ภาพ
เกณฑก์ ารประเมนิ
รอ้ ยละ 80 - 100 ระดบั คุณภาพ ดเี ย่ยี ม (3)
ร้อยละ 70 - 79 ระดับคุณภาพ ดี (2)
รอ้ ยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช้ (1)
รอ้ ยละ 0 - 49 ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ (0)
สรปุ ผลการประเมนิ ผ่าน ระดบั ดเี ยยี่ ม ดี
ไม่ผา่ น ระดับ ปรับปรุง
…………………………………………………. ผปู้ ระเมิน
(………………………………………………)
ตำแหนง่ …………………………………………..
แบบบันทึกผลหลงั สอน
รายวชิ า สังคมศึกษา ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 จำนวนนักเรยี นท้ังหมด …………. คน
ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ หนา้ ท่ีพลเมอื ง จำนวน 20 ชั่วโมง
แผนการเรยี นรทู้ ่ี 5 เร่ือง STRONG / จติ พอเพียงต้านการทจุ ริต: มุ่งไปขา้ งหนา้ เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวนั ที่........... เดอื น ....................... พ.ศ ....................
1. ผลการสอนปรากฏผลดังนี้ (เขียนใหส้ อดคล้องกบั จุดประสงคแ์ ละระบจุ ำนวนและร้อยละของนกั เรยี น
ท่ผี า่ น)
1.1 ดา้ นความรู้ (K)
..............................................................................................................................................................................
1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
........................................................................................................... ...................................................................
1.3 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม (A)
............................................................................................................................. .................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
................................................................................................................................................. .............................
ลงชือ่ ครปู ระจำวชิ า
()
วันที่……เดือน….…………….พ.ศ……….
ความเหน็ (ผู้บรหิ ารหรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย)
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชื่อ.......................................................
(…………………………………………..)
………………………………………………………..
................/................./................
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 6
กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 รหัสวิชา ส 21102 ช่อื รายวชิ า สังคมศึกษา
ช่ือหน่วยการเรียนรู้ หนา้ ท่ีพลเมือง จำนวน 20 ชวั่ โมง
แผนการเรยี นรู้ที่ 6 เรอื่ ง STRONG / จิตพอเพียงตา้ นการทจุ ริต: ความเอ้ืออาทร เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวนั ท่ี............... เดือน .............................. พ.ศ. .......................
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 : เขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมอื งดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยู่รว่ มกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลกอย่างสนั ตสิ ุข
2. ผลการเรียนรู้
มีจิตพอเพียงตอ่ ต้านทุจรติ มีความตระหนักในการปฏบิ ัติตนเป็นผ้มู ีความเอ้อื อาทรในชวี ิตประจำวนั
3. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
1) ความหมายของความมุ่งม่ันตั้งใจ
2) ความหมายของความซื่อสัตย์
3) การแสดงออกถึงการเปน็ ผู้มีความรบั ผดิ ชอบ
4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
4.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรยี นเข้าใจความหมายของความเอ้ืออาทร
2) นักเรยี นยกตวั อยา่ งของความเอ้ืออาทรได้
4.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สรุป
4.3 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม (A)
1) ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มอี ุดมการณ์ในส่งิ ท่ดี ีงามเพื่อส่วนรวม
2) มีศีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อืน่ เผ่ือแผแ่ ละแบง่ ปนั
5. สาระการเรยี นรู้ (หลักสตู รตา้ นทจุ ริต)
- ความเอื้ออาทร หมายถึง ความเอื้อเฟ้ือ ความเอ้ืออารี ความมนี า้ ใจ และการปฏิบตั ติ นเป็นผ้มู คี วาม
เอ้ืออาทร
- การตระหนักและเห็นคุณคา่ ของการตอ่ ต้านการทจุ ริต แต่ไม่ควรเอือ้ เฟอ้ื ช่วยเหลอื ในส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง โดยหวงั
ผลประโยชน์ส่วนตัว
6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน
6.1 ความสามารถในการส่อื สาร
6.2 ความสามารถในการคิด
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
- ทักษะการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ
- ทักษะการคดิ แก้ปัญหา
6.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
- กระบวนการทำงานกล่มุ
- กระบวนการปฏิบตั ิ
7. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1) ซ่ือสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ์ นสิ่งทีด่ ีงามเพ่ือส่วนรวม
2) มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดตี อ่ ผู้อืน่ เผอื่ แผ่และแบง่ ปนั
8. กิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รต้านทุจริต)
ชั่วโมงท1่ี
ขน้ั ตอนการเรยี นรู้
1. นักเรียนเล่าประสบการณเ์ กี่ยวกบั การช่วยเหลอื คนอ่นื
2. นักเรยี นจบั คชู่ ว่ ยกันเขยี นแผนผังลาดบั เหตกุ ารณต์ ั้งแต่ต้นจนจบ แล้วนำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน ชว่ ยกนั
ตรวจสอบว่าใครลำดบั เหตุการณ์ได้ถูกต้องท่สี ุด
3. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปถงึ ข้อคดิ ทไี่ ด้จากการชว่ ยเหลอื ผูอ้ ื่น และเราสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั
ไดอ้ ยา่ งไร เช่น เมือ่ มผี ู้เดอื นร้อนเราต้องให้การช่วยเหลอื
4. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปถงึ ความตระหนักในการปฏิบัติตนเป็นผมู้ ีความเออ้ื อาทรในชีวติ ประจำวนั
5. นักเรียนวาดภาพความเอื้ออาทรต่อผ้อู ่นื และระบายสใี ห้สวยงาม
6. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั คดั เลอื กผลงานที่มีคณุ ภาพ อยใู่ นเกณฑ์ดอี อกมานำเสนอผลงานทหี่ นา้ ช้นั เรียน
และนำผลงานมาจัดป้ายนิเทศแสดงผลงานของนักเรยี น
ชั่วโมงที่ 2
7. แบ่งนกั เรยี นเปน็ 2-5 กล่มุ ๆ ละเทา่ ๆ กนั
8. นกั เรียนแสดงบทบาทสมมตเิ ก่ยี วกบั ความเอื้ออาทรต่อผู้อ่ืน
9. ใหก้ ลุม่ อืน่ แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับการแสดงบทบาทสมมุติ
10. ครแู ละนกั เรียนสรปุ ความหมายของการเอื้ออาทร
9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้
9.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรียน หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ม.4-ม.6
2) หนงั สือค้นควา้ เพิ่มเติม
3) ใบงาน
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งสมุด
2) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ
http://www.google.com
10. การวดั และประเมนิ ผล
รายการประเมนิ วิธีการวดั เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารวดั
และประเมินผล และประเมนิ ผล และประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจใบงาน - ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจริง)
ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ด้านทักษะกระบวนการ(P) - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน
การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม เกณฑ์
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม - สงั เกตและประเมนิ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น
และคา่ นยิ ม (A) พฤติกรรมคุณลกั ษณะอันพึง อนั พึงประสงค์ เกณฑ์
ประสงค์
11. ความคดิ เหน็ (ผู้บริหาร / หรือผูท้ ่ีได้รับมอบหมาย)
ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ของ นางชบาพรรณ นรนิ ทร์ แลว้ มีความคิดเหน็ ดังน้ี
11.1 เป็นแผนการจดั การเรียนรูท้ ี่
ดีมาก ดี
พอใช้ ตอ้ งปรับปรุง
11.2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูไ้ ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
ท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
ที่ยังไมเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนำต่อไป
11.3 เปน็ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี
นำไปใชไ้ ด้สอนได้
ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้
11.4 ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื .......................................................
(นายธีรนัน พิรณุ สนุ ทร)
รองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา
................/................./................
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมรายบคุ คล
ช่อื / ยอมรบั ฟงั
กลมุ่ ความสนใจ การแสดง ตอบคำถาม ความคิดเห็น ตอบคำถาม
ความคดิ เห็น ผู้อน่ื
ลำดับ ผนู้ ำ รวม
ท่ี เสนอ
สรุป
งาน 43214321432143214321
เกณฑ์การวัดผล ให้คะแนนระดบั คณุ ภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้
ดมี าก = 4 สนใจฟงั ไมห่ ลบั ไม่พดู คุยนอกประเด็น มีคำถามทด่ี ี ตอบคำถามถูกต้อง ทำงานส่งครบตรงเวลา
ดี = 3 สนใจฟงั ไมห่ ลับ พดู คุยนอกประเดน็ บา้ ง มีคำถาม ตอบคำถามถูกต้อง ทำงานสง่ ครบตรงเวลา
ปานกลาง = 2 สนใจฟัง ไม่หลับ พูดคยุ นอกประเด็นบา้ ง มีคำถาม ไม่ค่อยตอบคำถาม ทำงานสง่ ครบตรงเวลาบ้างไม่
ตรงเวลาบ้าง
ปรบั ปรงุ = 1 สนใจฟงั ไมห่ ลับ พูดคุยนอกประเด็นบา้ ง ไม่มีการตงั้ คำถามตอบคำถาม สง่ งานไม่ครบไมต่ รงเวลา
นักเรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน ใน ระดับ 2 จึงจะผา่ น
ลงชอ่ื ………………………………………………….ผสู้ งั เกต
(……………………………………..………….)
…………/…………/………..
แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ชอ่ื – สกลุ ..............................................................เลขที่...................ช้นั ...........................ปกี ารศึกษา................
-----------------------------------------------
คำชแ้ี จง ใหพ้ จิ ารณาตัวช้ีวัดต่อไปนี้แลว้ ให้ระดับคะแนนท่ีตรงกับการปฏิบตั ิของนกั เรยี นตามความเปน็ จริง
ระดับคะแนน 5 หมายถงึ ปฏบิ ัตเิ ป็นประจำทุกครงั้
ระดับคะแนน 4 หมายถงึ ปฏิบัติบ่อยครงั้
ระดับคะแนน 3 หมายถึง ปฏบิ ัติบางครั้ง
ระดบั คะแนน 2 หมายถงึ ปฏบิ ัตนิ อ้ ย
ระดับคะแนน 1 หมายถึง มีพฤตกิ รรมไมช่ ดั เจนหรอื ไม่มหี ลักฐานท่ีนา่ เช่ือถือ
ตวั ชี้วัด คะแนน
54321
ข้อ 1 รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ
1.2 ธำรงไวซ้ ึ่งความเป็นชาติไทย
1.3 ศรัทธา ยึดมั่นและปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ของศาสนา
1.4 เคารพเทิดทนู สถาบัน พระมหากษตั รยิ ์
รวมคะแนน
ขอ้ 2 ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
2.1 ประพฤติตรงตาม ความเป็นจรงิ ต่อตนเองทงั้ ทางกาย วาจา ใจ
2.2 ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ต่อผูอ้ ืน่ ทง้ั ทางกาย วาจา ใจ
รวมคะแนน
ข้อ 3 มีวินัย
3.1 ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครัว
โรงเรยี นและสังคม
รวมคะแนน
ขอ้ 4 ใฝ่เรยี นรู้
4.1 ต้ังใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้
4.2 แสวงหาความรจู้ าก แหลง่ เรียนรตู้ ่างๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน
ดว้ ยการเลือกใช้สือ่ อยา่ งเหมาะสม สรปุ เป็นองค์ความรู้
และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้
รวมคะแนน
ขอ้ 5 อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
5.1 ดาเนนิ ชีวติ อยา่ งพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มีคณุ ธรรม
5.2 มภี มู คิ ุ้มกันในตวั ท่ีดี ปรบั ตวั เพ่ืออยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
รวมคะแนน
ตัวชี้วัด คะแนน
54321
ข้อท่ี 6 มุ่งม่ันในการทำงาน
6.1 ตั้งใจและรบั ผดิ ชอบหน้าทีก่ ารทำงาน ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
6.2 ทำงานดว้ ยความเพยี รพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสำเรจ็
ตามเป้าหมาย
รวมคะแนน
ข้อ 7 รักความเปน็ ไทย
7.1 ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย
และมีความกตญั ญูกตเวที
7.2 เห็นคณุ คา่ และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
7.3 อนรุ กั ษ์ สบื ทอดภมู ปิ ญั ญาไทย
รวมคะแนน
ขอ้ 8 มีจิตสาธารณะ
8.1 ช่วยเหลือผอู้ นื่ ด้วยความเตม็ ใจโดย ไม่หวงั ผลตอบแทน
8.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชุมชน และสังคม
รวมคะแนน
รวมคะแนนทง้ั หมด
รวมคะแนนทงั้ หมดเฉลยี่ รอ้ ยละ
ระดับคณุ ภาพ
เกณฑก์ ารประเมนิ
รอ้ ยละ 80 - 100 ระดบั คุณภาพ ดเี ย่ยี ม (3)
ร้อยละ 70 - 79 ระดับคุณภาพ ดี (2)
รอ้ ยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช้ (1)
รอ้ ยละ 0 - 49 ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ (0)
สรปุ ผลการประเมนิ ผ่าน ระดบั ดเี ยยี่ ม ดี
ไม่ผา่ น ระดับ ปรับปรุง
…………………………………………………. ผปู้ ระเมิน
(………………………………………………)
ตำแหนง่ …………………………………………..
