The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2. ใบความรู้-องค์ประกอบในการผลิตเครื่องประดับอัญมณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supawita yoo-kong, 2020-05-18 03:17:11

2. ใบความรู้-องค์ประกอบในการผลิตเครื่องประดับอัญมณี

2. ใบความรู้-องค์ประกอบในการผลิตเครื่องประดับอัญมณี

Keywords: การผลิตเครื่องประดับ

รูปแบบ
เครอื่ งประดบั อญั มณี

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

ที่มา: https://howtobuyvintagejewelry.com/antique-gold-jewelry-what-to-look-for-and-where-to-buy

2563

แผนกวชิ าเครอื่ งประดบั อญั มณี วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ่ทบรุ ี
สถานบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก

เรยี บเรยี งโดย : นางสาวสภุ าวติ า อยคู่ ง

0

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วสั ดทุ ีใช้ในการผลติ เคร่ืองประดบั
วสั ดทุ ่ีนามาใช้ผลิตเครอ่ื งประดบั แต่เดิมมักใชโ้ ลหะมีคา่ และรตั นชาติเป็นสาคญั แต่ในปัจจุบันมีการใชว้ ัสดุอยา่ ง

อื่นมากข้ึน เพ่ือให้เหมาะสมกับราคาและความต้องการของผู้ซื้อ วัสดุท่ีใช้ผลิตเครื่องประดับอาจแบ่งออกเป็น 3
ประเภทใหญๆ่ คือ วัสดุประเภทโลหะ วัสดุประเภทอญั มณี และวสั ดปุ ระเภทอนื่ ๆ

1.1 วัสดุประเภทโลหะ โลหะเปน็ วัสดทุ น่ี ามาใช้ทาเครื่องประดับมากกวา่ วสั ดุประเภทอื่นๆ ท้งั หมด โดยอาจใชเ้ ป็น
โลหะล้วนๆ หรือมีวัสดุอ่ืนๆ เช่น อัญมณี เป็นส่วนประกอบด้วยก็ได้ โลหะที่ใช้เป็นวัสดุในการผลิตเคร่ืองประดับ แบ่ง
ออกไดเ้ ป็น 3 กลมุ่ ใหญๆ่ คือ

ก. โลหะมคี า่ เป็นโลหะที่มรี าคาสงู มาก ที่สาคญั คือ ทองคา เงิน แพลทนิ มั โรเดียม และพาลาเดยี ม
ก-1 ทองคา เป็นโลหะสีเหลือง ไม่เป็นสนิมหรือไม่หมองคล้า จึงเหมาะสาหรับใช้ทาเคร่ืองประดับที่

สวยงาม หากเป็นทองคาแท้ 100 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงเรียกว่า ทอง 24 กะรัต หรือทอง 24K จะมีความแข็งไม่มาก จึงนิยม
ใช้โลหะอ่นื เจอื ปน ทาให้ทองคามีความแขง็ มากขน้ึ เพื่อนาไปใช้งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เช่น ทองคา 25 เปอร์เซ็นต์ หรือ
ทอง 18K มคี วามแขง็ สามารถใชเ้ ปน็ ตวั เรือนฝงั อญั มณตี ่างๆ ได้ดี

ภาพตัวอยา่ ง แร่ทองคาในธรรมชาติ เปน็ วัสดทุ เี่ หมาะสาหรับนามาใช้ทาเคร่ืองประดบั ทส่ี วยงาม
ทองคาบริสุทธ์ิที่มีน้าหนักเพียง 1 ออนซ์ สามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ต่อกันได้ถึง 100 ตารางเมตร

หรือสามารถดงึ เป็นเส้นเลก็ ๆ ยาวได้ประมาณ 1.6 กิโลเมตร กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ สามารถนาทองคามาตีเป็นแผ่นบาง
จนเกือบมองทะลุผ่านได้ หรือนามาดึงให้เป็นเส้นเล็กราวกับเส้นผมได้ คุณสมบัติดังกล่าว จึงทาให้ทองคาเป็นวัสดุ ท่ี
เหมาะสาหรับการทาเคร่ืองประดับได้นานาชนิด ไม่ว่าจะใช้วิธีการหล่อ การถัก หรือการทาเป็นแผ่นบางๆ เช่น
ทองคาเปลว ที่ใช้ปิดทับลงบนวัสดุชนิดอื่น รวมทั้งใช้วิธีการชุบและการกะไหล่ทองคาลงบนโลหะอย่างอ่ืน เช่น เงิน
ทองแดง เหลก็ เพื่อใหด้ สู วยงามยิ่งขึ้น