แบบบนั ทึกผลหลงั สอน
รายวิชา สังคมศกึ ษา ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวนนกั เรยี นทงั้ หมด …………. คน
ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ หนา้ ที่พลเมอื ง จำนวน 20 ช่ัวโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง STRONG / จิตพอเพียงตา้ นการทจุ รติ : ความเอ้ืออาทร เวลา 2 ชว่ั โมง
สอนวันที่........... เดือน ....................... พ.ศ ....................
1. ผลการสอนปรากฏผลดังน้ี (เขียนใหส้ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์และระบุจำนวนและร้อยละของนกั เรยี น
ทผ่ี า่ น)
1.1 ดา้ นความรู้ (K)
............................................................................................................................. .................................................
1.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
............................................................................................................................. .................................................
1.3 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A)
..................................................................................................................................................................... .........
2. ปัญหาและอุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................ ..................................................
ลงชือ่ ครูประจำวชิ า
()
วนั ที่……เดือน….…………….พ.ศ……….
ความเหน็ (ผู้บริหารหรือผ้ทู ่ไี ด้รบั มอบหมาย)
.................................................................................................................................................. ............................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่อื .......................................................
(…………………………………………..)
………………………………………………………..
................/................./................
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รหัสวิชา ส 21102 ชอ่ื รายวชิ า สังคมศกึ ษา
ช่อื หน่วยการเรียนรู้ หน้าท่ีพลเมอื ง จำนวน 20 ชั่วโมง
แผนการเรียนร้ทู ี่ 7 พลเมืองและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม เร่ือง การเคารพสิทธิหน้าที่ตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื
เวลา 2 ช่ัวโมง
สอนวันที.่ .............. เดอื น .............................. พ.ศ. .......................
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 2.1 : เข้าใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ที่ของการเป็นพลเมอื งดี มคี ่านิยมทีด่ ีงามและธำรงรักษา
ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวิตอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสันตสิ ขุ
2. ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
2. ปฏบิ ัติตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
3. ตระหนักและเห็นความสำคัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ ริต
3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
บทบาทและหน้าทข่ี องเยาวชนในการเปน็ พลเมืองดี
4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
4.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรียนบอกสิทธขิ องพลเมืองตามรัฐธรรมนญู ได้
2) นักเรยี นบอกหนา้ ท่ีของพลเมืองตามรัฐธรรมนูญได้
3) นักเรียนบอกบทบาทหน้าที่ของเยาวชนในการเป็นพลเมอื งดีได้
4.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สรปุ
4.3 ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยม (A)
1) ซือ่ สตั ย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ์ในสง่ิ ที่ดีงามเพอื่ ส่วนรวม
2) มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดีต่อผู้อืน่ เผื่อแผแ่ ละแบง่ ปัน
5. สาระการเรยี นรู้ (หลักสตู รตา้ นทุจรติ )
1) สิทธิ
2) หนา้ ที่
3) บทบาทและหนา้ ท่ีของเยาวชนในการเปน็ พลเมืองดี
6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น
6.1 ความสามารถในการส่ือสาร
6.2 ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการคิดวิเคราะห์
- ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
- ทกั ษะการคิดแก้ปัญหา
6.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
- กระบวนการทำงานกลุ่ม
- กระบวนการปฏบิ ตั ิ
7. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1) ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณใ์ นสิ่งทด่ี งี ามเพอื่ สว่ นรวม
2) มศี ีลธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผ้อู ื่น เผือ่ แผ่และแบ่งปัน
8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (การจดั การเรยี นรตู้ ามหลักสูตรต้านทุจริต)
ชั่วโมงท1ี่
ขน้ั ตอนการเรียนรู้
1. นกั เรียนชมวดี ที ัศน์ เกี่ยวกับ การเคารพสิทธิผู้อ่ืน เพ่ือให้รูแ้ ละเขา้ ใจความหมายและความสำคญั ของการ
รจู้ กั เคารพสิทธขิ องผ้อู น่ื ไมก่ ระทำการทเ่ี ป็นการละเมิดต่อผูอ้ ่ืน มเี นื้อหา คือ วางกระถางตน้ ไม้ไว้บนกาแพงที่กน้ั
ระหว่างบา้ น และรดน้าต้นไม้ ทำให้ดินไหลออกไปเลอะบา้ นทม่ี ีกาแพงติดกัน
ต้องเปล่ียนที่วางตน้ ไม้ใหม่ ที่มาของวีดีทัศน์ https://www.youtube.com/watch?v=bztZQ_hkkNs จากกรม
ส่งเสริมวฒั นธรรม
2. ครูและนักเรียนสนทนาอภิปราย เกีย่ วกบั วดี ีทศั น์ท่ีได้รบั ชม
3. ครสู มุ่ นกั เรียนประมาณ ๓ ถงึ ๔ คน ใหม้ าแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั วดี ที ศั น์ที่ชมหนา้ ชั้นเรียน
4. นกั เรียนทำใบงานเรื่องทางการปฏบิ ัติตนในการเคารพสิทธิและเสรภี าพของตนเองและผู้อื่น
5. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปถึงการเคารพสิทธิของผู้อ่นื ว่าเราไม่ควรกระทำการใดๆ ท่ีทำให้ผ้อู ่นื เดือดร้อน
ทัง้ ดา้ นรา่ งกายหรอื จติ ใจ
ชว่ั โมงที่ 2
1. แบง่ กลุม่ ออกเปน็ 6 กลุ่ม แตล่ ะกลุ่มจบั ฉลากเพ่อื เลือกเน้ือหาและใหแ้ ต่ละกลุ่มทำกจิ กรรมตามหวั ข้อที่
ได้รับมอบหมายโดยศึกษาจากใบความรู้และปฏบิ ัติ กิจกรรมท่ี 1 – 3 ดงั นี้
- เรอ่ื งสทิ ธิ
- เร่อื งหน้าที่
- เรอื่ งบทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี
2. แตล่ ะกลุม่ สง่ ตวั แทนนำเสนอผลงาน
3. ร่วมกนั สรปุ ภาพรวมของกิจกรรมในสาระของสทิ ธิ หน้าที่ ความเป็นพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตยและ
บทบาทและหน้าทขี่ องเยาวชนในการเป็นพลเมอื งดี
9. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสอื เรียน หนา้ ที่พลเมอื ง ม.4-ม.6
2) หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
3) ใบงาน
9.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งสมุด
2) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ
http://www.google.com
10. การวดั และประเมินผล
รายการประเมิน วธิ ีการวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การวัด
และประเมนิ ผล และประเมินผล และประเมนิ ผล
ด้านความรู้ (K) - ตรวจใบงาน - ใบงาน (ประเมินตามสภาพจรงิ )
รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ด้านทักษะกระบวนการ(P) - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น
การทำงานกล่มุ การทำงานกลุ่ม เกณฑ์
ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม - สงั เกตและประเมิน - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน
และคา่ นยิ ม (A) พฤติกรรมคุณลักษณะอนั พงึ อันพึงประสงค์ เกณฑ์
ประสงค์
11. ความคดิ เหน็ (ผู้บริหาร / หรือผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมาย)
ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรขู้ อง นางชบาพรรณ นรนิ ทร์ แลว้ มีความคิดเหน็ ดังน้ี
11.1 เป็นแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่
ดีมาก ดี
พอใช้ ตอ้ งปรับปรุง
11.2 การจัดกจิ กรรมการเรียนรไู้ ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
ท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั ใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
ที่ยังไมเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนำต่อไป
11.3 เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี
นำไปใชไ้ ด้สอนได้
ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้
11.4 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื .......................................................
(นายธีรนัน พิรณุ สุนทร)
รองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา
................/................./................
ใบความรู้
เร่อื ง บทบาท สิทธิ หนา้ ที่
บทบาท หมายถงึ การปฏบิ ตั ิตามสิทธิ หน้าทอี่ นั เนื่องมาจากสถานภาพของบคุ คล เน่ืองจากบุคคลมหี ลาย
สถานภาพในคนคนเดียว ฉะน้ันบทบาทของบุคคลจึงต้องปฏบิ ัติไปตามสถานภาพในสถานการณ์ตามสถานภาพนัน้ ๆ
สิทธิ เสรีภาพ และหน้าทข่ี องประชาชนชาวไทยตามรัฐธรรมนญู สิทธิ หมายถงึ สง่ิ ท่ีไม่มีรปู ร่างซ่งึ มีอยู่ใน
ตวั มนุษย์มาตั้งแตเ่ กดิ หรือเกิดขึ้นโดยกฎหมาย เพ่ือให้มนุษย์ไดร้ ับประโยชน์ และมนุษย์จะเปน็ ผเู้ ลอื กใชส้ ่ิงน้ันเอง โดย
ไมม่ ผี ใู้ ดบังคบั ได้ เชน่ สทิ ธใิ นการกิน การนอน แต่สทิ ธิบางอย่างมนุษยไ์ ด้รับโดยกฎหมายกาหนดให้มี เชน่ สทิ ธใิ นการ
มี การใชท้ รพั ยส์ นิ สิทธิในการร้องทุกขเ์ ม่ือตนถูกกระทำละเมดิ กฎหมาย เป็นตน้ เสรภี าพ หมายถึง การใชส้ ทิ ธิอย่าง
ใดอย่างหน่ึง หรือกระทำการอย่างใดอย่างหน่ึงได้อย่างอสิ ระ แต่ทั้งนจี้ ะต้องไม่กระทบต่อสิทธขิ องผูอ้ นื่ ซ่ึงหากผใู้ ดใช้
สทิ ธิเสรภี าพเกินขอบเขตจนก่อความเดือดร้อนต่อผู้อ่นื ก็ย่อมถกู ดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย หน้าที่ หมายถึง การกระทำ
หรอื การละเว้นการกระทำเพ่ือประโยชน์โดยตรงของการมีสิทธิหน้าที่เปน็ ส่ิงทีบ่ ังคับให้มนษุ ย์ในสงั คมต้องปฏิบตั ิตาม
กฎเกณฑท์ างสังคมหรือกฎหมาย บัญญตั ไิ ว้ จะไมป่ ฏิบตั ติ ามไม่ได้ ส่วนสิทธิและเสรีภาพเป็นสง่ิ ทมี่ นุษย์มีอยู่แตจ่ ะใช้
หรือไม่กไ็ ด้ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550
ใบความรู้
เรอื่ ง บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนท่ีมตี ่อสังคมและประเทศชาติ
เยาวชนกับการเปน็ สมาชิกที่ดีของสงั คมและประเทศชาติ เยาวชน หมายถงึ คนหนุ่มสาวท่ีมพี ลังอนั สำคญั ท่ี
จะสามารถช่วยกันเสริมสร้างกิจกรรมที่เป็นประโยชนต์ ่อการพัฒนาประเทศชาตใิ นอนาคต
เยาวชนที่ดี
1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ศลี ธรรมในการดาเนินชีวติ
2. เคารพสทิ ธิเสรีภาพของผูอ้ ่ืน
3. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย
4. เป็นผูท้ ่มี เี หตุผล รับฟังความคดิ เห็นของผู้อื่น
5. ปฏิบัตติ ามแบบอยา่ งวัฒนธรรมประเพณีทดี่ งี าม
6. ปฏบิ ตั ิตามกฎข้อบังคับของชุมชนอย่างเคร่งครดั
7. มคี วามกระตอื รือรน้ ทีจ่ ะเข้ามาแกป้ ัญหาและพฒั นาชุมชน
ใบงาน
เรอื่ ง แนวทางการปฏบิ ัติตนในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อ่ืน
คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นเสนอแนะแนวทางการปฏิบัตติ นในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผอู้ ื่น
แนวทางการปฏบิ ัติตน
ในการเคารพสทิ ธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อน่ื
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่
กลมุ่ ที่…………..ช้ัน………………
ชอ่ื / ความต้งั ใจ การมีส่วน
กลมุ่
ลำดับ ผนู้ ำ ความร่วมมือ การแสดง การรบั ฟัง ในการ ร่วมในการ
ท่ี เสนอ ความคดิ เห็น ความคิดเห็น ทำงาน อภิปราย รวม
งาน
สรุป
43214321432143214321
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ดีมาก = 4 ประสทิ ธิภาพอยใู่ นเกณฑ์ 90-100% หรือปฏบิ ัตบิ ่อยครงั้
ดี = 3 ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรอื ปฏิบัตบิ างครัง้
ปานกลาง = 2 ประสทิ ธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 50-69% หรือปฏิบตั ิครั้งเดียว
ปรับปรุง = 1 ประสทิ ธิภาพต่ำกวา่ เกณฑ์ 50% หรอื ไม่ปฏิบัตเิ ลย
ลงชือ่ ………………………………………………..…………….ผู้สังเกต
(…………………………………………………..………….)
……………/……………………..……/…………..……..
แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (วนิ ยั )
คำช้ีแจง : ให้ผสู้ อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั
ระดบั คะแนน
รายการประเมิน ผลการ
ประเมิน
ปฏิบัติตามข้อตกลง ตรงต่อเวลาในการ รวม
ท่ี ชือ่ -สกุล กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ปฏิบัติกิจกรรมตา่ งๆ คะ
ขอ้ บังคบั ของครอบครัว ในชีวิตประจำวัน แนน ผ่าน ไม่
โรงเรยี นและสังคม และรับผิดชอบ ผา่ น
ไมล่ ะเมิดสิทธิของผอู้ ื่น ในการทำงาน
4 3 2 1 4 32 1
…………………………………………………. ผู้ประเมนิ
(………………………………………………)
ตำแหนง่ …………………………………………..
แบบบันทึกผลหลังสอน
รายวชิ า สังคมศกึ ษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวนนกั เรียนทั้งหมด …………. คน
ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ หนา้ ท่ีพลเมอื ง จำนวน 20 ช่ัวโมง
แผนการเรียนรูท้ ี่ 7 พลเมืองและความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม เวลา 2 ช่ัวโมง
สอนวันท่ี........... เดอื น ....................... พ.ศ ....................
1. ผลการสอนปรากฏผลดงั น้ี (เขียนใหส้ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงคแ์ ละระบุจำนวนและร้อยละของนกั เรยี น
ทผ่ี า่ น)
1.1 ด้านความรู้ (K)
............................................................................................................................................................... ...............
1.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
..............................................................................................................................................................................
1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A)
..............................................................................................................................................................................
2. ปญั หาและอุปสรรค
.................................................................................................. ............................................................................
3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
ลงช่ือ ครูประจำวิชา
()
วนั ที่……เดอื น….…………….พ.ศ……….
ความเห็น (ผู้บริหารหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย)
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................. ............................................................................
ลงช่ือ.......................................................
(…………………………………………..)
………………………………………………………..
................/................./................
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8
กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รหสั วิชา ส 21102 ชื่อรายวิชา สังคมศึกษา
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ หนา้ ที่พลเมอื ง จำนวน 20 ช่ัวโมง
แผนการเรียนรู้ท่ี 8 พลเมืองและความรับผิดชอบตอ่ สังคม เรื่อง ระเบยี บ กติกา กฎหมาย
เวลา 2 ช่ัวโมง
สอนวนั ที่............... เดอื น .............................. พ.ศ. .......................
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 2.1 : เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเปน็ พลเมอื งดี มคี ่านิยมที่ดีงามและธำรงรกั ษา
ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสนั ติสขุ
2. ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
2. ปฏิบัตติ นตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
3. ตระหนกั และเหน็ ความสำคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจริต
3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
บทบาทและหน้าทขี่ องเยาวชนในการเป็นพลเมอื งดี
4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
4.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกีย่ วกับระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย และประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมือง
ดีท่มี สี ่วนร่วมในการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต
2) นกั เรียนบอกความหมายของระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมายได้
3) นักเรียนมีความรับผดิ ชอบในการปฏิบัติหนา้ ท่ีทีไ่ ดร้ ับมอบหมายดว้ ยความซ่ือสัตย์สุจรติ
4.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สรปุ
4.3 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยม (A)
1) ซอ่ื สัตย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นส่งิ ที่ดงี ามเพ่ือสว่ นรวม
2) มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวงั ดีต่อผูอ้ นื่ เผื่อแผแ่ ละแบ่งปนั
5. สาระการเรยี นรู้ (หลักสูตรตา้ นทุจรติ )
1) ความหมายของคำว่า ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย
2) ความหมายของคำว่า พลเมอื งดี
6. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น
6.1 ความสามารถในการสื่อสาร
6.2 ความสามารถในการคดิ
- ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
- ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ
- ทกั ษะการคดิ แก้ปัญหา
6.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
- กระบวนการทำงานกลมุ่
- กระบวนการปฏบิ ตั ิ
7. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1) ซ่อื สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ุดมการณ์ในสิง่ ที่ดงี ามเพ่ือส่วนรวม
2) มศี ลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวงั ดีตอ่ ผู้อน่ื เผอ่ื แผ่และแบ่งปนั
8. กจิ กรรมการเรียนรู้ (การจดั การเรยี นรตู้ ามหลักสูตรต้านทจุ รติ )
ชวั่ โมงท1่ี
ขัน้ ตอนการเรียนรู้
1. นักเรยี นชมวีดที ศั น์ เก่ยี วกับความอดทน อดกลั้น เพื่อให้รจู้ กั ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง สงั คม เคารพกฎ
กติกา เน้ือหาเปน็ การขบั รถแซงผอู้ น่ื ไปมา และไมเ่ คารพกฎจาจร โดยมที ีจ่ าก
https://www.youtube.com/watch?v=dWmZDGYtE_k จากกรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม
2. ครแู ละนักเรียนสนทนาอภิปราย เกยี่ วกับวีดีทศั น์ที่รบั ชม
3. แบ่งกลุ่มนกั เรียนออกเปน็ 4 กลุ่ม มารจู้ ัก ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย กันเถอะ ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ศึกษา
ความหมายของระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย โดยวิธีการจับสลาก จากน้ันใหต้ วั แทนกลุ่มออกมานำเสนอผลงานหน้า
ช้ันเรียน
4. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรปุ ความหมายของระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย โดยให้ความรู้เพ่มิ เตมิ ว่าถ้าทุกคน
ปฏิบัตติ นตามระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย ประเทศชาติก็จะมแี ต่ความสงบสุข
ชว่ั โมงที่ 2
1. แบ่งกลุ่มนกั เรียนออกเปน็ 4กลมุ่ ให้แต่ละกลมุ่ จับสลาก หัวขอ้ งาน 4หัวข้อ ดงั นี้
- ระเบยี บของการเข้าห้องสมุด
- ข้อตกลงในห้องเรยี น
- กตกิ ามารยาทในการรับประทานอาหาร
- แนวทางในการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดี โดยให้แต่ละกลมุ่ ช่วยกันระดมความคิด ตามหัวขอ้ ทกี่ ลุ่มตนเองจบั
สลากไดล้ งในกระดาษ flip chart
2. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอผลงานของตนเองหนา้ ชัน้ เรียน โดยมคี รคู อยให้ความรู้เพมิ่ เตมิ
9. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้
9.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน หนา้ ท่ีพลเมอื ง ม.4-ม.6
2) หนงั สอื คน้ ควา้ เพ่มิ เติม
3) ใบงาน
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งสมุด
2) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ
http://www.google.com
10. การวัดและประเมินผล
รายการประเมนิ วิธีการวัด เคร่ืองมอื วัด เกณฑ์การวัด
และประเมนิ ผล และประเมินผล และประเมินผล
ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจใบงาน - ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจริง)
รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ(P) - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน
การทำงานกลมุ่ การทำงานกลุ่ม เกณฑ์
ด้านคุณธรรม จริยธรรม - สงั เกตและประเมิน - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น
และคา่ นยิ ม (A) พฤติกรรมคุณลักษณะอันพึง อันพงึ ประสงค์ เกณฑ์
ประสงค์
11. ความคดิ เหน็ (ผู้บริหาร / หรือผูท้ ่ีได้รับมอบหมาย)
ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ของ นางชบาพรรณ นรนิ ทร์ แลว้ มีความคิดเหน็ ดังน้ี
11.1 เป็นแผนการจดั การเรียนร้ทู ี่
ดีมาก ดี
พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ
11.2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
ท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
ที่ยังไมเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนำต่อไป
11.3 เปน็ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี
นำไปใชไ้ ด้สอนได้
ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้
11.4 ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื .......................................................
(นายธีรนัน พิรณุ สุนทร)
รองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา
................/................./................