ทมี่ า : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 34 เรื่องท่ี 4 เครือ่ งประดบั
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

1

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วดั สุทใี ช้ในการผลติ เครื่องประดบั

ภาพตวั อย่าง เมด็ เงนิ บรสิ ทุ ธ์ิท่ีผ่านการถลุงแล้ว
ก-2 เงนิ เป็นโลหะสีขาว เงางาม แตห่ มองคล้าได้งา่ ยหากท้งิ ให้ถูกอากาศนานๆ เงินบริสุทธ์ิมลี ักษณะ

คล้ายกับทองคาบริสุทธิ์ คือ ไมแ่ ขง็ มาก จงึ นยิ มนาเงนิ ไปผสมกับโลหะอนื่ เช่น ทองแดง เพ่ือให้มีความแข็งมากข้ึน เงิน
ทผี่ สมกับทองแดงในอัตราสว่ นเน้ือเงินบริสุทธิ์ร้อยละ 92.5 และทองแดงร้อยละ 7.5 เรียกกนั เป็นภาษาองั กฤษว่า เงิน
สเตอร์ลิง (sterling silver) เป็นส่วนผสมของเงินท่ีได้รับความนิยม นามาใช้ผลิตเคร่ืองประดับท่ีมีคุณภาพดี มีความ
แข็งแรง และถือเป็นมาตรฐานของโลหะเงิน ทใ่ี ช้ในการผลติ เคร่อื งประดับทั่วโลก

ภาพตัวอยา่ ง โลหะแพลทินัม
ท่มี า : https://th.wikipedia.org/wiki/แพลทนิ มั

ก-3 แพลทินัม เป็นโลหะที่มีความแข็งมาก มีความเงางามอยู่เสมอ ไม่หมองคล้าแม้ทิ้งให้ถูกอากาศ
นานๆ แพลทินัมมีราคาสูงกว่าทองคา เพราะมีจานวนน้อยมากบนเปลือกโลก อีกทั้งต้องใช้เครื่องมือเคร่ืองจักรท่ี
สามารถทนความร้อนสูงได้ ในการผลิตเป็นเคร่ืองประดับ เนื่องจากแพลทินัมมีจุดหลอมละลายสูงมาก คือ ประมาณ
1,773 องศาเซลเซียส ดังนั้น จึงนิยมนาแพลทินัมมาใช้ในการผลิตเครื่องประดับท่ีมีราคาสูง และมีความสาคัญ เช่น
แหวนหม้นั แหวนแตง่ งาน หรอื เครือ่ งประดบั ที่มีอัญมณรี าคาแพงมากเปน็ สว่ นประกอบ

ทม่ี า : สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ท่ี 34 เร่ืองท่ี 4 เครอื่ งประดับ
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

2

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วัดสุทใี ช้ในการผลติ เคร่ืองประดบั

ก-4 โรเดียม เป็นโลหะท่ีนิยมนามาใช้ในกรรมวิธีชุบเคร่ือง
โลหะที่ทาด้วยเงิน เพ่ือไมใ่ หเ้ กดิ การหมองคล้าได้งา่ ย

ภาพตวั อย่าง โลหะโรเดยี ม
ที่มา : http://www.ojgold.co.th/โรเดียม_rhodium/

ก-5 พาลาเดียม เป็นโลหะท่ีใช้ผสมทองคาให้มีสีขาว ท่ี
เรียกวา่ "ทองคาขาว" บางครั้งอาจใช้พาลาเดียมชุบเครือ่ งโลหะชนิด
อนื่ ให้มสี ขี าว เช่นเดยี วกับการใชโ้ รเดียม

ภาพตัวอยา่ ง โลหะพาลาเดียม
ทม่ี า : https://siamblockchain.com/2019/03/29/russian-mining-giant-to-tokenize-palladium/

ข. โลหะหลัก เป็นโลหะที่พบเป็นจานวนมากบนเปลือกโลก ราคาจึงไม่แพง ที่นิยมนามาผลิตเป็น
เคร่ืองประดับ ไดแ้ ก่ ทองแดง ดบี ุก และอะลูมเิ นยี ม

ข-1 ทองแดง เป็นโลหะชนิดแรกๆ ท่ีมนุษย์รู้จัก สามารถ
นามาใช้งานทั้งการผลิตเครื่องประดับและเคร่ืองมือเครื่องใช้ต่างๆ
โดยมนุษย์รู้จักทองแดง ต้ังแต่เมื่อประมาณ 8,000 ปีก่อน
คริสต์ศักราช และประมาณ 6,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ชาวอียิปต์
โบราณร้จู กั นาทองแดงมาทาเป็นอาวธุ