ใบความรู้
เรอื่ ง บ้านเมืองจะดีเมื่อประชาชนมรี ะเบยี บ
ระเบียบ หมายถงึ แบบแผนที่วางไว้เป็นแนวปฏบิ ัติหรือดาเนนิ การ เชน่ ระเบยี บวินยั ระเบยี บขอ้ บังคบั ต้อง
ปฏิบัตติ ามระเบียบ
"ระเบยี บวนิ ัย" คือ คณุ สมบัติทีส่ ำคญั ในการดาเนนิ ชีวิต ความสามารถของบุคคลในการควบคมุ อารมณ์ และ
พฤติกรรมของตนเอง ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีมุ่งหวงั โดยเกิดจากการสานึก ซึง่ ตอ้ งไมก่ ระทำการใดๆ อนั เปน็ ผลทำให้เกดิ
ความย่งุ ยากแก่ตนเองในอนาคต หากแตต่ ้องเป็นส่ิงที่ก่อให้เกดิ ความเจรญิ รุ่งเรืองแก่ตนเองและผู้อื่นโดยไมข่ ดั ต่อ
ระเบียบของสังคมและไม่ขดั ต่อสิทธิของผ้อู ื่น ความมีวินยั ในตนเอง สามารถควบคุมตนเองให้ปฏิบัตติ นตามระเบียบ
ขอ้ ตกลงของสังคมส่วนรวมดว้ ยความสมัครใจของผู้ปฏบิ ัตเิ อง เพอื่ ความสงบสขุ ในชวี ิตและความเป็นระเบยี บเรียบร้อย
ของสงั คม
การอยู่รว่ มกันเปน็ หมู่เหล่า ถ้าขาดระเบยี บวนิ ยั ตา่ งคนตา่ งทำตามอำเภอใจ ความขดั แยง้ และลกั ล่นั กจ็ ะ
เกดิ ขึ้น ย่งิ มากคนกย็ ง่ิ มากเรื่อง ไม่มีความสงบสขุ การงานท่ีทำกจ็ ะเสียผล
“กฎ” ตามความหมายโดยทัว่ ไปหมายถึง จดไวเ้ ป็นหลักฐาน ตรา คำบงั คับ หรือข้อกำหนดหรอื ข้อบญั ญตั ิที่
บังคบั ใหต้ ้องมีการปฏิบัตติ าม ส่วน “กฎ” ตามความหมายของกฎหมายปกครองหมายความถึง พระราชกฤษฎกี า
กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติทอ้ งถนิ่ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ หรือบทบัญญัติอื่นทม่ี ผี ลบงั คบั เป็นการทั่วไป
โดยไม่มุ่งหมายใหใ้ ชบ้ ังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเปน็ การเฉพาะ ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีปัญหามากนักในการวินิจฉยั วา่
อะไรเปน็ “กฎ” ในส่วนที่เป็นพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถน่ิ ประกาศกระทรวง แต่มีประกาศ
ระเบยี บ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติบางฉบับทีอ่ าจทำให้ฝา่ ยปกครองและประชาชนเข้าใจสบั สนวา่ เป็น “กฎ” หรือ
“คำสั่งทางปกครอง” เนือ่ งจากบทนิยามได้ให้ความหมายของคำวา่ “กฎ” หมายความรวมถงึ บทบัญญัติอืน่ ทมี่ ีผล
บงั คับเป็นการทว่ั ไปโดยไม่มงุ่ หมายใหใ้ ชบ้ ังคบั แก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ อีกด้วย
กฎ (Law) หมายถึง ทฤษฎีที่สามารถอธิบายปรากฏการณในธรรมชาตไิ ด้อย่างกวา้ งขวางเป็นเวลานานจนเป็น
ทีย่ อมรับสามารถทดสอบผลได้เหมือนเดิมทุกๆ ครัง้ โดยไม่มีข้อโตแ้ ย้งใดๆ เพราะเปน็ ความจรงิ ท่ีไมเปล่ียนแปลงการ
วิเคราะหข์ ้อมูลและสรปุ ผล
แบบประเมินผลการนำเสนองาน
เร่ือง …………………………………………………………………………………….
วชิ า……………………………………………….ชน้ั ………………. ชอ่ื …………………………………………………..เลขท…่ี ……………
ลำดบั รายการประเมิน ผู้ประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ
ท่ี ตนเอง เพื่อน ครู
รวม
1 เนื้อหา ( 4 คะแนน )
1. เนอ้ื หาครบถ้วนสมบูรณ์ คะแนน 4 : มีครบทุกขอ้
2. เน้อื หาถกู ต้อง คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ขอ้
คะแนน 2 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ
3. เนื้อหาต่อเนื่อง คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ขอ้
4. มีการค้นคว้าเพ่มิ เติม
คะแนน 2: มคี รบทุกข้อ
2 กระบวนการทำงาน ( 2 คะแนน ) คะแนน 1 : มี ไม่ครบ 4 ข้อ
1. มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน
2. การปฏบิ ตั ิตามแผน การทำงานทชี่ ัดเจน
3. ติดตามประเมินผล
4. การปรับปรงุ พัฒนำงาน คะแนน 2 : มีครบทกุ ข้อ
คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้
3 การนำเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้
1. การใชส้ านวนภาษาดีถูกต้อง คะแนน 0.5 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ขอ้
2. การสะกดคาและไวยากรณ์ถกู ตอ้ ง
3. รปู แบบนา่ สนใจ คะแนน 2 : มีครบทกุ ขอ้
4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้
คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้
4 คุณธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ
1. ตรงต่อเวลา
2. ซื่อสัตย์ รวม 10 คะแนน
เฉลี่ย
3. ความกระตือรือร้น
4. ความมนี ้ำใจ
ลงชื่อผปู้ ระเมนิ …………………………………….……….. ตนเอง
ลงชอ่ื ผู้ประเมนิ …………………………….……………….. เพอื่ น
ลงช่ือผู้ประเมิน………………………….………………….. ครู
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
กลมุ่ ..........................................................................................................
สมาชิกในกลมุ่
1. ......................................................................
2. ......................................................................
3. ......................................................................
4. ......................................................................
5. ......................................................................
6. ......................................................................
พฤติกรรมทีส่ ังเกต คะแนน คะแนน คะแนน
3 2 1
1. มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น
2. มคี วามกระตอื รือรน้ ในการทำงาน
3. รบั ผิดชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
4. มขี ัน้ ตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ
5. ใช้เวลาในการทำงานอยา่ งเหมาะสม
รวม
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ทำเปน็ ประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมท่ีทำเปน็ บางครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมทท่ี ำนอ้ ยครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้ ระดบั
คะแนน ชว่ ง คุณภาพ
คะแนน
13-15 ดี
8-12 ปานกลาง
5-7 ปรบั ปรุง
แบบประเมิน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (วินยั )
คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี
ตรงกบั ระดับคะแนน
รายการประเมนิ ผลการประเมิน
ผา่ น ไม่ผ่าน
ปฏิบตั ติ าม ตรงต่อเวลาใน
รวม
ท่ี ช่อื -สกุล ข้อตกลง การปฏบิ ัติ คะแนน
กฎเกณฑ์ กิจกรรมต่างๆ
ระเบยี บ ใน
ขอ้ บังคบั ของ ชวี ิตประจำวัน
ครอบครอบ และรบั ผดิ ชอบ
โรงเรียนและ ในการทำงาน
สังคม ไม่
ละเมดิ สิทธิของ
ผ้อู ่ืน
43214321
…………………………………………………. ผปู้ ระเมิน
(………………………………………………)
ตำแหนง่ …………………………………………..
แบบบันทึกผลหลงั สอน
รายวิชา สังคมศึกษา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 จำนวนนักเรียนท้งั หมด …………. คน
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ หน้าท่ีพลเมือง จำนวน 20 ชั่วโมง
แผนการเรยี นร้ทู ี่ 8 เรอ่ื ง การเคารพสทิ ธิหน้าทตี่ อ่ ตนเองและผอู้ น่ื เวลา 2 ชว่ั โมง
สอนวันที่........... เดอื น ....................... พ.ศ ....................
1. ผลการสอนปรากฏผลดังน้ี (เขียนให้สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์และระบุจำนวนและร้อยละของนกั เรียน
ทผ่ี า่ น)
1.1 ดา้ นความรู้ (K)
.................................................... .......................................................................................................... ................
1.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
..............................................................................................................................................................................
1.3 ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยม (A)
...................................................................................... ........................................................... .............................
2. ปญั หาและอุปสรรค
......................................................... ........................................................................................... ..........................
3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
................................................................................................................ ..............................................................
ลงชอื่ ครูประจำวิชา
()
วนั ท่ี……เดอื น….…………….พ.ศ……….
ความเหน็ (ผู้บรหิ ารหรือผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย)
..............................................................................................................................................................................
......................................................... ........................................................................................... ..........................
ลงชือ่ .......................................................
(…………………………………………..)
………………………………………………………..
................/................./................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 รหสั วิชา ส 21102 ช่อื รายวิชา สังคมศกึ ษา
ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ หนา้ ที่พลเมือง จำนวน 20 ชั่วโมง
แผนการเรียนรูท้ ่ี 9 พลเมืองและความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและผูอ้ ่นื เวลา 2 ชว่ั โมง
สอนวันที.่ .............. เดือน .............................. พ.ศ. .......................
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 : เขา้ ใจและปฏิบตั ติ นตามหนา้ ที่ของการเปน็ พลเมืองดี มีค่านยิ มท่ดี ีงามและธำรงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยูร่ ่วมกันในสงั คมไทยและสังคมโลกอยา่ งสันตสิ ขุ
2. ผลการเรยี นรู้
1) มคี วามรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
2) ปฏิบัติตนตามหนา้ ที่พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
3) ตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ ริต
3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
บทบาทและหน้าทข่ี องเยาวชนในการเป็นพลเมอื งดี
4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
4.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นกั รียนบอกความหมายของความรับผดิ ชอบได้
2) นกั เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ยี วกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อนื่
3) นกั เรยี นประพฤติปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีท้ังรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและผู้อื่น
4.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
1) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สรปุ
4.3 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม (A)
1) ซอ่ื สตั ย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ์ นสิง่ ท่ดี งี ามเพ่ือสว่ นรวม
2) มศี ลี ธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดีตอ่ ผู้อ่ืน เผ่อื แผ่และแบ่งปัน
5. สาระการเรียนรู้ (หลักสตู รต้านทุจริต)
1) ความหมายของคำว่า ความรับผิดชอบ
2) แนวทางประยุกต์ความรับผดิ ชอบมาใช้ในการดำเนินชวี ิต
6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน
6.1 ความสามารถในการสอื่ สาร
6.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
- ทกั ษะการคิดแก้ปัญหา
6.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
- กระบวนการทำงานกลมุ่
- กระบวนการปฏิบตั ิ
7. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1) ซื่อสัตย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณใ์ นสิ่งทีด่ งี ามเพอื่ ส่วนรวม
2) มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวงั ดตี อ่ ผ้อู นื่ เผ่อื แผ่และแบง่ ปัน
8. กจิ กรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รต้านทุจริต)
ช่วั โมงท1ี่
ขนั้ ตอนการเรียนรู้
1. ครเู ล่านทิ านเรือ่ ง กระต่ายนอ้ ยเก่ยี งงาน ซง่ึ เป็นนทิ านคุณธรรมเก่ียวกบั ความรบั ผิดชอบ
2. ครแู ละนักเรยี นสนทนาอภิปรายซักถาม เกี่ยวกบั นิทานที่ฟงั ถา้ นักเรยี นเปน็ กระต่ายน้อยทัง้ สองตัว
นักเรียนจะปฏบิ ัติตนอย่างไรไม่ให้เกดิ ปัญหาเหมือนกระต่ายน้อยทงั้ สอง
3. แบง่ นกั เรียนออกเปน็ 3 กล่มุ แจกใบความรู้ เรื่อง ความรบั ผิดชอบ คอื อะไร สำคญั ไฉน ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่
ศึกษา และร่วมกันสรุปองค์ความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการศึกษาใบความรู้ เสร็จแลว้ เขียนลงในกระดาษเอ 4 ท่ีครแู จกให้ จากนน้ั
ใหต้ ัวแทนกล่มุ ออกมานำเสนอผลงาน
4. ครูและนกั เรียนช่วยกันสรุปถงึ ความหมายของคำว่าความรบั ผดิ ชอบ
ชั่วโมงที่ 2
1. แบง่ นักเรยี นออกเป็น 2 กลมุ่ ใหห้ ัวหนา้ กลุ่มจบั สลากหัวข้องานดังน้ี
- ความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง
- ความรับผดิ ชอบต่อผู้อ่ืนสังคม
2. นกั เรียนทัง้ สองกลมุ่ ช่วยกันระดมความคิดเขยี นงานลงในกระดาษ flip chart ให้วาดภาพประกอบดว้ ย
3. ทัง้ สองกลมุ่ นำเสนอผลงานหน้าช้นั เรยี น
4. ครแู ละนักเรยี นสนทนา อภิปรายสรุป
9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้
9.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรยี น หน้าทพี่ ลเมอื ง ม.4-ม.6
2) หนงั สือคน้ ควา้ เพิ่มเติม
3) ใบงาน
9.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ
http://www.google.com
10. การวดั และประเมินผล
รายการประเมนิ วิธีการวดั เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารวดั
และประเมินผล และประเมนิ ผล และประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจใบงาน - ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจริง)
ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ด้านทักษะกระบวนการ(P) - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน
การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม เกณฑ์
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม - สงั เกตและประเมนิ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น
และคา่ นยิ ม (A) พฤติกรรมคุณลกั ษณะอันพึง อนั พึงประสงค์ เกณฑ์
ประสงค์
11. ความคดิ เหน็ (ผู้บริหาร / หรือผทู้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย)
ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางชบาพรรณ นรินทร์ แลว้ มีความคิดเหน็ ดังน้ี
11.1 เป็นแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรงุ
11.2 การจัดกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ด้นำเอากระบวนการเรียนรู้
ทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั ใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
ท่ยี ังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนำต่อไป
11.3 เป็นแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี
นำไปใชไ้ ด้สอนได้
ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้
11.4 ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื .......................................................
(นายธีรนัน พิรณุ สนุ ทร)
รองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา
................/................./................
ใบความรู้
นิทานคณุ ธรรมความรบั ผดิ ชอบ
เรื่อง กระต่ายน้อยเก่ียงงาน
ณ ปา่ ใหญ่แห่งหนึง่ มคี รอบครัวกระตา่ ยครอบครวั หนึง่ อาศัยอยู่ในโพรงไม้ใหญ่ใกล้ๆ กับธารน้ำเลก็ ๆ
กระต่ายครอบครวั น้ีนับได้ว่าเป็นผ้มู คี วามสำคญั กบั ป่าไมแ้ ห่งน้ีมาก เพราะกระต่ายผเู้ ปน็ พ่อ มีตำแหนง่ เปน็ ถึงท่ี
ปรึกษาด้านสขุ ภาพใหแ้ กส่ ิงโตเจา้ ปา่ สว่ นกระต่ายผู้เป็นแมก่ ็ต้องไปประชมุ หารือกบั กลุ่มแม่บ้านสตั วป์ า่ เป็นประจำ
ดว้ ยเหตนุ ที้ ้ังพ่อและแมก่ ระต่ายจงึ ต้องออกไปทำงานนอกบ้านทุกวัน และจำต้องทิ้งให้ลกู นอ้ ยท้งั สอง คือกระตา่ ย
พ่ีสาวกับกระต่ายน้องชาย เล่นกนั อยูใ่ นบ้านโพรงกระต่ายตามลาพังสองตัว อยู่มาวันหนง่ึ พ่อกระตา่ ยสงั เกตเหน็ ว่า
บ้านโพรงกระต่ายของตนไมค่ ่อยเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยเทา่ ทคี่ วร จึงยกเรื่องนมี้ าพดู คุยกับแม่กระตา่ ยก่อนเข้านอนว่า
“เธอว่าไหมจ๊ะแม่กระตา่ ย เด๋ียวนี้บา้ นของเราไม่ค่อยเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยเหมอื นแต่ก่อนเลยนะ” “โอ้” แม่กระตา่ ย
รอ้ งอย่างละอายใจ “เปน็ ความบกพร่องของฉนั เองจะ้ ช่วงนี้ฉนั งานยงุ่ มากจนไม่มีเวลาดูแลบ้านโพรงกระต่ายของเรา
ใหส้ วยงามดังเดิม ฉันสญั ญาวา่ จะปรบั ปรุงตวั เองจะ้ ” “อยา่ พดู อย่างนั้นเลย แม่กระตา่ ยท่ีรัก เพราะฉันไมไ่ ด้คดิ จะติ
เตยี นเธอแต่อย่างใด ความจริงงานบา้ นเปน็ งานท่ีหนกั มาก ฉนั เองต่างหากที่ตอ้ งละอายแกใ่ จ เพราะไม่เคยไดช้ ว่ ยเธอ
ทำงานบ้านเลย แลว้ ตอนนเ้ี ธอกง็ านยุ่งมากจนแทบไมม่ ีเวลาพักผ่อน จะเอาแรงทไ่ี หนมาดแู ลบ้านช่องได้เหมือนแต่
ก่อนเลา่ ” พอ่ กระต่ายปลอบขวญั ภรรยาสุดท่ีรัก “ถึงอย่างน้ันก็เถอะ แม่กระตา่ ย การที่เธองานยุ่งมากอยา่ งน้ีทำใหฉ้ ัน
นกึ อะไรขน้ึ มาได้ แลดลู กู ๆ ของพวกเราสิ เขาทัง้ สองเติบโตมากแลว้ แต่เรายงั ไมเ่ คยสอนใหล้ ูกเรารู้จกั ทำงานทเี่ ป็น
ประโยชนต์ ่อผู้อื่นบา้ งเลย ฉันว่านา่ จะเปน็ การดนี ะ หากเราจะสอนให้ลกู ๆ ทำงาน โดยเร่ิมจากงานบา้ นของเราเอง”
พ่อกระตา่ ยเสนอความเหน็ “เป็นความคดิ ทว่ี เิ ศษมาก แต่ลูกๆ ของเราไมเ่ คยทำงาน เขาจะทำไดด้ ีหรือจ๊ะ” “เขาคงทำ
ไดไ้ ม่ดีนักหรอก และคงจะสรา้ งความเหนอื่ ยหน่ายใหแ้ ก่เรามากทเี ดียวในตอนแรก แตน่ ั่นย่ิงทำให้เราต้องมอบหมาย
งานและสอนการทำงานท่ีถูกตอ้ งแก่เขา หากไม่เริม่ เสียแต่ตอนน้ี เขาก็จะทำอะไรไมเ่ ป็นเลยเมอ่ื โตข้ึน ใครจะอยากได้
คนทำอะไรไมเ่ ป็นไปร่วมสังคมดว้ ยละ่ จรงิ ไหม” พ่อกระต่ายกล่าว เช้าวนั รุ่งขึ้น แมก่ ระตา่ ยจงึ เรียกลกู ท้ังสองมาพูดคุย
ในเรอื่ งดังกลา่ ว กระต่ายพีน่ ้องไม่เคยทำงานบ้านท้ังคู่ และรู้ว่าเปน็ งานท่เี หนอ่ื ยมากทีเดยี ว อย่างไรกต็ าม กระต่ายท้ัง
คกู่ ็รกั และเชื่อฟังพ่อแมก่ ระต่าย จงึ คดิ วา่ ถ้าพวกตนทำงานบา้ นก็จะชว่ ยบรรเทาความเหน่ือยลา้ ของพ่อกับแม่ได้ ดงั นั้น
ทง้ั คู่จงึ รบั ปากแม่กระตา่ ยว่าจะช่วยทำงานบ้านทุกอย่างแทนแม่กระต่ายเอง แต่แม่กระต่ายไม่ไดใ้ จรา้ ยกับลูกๆ ขนาด
นน้ั เธอคิดวา่ จะค่อยๆ มอบหมายงานให้ลูกรับผดิ ชอบไปทีละอย่างก่อน เพ่ือดูลักษณะการทำงานของลกู ๆ และชแี้ นะ
จดุ บกพร่องให้แก้ไขไปทีละจดุ ด้วยเหตุนี้ งานชนิ้ แรกที่แม่กระตา่ ยมอบให้กระต่ายพีน่ ้องทำก็คือ งานล้างจานและ
รกั ษาความสะอาดในห้องครัว กระต่ายพี่นอ้ งช่วยทำงานทแี่ ม่กระต่ายมอบหมายได้สามวัน ตา่ งคนต่างกร็ ้สู กึ ว่าตนเอง
ทำงานมากกว่าอกี คนหนึง่ จงึ เกดิ การโต้เถยี งกันขนึ้ อยา่ งรุนแรง สดุ ท้ายกระต่ายผพู้ ี่ก็เอย่ แนวทางแกป้ ัญหาวา่ ใหจ้ ด
รายช่อื งานทัง้ หมด แล้วแบ่งกันทำให้ชดั เจนไปเลยแล้วกนั กระตา่ ยน้องชายก็เหน็ ดว้ ย ท้ังสองจงึ จดรายช่ืองานท่ีต้อง
ทำทัง้ หมดแลว้ ตกลงกนั ว่าใครจะทำส่งิ ใด กระต่ายพ่ีสาวรับงานจัดเตรียมโตะ๊ อาหาร สว่ นกระต่ายน้องชายบอกว่าจะ
เกบ็ กวาดโตะ๊ อาหารเอง เมื่อกระต่ายพ่สี าวลา้ งจาน น้องชายก็รบั หนา้ ทเ่ี ช็ดจานและเกบ็ เขา้ ตู้ นอกจากนัน้ ยงั มงี าน
จกุ จกิ มากมายในครวั ท่ที ้งั สองพยายามแบ่งกันทำ การแบ่งงานกันทำเช่นน้ี มองผวิ เผนิ แล้วน่าจะเป็นไปด้วยดี แต่พอ
ทำเขา้ จรงิ ๆ กลับไมส่ ำเร็จตามเวลาทคี่ วรจะเปน็ เพราะกระต่ายน้อยทงั้ สองไมไ่ ด้มงุ่ มั่นในงานของตน เอาแตจ่ ับตาดู
อีกฝ่ายหนึง่ ว่ากาลงั ทำอะไร และทำเตม็ ท่ีตามหนา้ ที่ของตนเองหรอื ไม่ “แม่จ๋า” กระต่ายพสี่ าวว่ิงโรเ่ ขา้ ไปฟ้องแม่
กระตา่ ยในวนั หนึง่ “มจี านอยู่บนโต๊ะอีกใบหนึ่ง แตน่ ้องกระต่ายจอมเกยี จคร้านไมย่ อมหยิบไปวางที่อา่ งล้างจาน อยา่ ง
นล้ี ูกก็ล้างจานไมไ่ ดส้ ักทสี ิจ๊ะ” “ลูกก็หยิบไปไว้เองสจิ ๊ะ” แม่กระต่ายกล่าวอย่างไม่เหน็ เป็นเรือ่ งสลกั สาคญั “โธ่ แมจ่ ๋า
น่นั ไม่ใช่งานของลูกสักหนอ่ ย มันเปน็ งานของน้องต่างหาก เราแบ่งหน้าที่กันแลว้ กต็ ้องทำตามท่ตี กลงกันไว้สิ” แล้ว
ชามใบน้ันกต็ ้ังอยทู่ เี่ ดิมรอกระต่ายนอ้ งชายมาหยิบมันไป ฝา่ ยกระตา่ ยพ่สี าวก็รอจานจากน้องชายอยู่อยา่ งนั้น กวา่ จะ
ได้ลา้ งจานก็ปรากฏวา่ จานของหลายๆ ม้ือสมุ รวมกนั เปน็ กองพะเนนิ ซ่ึงทำใหต้ ้องลา้ งจานเปน็ จานวนมากและใชเ้ วลา
มากขนึ้ ดว้ ย ดังน้ัน น้องชายผู้มีหน้าที่เชด็ ถว้ ยชามกเ็ ลยต้องน่ังรอให้พ่ีสาวล้างจานให้เสร็จกอ่ น จงึ จะเช็ดจานชามและ
นำเขา้ เกบ็ ในตูไ้ ด้ ซ่ึงทำให้กระต่ายน้องชายต้องนั่งเช็ดจนดึกดนื่ อยบู่ ่อยๆ นอกจากพ่ีสาวจะเกี่ยงงานแล้ว กระตา่ ย
นอ้ งชายกเ็ ก่ียงงานเชน่ กัน หากเขากาลงั กวาดพื้นครวั และเหน็ เศษขยะตกอยใู่ นอ่างล้างจาน เขากจ็ ะกวาดสายตาผ่าน
ไปเหมือนมองไมเ่ ห็น เพราะอ่างล้างจานเปน็ ความรับผดิ ชอบของกระต่ายพ่สี าว ขยะที่ตกอยู่จึงทำให้เกดิ การอุดตนั ทำ
ให้พ่อกระตา่ ยต้องมาซ่อมใหอ้ ยูห่ ลายครงั้ บรรยากาศในบ้านเร่ิมเศร้าหมอง เพราะมีแต่เสียงรอ้ งเกย่ี งงานกนั จากลกู ทั้ง
สอง พ่อแม่กระต่ายเฝ้ามองพฤติกรรมของลูกอยู่พกั หน่ึง จนเหน็ ว่าไม่มีอะไรพฒั นาไปในทางทด่ี ี พอ่ กระตา่ ยจึงสง่
สญั ญาณให้แมก่ ระต่ายรวู้ า่ ถึงเวลาทคี่ วรจะจดั การอะไรสกั อย่างได้แล้ว วนั หน่ึง แม่กระต่ายจงึ เรยี กลกู กระต่ายเข้ามา
พูดคยุ ในเรื่องนี้ “การทีล่ ูกท้งั สองแบ่งงานกนั ทำเป็นเร่ืองที่ดี แตไ่ มใ่ ชว่ ธิ ที ี่ลูกกาลงั ทำอยู่ตอนน้ี เพราะเราเปน็ คนใน
ครอบครวั เดยี วกัน เราต้องรักและชว่ ยเหลือกนั ไมใ่ ชแ่ บ่งงานกนั ทำโดยไม่เหลยี วแลคนอื่น หากลกู ยังทำเช่นน้ตี ่อไป
ในไมช่ า้ เราคงตอ้ งจ้างคุณทนายความมาช่วยตัดสนิ ว่าใครจะทำงาน และต้องทำเมือ่ ไร จะลงโทษเขาอยา่ งถา้ เขาทำงาน
บกพร่อง นน่ั ดเู หมือนวา่ เรามีกฎหมายท่ีปราศจากความรู้สึก ซ่งึ ถา้ เปน็ สังคมภายนอก เราอาจต้องทำเช่นนั้น แตน่ ี่คือ