ภาพตัวอยา่ ง แร่ทองแดง

ทมี่ า : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ที่ 34 เรอื่ งท่ี 4 เครือ่ งประดับ
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

3

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วัดสุทใี ช้ในการผลติ เคร่ืองประดบั

ข-2 ดีบุก เป็นโลหะสีขาวเงิน พบมากในสินแร่ท่ีเรียกว่า แคสซิ
เทอไรต์ (cassiterite) หลอมละลายได้ง่าย จึงสะดวก ในการนามาผลิต
เปน็ เครอื่ งประดบั และเคร่อื งมือเครื่องใช้ต่างๆ

ภาพตัวอย่าง ดบี ุก เหมาะสาหรบั ใชผ้ ลิตเคร่อื งประดบั เทียม

ข-3 อะลูมิเนียม เป็นโลหะสีขาวคล้ายเงิน แต่มีน้าหนักเบามาก
และหลอมละลายได้ท่อี ณุ หภมู ิ 660 องศาเซลเซียส

ภาพตัวอย่าง อะลมู เิ นยี ม
ทมี่ า: https://www.chi.co.th/article/article-858/

ค. โลหะผสม เป็นโลหะที่เกิดจากการนาโลหะตั้งแต่ 2 ชนิดข้ึนไปมาผสมกัน เพื่อให้มีราคาถูกลง หรือมี
สมบตั บิ างอย่างทตี่ อ้ งการ โลหะผสมมีหลายชนดิ ท่สี าคัญได้แก่

ค-1 ทองสาริด เป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบุก ใน
สัดส่วนท่ีแตกต่างกันเพื่อให้มีสมบัติตามท่ีต้องการ มีสีตั้งแต่สีเหลือง
เขม้ ไปจนถงึ สีนา้ ตาลไหม้

ภาพตัวอย่าง ขนั สัมฤทธิ์
ท่มี า: https://www.thaibronzecraft.com/article/2/”สมั ฤทธิ์”-หรือ-“สารดิ ”-คืออะไร-และตา่ งกนั -“ทองเหลอื ง”-
อยา่ งไร

ทีม่ า : สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ท่ี 34 เร่อื งที่ 4 เครอ่ื งประดบั
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

4

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วดั สุทใี ช้ในการผลติ เคร่ืองประดบั

ค-2 ทองเหลือง เป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี มี
สีเหลืองคล้ายทองคาแต่มีราคาต่ากว่ามาก หากมีส่วนผสมของ
ทองแดงมาก จะมสี ีค่อนขา้ งแดง แต่ถ้ามีสว่ นผสมของสังกะสมี ากจะ
มสี ีคอ่ นขา้ งเหลือง

ภาพตวั อย่าง ทองเหลือง
ที่มา: https://www.chi.co.th/article/article-847/

ค-3 นาก เปน็ โลหะผสมระหว่างทองคา เงิน และทองแดง มี
สที องสกุ ปลง่ั คล้ายทองคา แต่มรี าคาถูกกวา่ มาก

ภาพตวั อย่าง เข็มขัดนาก
ทม่ี า: https://th.wikipedia.org/wiki/นาก_(โลหะ)

ค-4 พิวเตอร์ (pewter) เดิมเป็นโลหะผสมระหว่างดีบุกกับ

ตะก่ัว แต่ปัจจุบันใช้ทองแดง พลวง (antimony) และดีบุก เป็น

ส่วนผสมแทน เน่ืองจากตะกั่วเป็นโลหะ ที่มีอันตรายต่อมนุษย์ จึงมี

การออกกฎหมาย ห้ามนาตะก่ัวมาเป็นส่วนผสมของวัสดุท่ีใช้ผลิต

เคร่ืองประดับ ที่จาหน่ายในประเทศแถบทวีปยุโรป และอเมริกา

เหนือ พิวเตอร์เป็นโลหะผสมท่ีมีความแข็งไม่มาก และมีจุดหลอม

ละลายต่า จึงนิยมนามาใช้ผลิตเครื่องประดับท่ีราคาไม่แพง และมี

ภาพตัวอย่าง ผลติ ภัณฑ์พวิ เตอร์ ระยะเวลาการใช้งานส้นั ๆ ตามความนิยมในแตล่ ะสมยั

ท่มี า: https://www.marshop.net/pewter/พวิ เตอร์คืออะไร/

ท่ีมา : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ที่ 34 เรอื่ งท่ี 4 เคร่ืองประดับ
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