บา้ นของเรา ลกู คือลกู ของพอ่ แม่และลูกสองคนเปน็ พน่ี ้องกัน เราทุกคนช่วยกนั ทำงานเพราะเรารกั กัน ไม่ดียงิ่ กวา่
หรอื ” “ถา้ เช่นน้ัน ลกู มิตอ้ งทำทุกอย่างหมดเลยหรือ ถ้าลกู คดิ เช่นนั้น แต่พ่ีกระตา่ ยไม่คิดเช่นลกู แล้วไม่หยบิ จบั อะไร
เลย ลกู ก็ต้องทำทุกอย่างคนเดียวสจิ ๊ะแม”่ น้องชายครา่ ครวญ “ไมห่ รอกลูก ลกู ไมต่ ้องทำงานหมดทุกอยา่ ง พ่ีกระต่าย
จะช่วยลกู ทำงานทุกอย่าง เพราะพร่ี ักลูก และไม่อยากให้ลูกทำงานเหนื่อยเกินไป ลกู เองก็จะชว่ ยพเ่ี ขาเช่นกนั จะไมม่ ี
ใครคดิ ว่า ใครต้องทำงานมากกว่าใคร แต่ลกู ต้องคิดว่า จะทำอย่างไรจงึ จะช่วยแบ่งเบาภาระของพ่ีหรือน้อง ไม่ให้
เหนือ่ ยเกนิ ไปมากท่ีสดุ ถา้ ลูกๆ เปล่ียนวิธคี ดิ และปฏบิ ัติได้อย่างนี้ งานของลูกกจ็ ะเสรจ็ เรยี บร้อยดที ัง้ สองคน”
กระต่ายพี่นอ้ งมองหนา้ กนั ครู่หนึง่ แล้วกระตา่ ยพี่สาวก็พูดข้นึ ว่า “กไ็ ด้จ้ะแม่ ลกู จะลองทำงานโดยคิดแบบน้นั ดูก็ได้
เพราะลูกก็ไม่อยากทะเลาะกับน้องนักหรอก” แม่หันไปหานอ้ งชาย “ลูกก็เต็มใจทจี่ ะลองดู” กระต่ายนอ้ งชายตอบ
“ดแี ลว้ ลกู ” แม่กระต่ายกล่าวพลางโอบกอดลูกทง้ั สอง “เราจะปฏิบัตติ ามวธิ ีใหมน่ ี้ คือให้เราชว่ ยกนั ทำงานเพราะความ
รัก ไมใ่ ช่เพราะถูกบังคับ ความรักนนั้ จำเปน็ สาหรบั ครอบครวั เรามากท่ีสุด จำไวเ้ ถดิ ลกู รัก” ลูกกระต่ายพากันหวั เราะ
เป็นเรื่องดีทีเดยี วสาหรบั ครอบครวั กระต่ายที่ไดย้ นิ เดก็ ทั้งสองหวั เราะอีก หลังจากนัน้ กระตา่ ยพ่นี ้องกป็ ฏิบัติตาม
ความคิดของแม่กระต่าย และรู้สึกว่าวธิ ีน้ีช่วยใหพ้ วกเขาทำงานไดส้ ำเร็จเรยี บร้อย ท้ังยังรักษาความสุขในครอบครวั ไว้
ได้อีกดว้ ย บทสรุปของผแู้ ตง่ เธอท้ังหลาย ว่ากันถงึ เร่ืองการทำงานแล้ว การแบง่ งานกันทำเปน็ เรือ่ งที่ดีมาก แตห่ ากทำ
เพียงความรบั ผิดชอบของตน โดยเก่ียงท่ีจะชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืนแลว้ ก็อยา่ ทำเสียเลยจะดีกว่า เพราะการทำงานแบบน้ีไม่
ช่วยใหเ้ ธอเรยี นรอู้ ะไรมากข้ึน ยิ่งไปกวา่ นนั้ ยังทำใหเ้ ธอกลายเป็นคนใจคอคบั แคบมากเกินไป ลองคิดดสู ิวา่ การจะ
สรา้ งสรรคผ์ ลงานช้ันดสี ักชนิ้ หนึ่งนั้น จะตอ้ งเกดิ จากองคป์ ระกอบช้ันดีหลายๆ ประการมาอยรู่ ่วมกนั หากเธอมงุ่ มน่ั ใน
งานของตนเองโดยไมส่ นใจช่วยเหลือคนอ่ืนเลย ถึงเธอจะทำงานสว่ นของเธอได้ดีแค่ไหน แตถ่ า้ ส่วนอื่นๆ ใช้ไม่ได้
ภาพรวมของงานชน้ิ นนั้ จะออกมาได้ดีได้อยา่ งไร ถ้าเป็นเชน่ น้ันจริง เธอจะไมเ่ สยี แรงไปเปลา่ ๆ หรือ ท้งั หมดนี้ไม่ได้
หมายความว่า เธอต้องทุ่มเทแรงกายแรงใจเพื่อชว่ ยคนอน่ื ตลอดเวลา แต่หมายความว่าให้ปฏิบตั ิหนา้ ที่สว่ นของตนเอง
ให้ดที ีส่ ุด จนเม่ือเธอพร้อมจะหยบิ ยืน่ ความช่วยเหลอื ใหผ้ อู้ ื่นแล้ว เธอจึงคอ่ ยเขา้ ไปใหค้ วามช่วยเหลือแกเ่ ขาในส่วนที่
เขาต้องการจริงๆ ท่ีสำคัญคือเธอต้องช่วยเพราะมีใจรักท่ีจะช่วย มิใช่ช่วยเพราะกลวั คนอ่ืนกลา่ วหาว่าเธอไมช่ ่วย หาก
เธอพยายามทำหนา้ ที่ของตนเองใหด้ แี ละมีใจรักท่ีจะช่วยผู้อนื่ เชน่ น้ี งานของเธอกจ็ ะประสบความสำเรจ็ ตามความ
ตัง้ ใจได้ไม่ยาก
ใบความรู้
เรือ่ ง ความรบั ผดิ ชอบ คอื อะไร สำคญั ไฉน
ความรบั ผิดชอบ/รบั ผดิ /รบั ชอบ สำคัญทีส่ ดุ ตองเขาใจความหมายของคำวา “ความรบั ผดิ ชอบ” ให้ถกู ตอง
ขอให้เขาใจวา “รบั ผิด” ไมใ่ ช่การรับโทษหรอื ถกู ลงโทษ “รับชอบ” ไม่ใช่รางวัลหรือรบั คำชมเชย การรูจักรบั ผิด หรือ
ยอมรบั วา อะไรผดิ พลาดเสยี หาย และเสยี หายเพราะอะไร เพียงใดนัน้ มปี ระโยชน ทำให้บคุ คลรจู ักพจิ ารณาตนเอง
ยอมรับความผิดของตนเองโดยใจจริง เป็นทางท่จี ะชวยแกไขความผดิ ไดและให้รูวาจะตองปฏบิ ตั ิแกไข่ใหม่ สวนการรู
จักรับชอบหรอื รูวา่ อะไรถูก อันไดแกถกู ตามความมงุ หมาย ถกู ตามหลักวิชา ถกู ตามวิธกี ารน้ัน มปี ระโยชนทำให้ทราบ
แจงวา จะทำให้งานเสร็จสมบูรณ์ได้อย่างไร จักไดถอื ปฏิบัติตอไป .…….......... ความรับผิดชอบ คือ หนาท่ีทไ่ี ดรับ
มอบหมายให้ทำ จะหลีกเลี่ยง ละเลยไมได
(พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปริญญาบตั รของมหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร: 16 กรกฎาคม 2519)
ประเภทของความรับผิดชอบตามลักษณะความหมายมีดงั น้ี
1. ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง
2. ความรับผิดชอบต่อผู้อ่ืนและสังคม
ซง่ึ แตล่ ะประเภทมรี ายละเอยี ดดงั นี้
1. ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง หมายถงึ การรบั ร้ฐู านะและบทบาทของตนท่เี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของสังคม ซ่ึงจะต้อง
ดารงตนอยู่ในสภาพท่ีชว่ ยเหลือตนเองได้ โดยทีบ่ ุคคลควรจะวเิ คราะห์และแยกแยะว่าสง่ิ ใดถูกหรือผดิ เหมาะสมหรือไม่
และมคี วามสามารถทจ่ี ะเลือกตดั สินใจในการเปน็ ท่ียอมรับของสังคม ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง แบง่ ได้เปน็
1.1 ความรับผดิ ชอบในด้านการรกั ษาสุขภาพอนามยั ของตนเองคือ สามารถเอาใจ
ใสแ่ ละระมัดระวงั สุขภาพอนามัยของตนเอง ใหม้ คี วามสมบูรณแ์ ข็งแรงอย่เู สมอ
1.2 ความรับผดิ ชอบในการหาเครื่องอปุ โภคบริโภคคอื สามารถจัดหาและดูแลเครื่องใช้สว่ นตวั ใหเ้ ป็นระเบยี บ
เรียบรอ้ ย อย่ใู นสภาพท่สี ามารถใช้งานไดเ้ หมาะสม
1.3 ความรับผดิ ชอบในดา้ นสติปัญญาและความสามรถคือ ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนใฝห่ าความรูต้ า่ งๆ การฝึกฝน
ตนเองในด้านประสบการณ์ตา่ งๆ
1.4 ความรับผิดชอบในดา้ นความประพฤติคือรู้จกั ประพฤติใหเ้ หมาะสม เป็นผู้มรี ะเบยี บวินัย ดารงตนให้อยู่ใน
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.5 ความรับผดิ ชอบในดา้ นมนุษย์สัมพันธค์ ือ รู้จักทจ่ี ะปรับตัวใหอ้ ยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างเหมาะสม
1.6 ความรบั ผดิ ชอบในด้านเศรษฐกิจส่วนตวั คือรจู้ ักวางแผนและประมาณการใชจ้ ่ายของตน โดยยดึ หลักการ
ประหยดั และอดออม
1.7 ความรับผดิ ชอบเรอ่ื งการงาน คือ เม่ือได้รับมอบหมายใหท้ ำกิจใดกต็ อ้ งทำให้เรียบร้อยภายในเวลาท่ี
กำหนด
1.8 ความรบั ผดิ ชอบต่อการกระทำของตน คอื ยอมรับผลการกระทำของตนทัง้ ผลดหี รือ ในด้านท่เี กดิ ผล
เสยี หาย
2. ความรบั ผิดชอบต่อผู้อ่ืนและสังคม หมายถึง ภาระและหนา้ ทีข่ องบุคคลซึ่งเกีย่ วข้องและมีสว่ นร่วมตอ่ สวัสดิ
ภาพของสังคมทต่ี นเปน็ สมาชิก ดว้ ยเหตุทบ่ี ุคคลทุกคนเป็นส่วนประกอบของสงั คมไมว่ ่าจะเปน็ สงั คมขนาดเล็ก จนถึง
สงั คมขนาดใหญไ่ ด้แก่ครอบครัว ชน้ั เรียน สถานศกึ ษา ชมุ ชน และประเทศชาตติ ามลำดบั
แบบประเมินผลการนำเสนองาน
เรอื่ ง …………………………………………………………………………………….
วิชา……………………………………………….ชน้ั ………………. ชอ่ื …………………………………………………..เลขท…่ี ……………
ลำดับ รายการประเมิน ผปู้ ระเมิน เกณฑก์ ารประเมิน
ท่ี ตนเอง เพื่อน ครู
รวม
1 เน้ือหา ( 4 คะแนน )
1. เนือ้ หาครบถ้วนสมบรู ณ์ คะแนน 4 : มีครบทุกขอ้
2. เนอ้ื หาถูกตอ้ ง คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
คะแนน 2 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ข้อ
3. เนื้อหาต่อเนอื่ ง คะแนน 1 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ
4. มีการค้นคว้าเพ่มิ เตมิ
คะแนน 2: มีครบทุกขอ้
2 กระบวนการทำงาน ( 2 คะแนน ) คะแนน 1 : มี ไม่ครบ 4 ขอ้
1. มีการวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน
2. การปฏิบตั ติ ามแผน การทำงานที่ชัดเจน
3. ตดิ ตามประเมินผล
4. การปรบั ปรงุ พัฒนำงาน คะแนน 2 : มีครบทกุ ข้อ
คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ
3 การนำเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้
1. การใชส้ านวนภาษาดถี กู ต้อง คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ขอ้
2. การสะกดคำและไวยากรณ์ถูกตอ้ ง
3. รูปแบบนา่ สนใจ คะแนน 2 : มีครบทกุ ข้อ
4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ขอ้
คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ข้อ
4 คณุ ธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ขอ้
1. ตรงตอ่ เวลา
2. ซื่อสัตย์ รวม 10 คะแนน
เฉลี่ย
3. ความกระตือรือรน้
4. ความมีน้ำใจ
ลงชื่อผปู้ ระเมนิ …………………………………….……….. ตนเอง
ลงชื่อผ้ปู ระเมนิ …………………………….……………….. เพอื่ น
ลงช่ือผู้ประเมนิ ………………………….………………….. ครู
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
กลมุ่ ..........................................................................................................
สมาชกิ ในกลมุ่
1. ......................................................................
2. ......................................................................
3. ......................................................................
4. ......................................................................
5. ......................................................................
6. ......................................................................
พฤติกรรมที่สังเกต คะแนน คะแนน คะแนน
3 2 1
1. มีส่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น
2. มคี วามกระตอื รือร้นในการทำงาน
3. รับผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย
4. มขี นั้ ตอนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ
5. ใชเ้ วลาในการทำงานอย่างเหมาะสม
รวม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
พฤติกรรมทท่ี ำเปน็ ประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมท่ที ำเป็นบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมท่ีทำน้อยครงั้ ให้ 1 คะแนน
ระดับ
เกณฑก์ ารให้ คุณภาพ
คะแนน ชว่ ง
คะแนน
13-15 ดี
8-12 ปานกลาง
5-7 ปรับปรุง
แบบสงั เกตพฤติกรรม
คำช้ีแจง ทำเคร่อื งหมาย √ ลงในช่องทต่ี รงกบั ความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมิน
เอาใจใส่ตอ่ การ ต้ังใจและ ท่มุ เททำงาน
เลข ปฏบิ ัติหน้าที่ท่ี รับผิดชอบ อดทนไมย่ ่อ รวม ผลการ
ที่ ไดร้ ับมอบหมาย ในการ ทอ้ ต่อปัญหา คะแนน ประเมนิ
ทำงานให้ และอปุ สรรค
ช่อื – สกลุ สำเร็จ ในการทำงาน
3 2 1 32132 1 ผ่าน ไม่
ผา่ น
เกณฑก์ ารให้คะแนน
ระดับ 3 มกี ารปฏิบตั ไิ ดด้ สี ม่ำเสมอ
ระดบั 2 มกี ารปฏบิ ัตไิ ดบ้ า้ งพอสมควร
ระดับ 1 มีการปฏบิ ตั บิ ้าง
ลงช่ือ........................................... ครผู สู้ งั เกต
แบบบันทกึ ผลหลังสอน
รายวชิ า สังคมศกึ ษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวนนกั เรยี นท้งั หมด …………. คน
ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ หน้าที่พลเมือง จำนวน 20 ชั่วโมง
แผนการเรยี นร้ทู ี่ 9 เรอื่ ง การเคารพสิทธหิ นา้ ทีต่ อ่ ตนเองและผอู้ ่ืน เวลา 2 ชัว่ โมง
สอนวนั ท่ี........... เดอื น ....................... พ.ศ ....................
1. ผลการสอนปรากฏผลดังนี้ (เขยี นให้สอดคล้องกบั จุดประสงคแ์ ละระบุจำนวนและร้อยละของนกั เรียน
ท่ีผา่ น)
1.1 ด้านความรู้ (K)
..............................................................................................................................................................................
1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
.................................................................................................... ............................................................... ...........
1.3 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม (A)
............................................................................................................................................. .................................
2. ปญั หาและอปุ สรรค
..................................................................................................... .........................................................................
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
................................................................. ........................................................................................... ..................
ลงช่อื ครูประจำวชิ า
()
วันท…่ี …เดอื น….…………….พ.ศ……….
ความเหน็ (ผู้บรหิ ารหรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย)
.......................................................................................................................... ....................................................
..................................................................................................... .........................................................................
ลงช่ือ.......................................................
(…………………………………………..)
………………………………………………………..
................/................./................
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10
กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 รหัสวิชา ส 21102 ช่ือรายวชิ า สังคมศึกษา
ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ หนา้ ท่ีพลเมือง จำนวน 20 ชั่วโมง
แผนการเรยี นรู้ที่ 10 พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้อนื่ ความเปน็ พลเมือง เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวนั ท่.ี .............. เดือน .............................. พ.ศ. .......................
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 2.1 : เขา้ ใจและปฏบิ ัติตนตามหนา้ ที่ของการเปน็ พลเมอื งดี มีค่านยิ มทด่ี ีงามและธำรงรกั ษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยู่ร่วมกนั ในสังคมไทยและสังคมโลกอยา่ งสนั ติสุข
2. ผลการเรยี นรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
2. ปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ทพี่ ลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
3. ตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต
3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
บทบาทและหน้าท่ีของเยาวชนในการเปน็ พลเมืองดี
4. จุดประสงค์การเรยี นรู้
4.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) นักเรยี นบอกความหมายของความเปน็ พลเมืองได้
2) นกั เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับความเป็นพลเมือง
3) นกั เรยี นระบุพฤติกรรมของความเป็นพลเมือง ประชาชน และราษฎร
4) นักเรยี นประพฤติปฏิบัตติ นตามหลกั ความเปน็ พลเมือง
4.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สรุป
4.3 ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยม (A)
1) ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งท่ีดงี ามเพื่อส่วนรวม
2) มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อน่ื เผือ่ แผแ่ ละแบง่ ปัน
5. สาระการเรยี นรู้ (หลักสูตรต้านทจุ ริต)
'พลเมอื ง' หมายถงึ ประชาชน ท่นี อกจากเสยี ภาษีและปฏิบตั ิตามกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ยงั ตอ้ งมีบทบาท
ในทางการเมือง คืออย่างน้อยมสี ทิ ธไิ ปเลือกตง้ั แตย่ ิง่ ไปกวา่ น้ัน คอื มีสิทธิในการแสดง ความคดิ เห็นต่างๆ ตอ่ ทางการ
หรอื รัฐได้ ท้ังยังมีสทิ ธิเข้าร่วมในกจิ กรรมต่างๆ กับรฐั และอาจเป็นฝา่ ยรกุ เพ่ือเรยี กร้องกฎหมาย นโยบายและกิจกรรม
ของรฐั ตามท่ีเห็นพ้อง พลเมอื งนน้ั จะเป็นคนท่ีรู้สึกเป็นเจา้ ของในส่งิ สาธารณะ มคี วามกระตือรือรน้ อยากมสี ว่ นร่วม
เอาใจใส่การทำงานของรฐั และเปน็ ประชาชนท่ีสามารถแกไ้ ขปญั หาสว่ นรวมได้ในระดบั หนง่ึ โดยไม่ต้องรอให้รฐั มา
แก้ไขใหเ้ ท่านนั้
6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน
6.1 ความสามารถในการส่อื สาร
6.2 ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
- ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
- ทกั ษะการคดิ แก้ปัญหา
6.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
- กระบวนการทำงานกลมุ่
- กระบวนการปฏบิ ตั ิ
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ุดมการณใ์ นส่งิ ที่ดีงามเพือ่ ส่วนรวม
2) มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดีตอ่ ผู้อืน่ เผอื่ แผ่และแบ่งปัน
8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (การจดั การเรียนร้ตู ามหลักสูตรต้านทจุ รติ )
ชว่ั โมงท1่ี
ขนั้ ตอนการเรียนรู้
1. ครูสนทนา กับนักเรยี นถึงคำว่า พลเมอื ง ประชาชน ราษฎร แล้วถามนักเรียนว่าท้งั 3 คำนีม้ ีความหมาย
เหมือนกันหรือต่างกนั
2. แบ่งกลุ่มนกั เรียนออกเปน็ 5 กลมุ่ แจกใบความรู้ เร่อื ง ความเป็นพลเมือง ประชาชน และราษฎร ให้แต่ละ
กลุ่มศกึ ษา และรว่ มกันสรปุ องคค์ วามรูท้ ่ีไดจ้ ากการศกึ ษาใบความรู้
3. แต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนนำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น
4. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุปถึงความหมายของคำวา่ พลเมือง ประชาชน และราษฎรถึงแมน้ วา่ คำท้ัง 3 คำ
จะมคี วามหมายท่ีแตกต่างกันไปบ้างแต่เราก็ต้องรวู้ ่าหนา้ ที่ทส่ี ำคัญของเราคืออะไรไมว่ ่าเราจะเปน็ พลเมือง ประชาชน
หรือราษฎร ถ้าเราปฏิบัตติ นเปน็ คนดี มคี วามซ่อื สัตย์ เราก็เป็นคนดี
ชวั่ โมงท2่ี
1. แบง่ กลุ่มนกั เรยี นออกเปน็ 3 กลุม่ ครูแจกใบความรู้ เร่ืองบทบาทหน้าท่ีของพลเมืองทด่ี ีต่อประเทศชาติ
และสงั คมโลก ให้แตล่ ะกลมุ่ นำศึกษา
2. ครูสนทนา อภิปราย กับนักเรยี นถึงการปฏิบตั ติ นอย่างไรจึงจะเรยี กว่าพลเมืองดี
3. แจกใบงานให้นักเรยี นเขียนแผนภาพความคิดเรอื่ งพลเมืองดีในใจฉันโดยใหน้ กั เรียนทำเปน็ รายบคุ คล
4. ครนู ำผลงานนกั เรยี นที่ทำไดถ้ กู ต้องและสวยงามมานำเสนอหน้าชัน้ เรยี นใหค้ ัดเลือกผลงานท่ีดี
5. ครแู ละนกั เรียนสนทนา อภิปรายสรปุ
9. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้
9.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรยี น หน้าท่ีพลเมือง ม.4-ม.6
2) หนังสอื ค้นควา้ เพิม่ เติม
3) ใบงาน
9.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องสมุด
2) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ
http://www.google.com
10. การวัดและประเมินผล
รายการประเมนิ วิธกี ารวดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารวัด
และประเมนิ ผล และประเมินผล และประเมนิ ผล
ด้านความรู้ (K) - ตรวจใบงาน - ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ )
รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ดา้ นทักษะกระบวนการ(P) - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน
การทำงานกลมุ่ การทำงานกลุ่ม เกณฑ์
ด้านคุณธรรม จริยธรรม - สังเกตและประเมิน - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน
และคา่ นิยม (A) พฤติกรรมคุณลักษณะอันพงึ อนั พงึ ประสงค์ เกณฑ์
ประสงค์
11. ความคดิ เหน็ (ผู้บริหาร / หรือผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย)
ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง นางชบาพรรณ นรินทร์ แลว้ มีความคิดเหน็ ดังน้ี
11.1 เป็นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่
ดีมาก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรุง
11.2 การจดั กจิ กรรมการเรียนรูไ้ ด้นำเอากระบวนการเรียนรู้
ท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั ใชใ้ นการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
ที่ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนำต่อไป
11.3 เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี
นำไปใชไ้ ด้สอนได้
ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้
11.4 ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื .......................................................
(นายธีรนัน พริ ณุ สุนทร)
รองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา
................/................./................
ใบความรู้
เร่ือง บทบาทหน้าท่ีของพลเมืองท่ดี ตี ่อประเทศชาติและสังคมโลก
พลเมืองดขี องประเทศชาติและสังคมโลก จะตอ้ งเปน็ พลเมืองทตี่ ระหนกั ถึงบทบาทหนา้ ทที่ ่ตี นจะต้องปฏบิ ัติ
ต่อสังคมและประเทศชาตใิ นด้านต่างๆ อยู่เสมอ โดยเฉพาะดา้ นเศรษฐกิจ ด้านการเมืองการปกครอง ดา้ นสงั คมและ
วฒั นธรรม ท้ังนเ้ี พราะบทบาทหนา้ ท่ีในดา้ นต่างๆ ทงั้ 3 ด้าน จะส่งผลกระทบต่อชมุ ชนและประเทศชาติในดา้ นบวก
หรือลบกไ็ ด้
กล่าวคอื หากชาวไทยทุกคนปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีในด้านเศรษฐกจิ โดยประกอบอาชีพทีส่ ุจรติ เอาเปรียบ
ผอู้ ื่น และในดา้ นการเมืองการปกครอง โดยการไปลงคะแนนเสยี งเลือกต้ังผู้สมัครท่ดี ีให้ไปเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทน
ราษฎร ก็จะส่งผลดตี อ่ ประเทศชาติ
นอกจากน้ี บทบาทในด้านสังคมและวัฒนธรรมทตี่ ้องปฏิบัติ คือ การร่วมงานกับผู้อื่น เพื่อพัฒนาสังคมและ
ส่งเสริมวฒั นธรรมที่ดขี องประเทศใหเ้ ปน็ ท่ีช่นื ชมของชาวตา่ งชาติ สงั คมไทยฏ้จะมแี ตค่ วามสามัคคีกลมเกลยี ว ไม่เอา
รัดเอาเปรยี บกนั
แต่หากชาวไทยแสดงบทบาทหนา้ ท่ใี นทางตรงกันขา้ ม เชน่ ประกอบอาชีพผดิ กฎหมาย เอารัดเอาเปรยี บผู้อ่ืน
เลอื กคนไมด่ ีไปปกครองประเทศ ช่นื ชมวฒั นธรรมของต่างประเทศ สงั คมไทยและประเทศไทยกจ็ ะเจรญิ กา้ วหนา้ ได้
ล่าช้าและขาดความน่าเชือ่ ถอื ในสงั คมโลก
ใบงาน
เรื่อง พลเมืองดีในใจฉัน
คำช้แี จง ใหผ้ เู้ รียนวิเคราะหค์ ุณลักษณะของพลเมืองดีตามความคดิ เห็นของนักเรียนลงในแผนผังความคดิ พรอ้ มทั้ง
ตอบคำถามทก่ี ำหนด
คณุ ลักษณะของ
พลเมอื งดี
ในความคิดของฉัน
การปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดกี ่อให้เกดิ ประโยชนต์ ่อประเทศชาตอิ ย่างไร
.................................................................................... ........................................................................ .............................
.............................................................. ............................................................................................. ..............................
.......................................... ........................................................................................... ....................................................
.........................................................................................................................................................................................
................................................................................................................ ........................................................................ .
.......................................................................................... ............................................................................................. ..
...................................................................... ........................................................................................... ........................
........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ .............................................
...................................................................................................................... ...................................................................
.........................................................................................................................................................................................
................................................................................................. ........................................................................ ................
........................................................................... ............................................................................................. .................
....................................................... ........................................................................................... .......................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...........................................................
....................................................................................................... ..................................................................................
................................................................................... ........................................................................................... ...........
.................................................................................. ........................................................................ ...............................
............................................................ ............................................................................................. ................................
................................................................................................................................... ......................................................
.........................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................. ........................................................................ ...
........................................................................................ ............................................................................................. ...
แบบประเมนิ ผลการนำเสนองาน
เร่อื ง …………………………………………………………………………………….
วชิ า……………………………………………….ชน้ั ………………. ช่ือ…………………………………………………..เลขท…่ี ……………
ลำดับ รายการประเมนิ ผูป้ ระเมนิ เกณฑ์การประเมิน
ท่ี ตนเอง เพือ่ น ครู
รวม
1 เน้ือหา ( 4 คะแนน )
1. เน้ือหาครบถว้ นสมบูรณ์ คะแนน 4 : มีครบทุกขอ้
2. เน้อื หาถกู ตอ้ ง คะแนน 3 : มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้
คะแนน 2 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้
3. เนือ้ หาตอ่ เนอ่ื ง คะแนน 1 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ขอ้
4. มีการคน้ ควา้ เพิม่ เตมิ
คะแนน 2: มคี รบทกุ ข้อ
2 กระบวนการทำงาน ( 2 คะแนน ) คะแนน 1 : มี ไม่ครบ 4 ขอ้
1. มกี ารวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ คะแนน 0 : ไม่ปรากฏกระบวน
2. การปฏบิ ตั ิตามแผน การทำงานทช่ี ัดเจน
3. ติดตามประเมนิ ผล
4. การปรบั ปรงุ พัฒนำงาน คะแนน 2 : มีครบทกุ ข้อ
คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ขอ้
3 การนำเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้
1. การใช้สานวนภาษาดถี ูกต้อง คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ขอ้
2. การสะกดคำและไวยากรณถ์ กู ตอ้ ง
3. รปู แบบนา่ สนใจ คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้
4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้
คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ข้อ
4 คุณธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 :มี 1 ขอ้ ขาด 3 ขอ้
1. ตรงต่อเวลา
2. ซือ่ สตั ย์ รวม 10 คะแนน
เฉลีย่
3. ความกระตือรอื รน้
4. ความมีน้ำใจ
ลงชอ่ื ผู้ประเมนิ …………………………………….……….. ตนเอง
ลงชอ่ื ผูป้ ระเมนิ …………………………….……………….. เพอื่ น
ลงชื่อผู้ประเมนิ ………………………….………………….. ครู
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
กลมุ่ ..........................................................................................................
สมาชิกในกลุ่ม
1. ......................................................................
2. ......................................................................
3. ......................................................................
4. ......................................................................
5. ......................................................................
6. ......................................................................
พฤติกรรมที่สังเกต คะแนน คะแนน คะแนน
3 2 1
1. มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
2. มคี วามกระตอื รือรน้ ในการทำงาน
3. รับผดิ ชอบในงานท่ีได้รับมอบหมาย
4. มขี น้ั ตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ
5. ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม
รวม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
พฤติกรรมทที่ ำเป็นประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมทที่ ำเป็นบางครงั้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมทท่ี ำนอ้ ยครงั้ ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้ ระดับ
คะแนน ชว่ ง คณุ ภาพ
คะแนน
13-15 ดี
8-12 ปานกลาง
5-7 ปรบั ปรุง