5

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วดั สุทีใช้ในการผลติ เครื่องประดบั

ภาพตัวอย่าง เหล็กกล้าไมเ่ ป็นสนมิ (stainless steel)
ทม่ี า: http://www.bestinshow1999.com/article/5/สแตนเลสคอื อะไร

ค-5 เหล็กกล้าไม่เป็นสนิม (stainless steel) เหล็กเป็นโลหะที่มีอยู่เป็นจานวนมากบนเปลือกโลก
จึงมีราคาถูก แต่ในการนาเหล็กมาใช้ผลิตเครื่องประดับมีข้อเสีย คือ เป็นสนิมได้ง่ายและเปราะ ดังนั้น จึงมีการทา
เหล็กกล้าชนิดที่ไม่เป็นสนิม โดยการนาเหล็กที่มีธาตุคาร์บอนเจือปนอยู่มาผสมกับโครเมียมหรือนิกเกิล เพื่อให้เหล็กมี
ความแข็งแกร่งและเงางาม ไม่เป็นสนิม ปัจจุบันมีการนาเหล็กกล้าไม่เป็นสนิมมาผลิตเป็นเคร่ืองประดับต่างๆ ได้
มากมายหลายชนิด เช่น สรอ้ ยคอ สรอ้ ยข้อมือ ตา่ งหู เข็มกลัด และทน่ี ิยมมากคือ การนามาทาเป็นตัวเรอื นของนาฬิกา
ข้อมือ โดยอาจฝังอัญมณีไว้ท่ีกรอบ หรือเสริมด้วยโลหะมีค่า เช่น ทองคา แพลทินัม เพ่ือให้ดูสวยงาม และมีราคาแพง
มากย่งิ ขน้ึ

1.2 วสั ดุประเภทอัญมณี
อัญมณี คือ เพชร และพลอยชนิดต่างๆ ท่ีมีการเจียระไนตกแต่งแล้ว มีอีกคาหน่ึงท่ีมีความหมายเช่นเดียวกับ

อัญมณี คือ รัตนชาติ ซึ่งหมายถึง แก้วท่ีมีค่า คนไทยรู้จักใช้อัญมณีเป็นเคร่ืองประดับมาต้ังแต่โบราณกาลแล้ว
โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก้วมีค่ารวม 9 ชนิด ท่ีเรียกว่า "นพรัตน์" ถือเป็นวัสดุ สาหรับใช้ทาเครื่องประดับที่สวยงามมาก
เพราะมีหลากสี ประกอบด้วยเพชรและพลอยสีต่างๆ ซ่ึงตามตารานพรัตน์ให้ชื่อท่ีคล้องจองกัน เพื่อง่ายต่อการจดจา
ดังน้ี

ท่มี า : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 34 เรื่องท่ี 4 เครื่องประดบั
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

6

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วัดสุทีใช้ในการผลติ เคร่ืองประดับ

ภาพตวั อยา่ ง นพรตั น์
ชื่อนพรตั น์ดงั กล่าวข้างตน้ ประกอบดว้ ยแกว้ มีค่า 9 อย่าง คอื
1.2.1 เพชร (diamond) เป็นธาตุคาร์บอนท่ีมีความแข็งมากที่สุดและหาได้ยาก จึงมีราคาแพง มีสีขาวใสหรือสี

ชมพู เมื่อนามาเจียระไนจะเกิดประกายแวววาว ปัจจุบัน นอกจากเพชรท่ีเกดิ เองตามธรรมชาติแล้ว ยังมีเพชรท่ีได้จาก
การสังเคราะห์ เรยี กว่า "เพชรรัสเซีย" ซึง่ มรี าคาถกู กวา่ เพชรตามธรรมชาตมิ าก

1.2.2 มณี หรือทบั ทิม (ruby) มสี แี ดงอ่อนเหมือนสขี องเมล็ดทับทิมสุก
1.2.3 มรกต (emerald) มีสเี ขียวเขม้ เหมือนสีของปกี แมลงทบั
1.2.4 บษุ ราคัม (yellow sapphire) มีสีเหลอื ง
1.2.5 โกเมน (garnet) มสี แี ดงแก่หรอื สีแดงเจือดา
1.2.6 นิล (spinet) ถ้ามีสีฟ้าหรือสีน้าเงินแก่เหมือนสีของดอกอัญชัน เรียกว่า "นิลสีดอกผักตบ" ถ้ามีสีดา
เรียกว่า "นลิ ดา" หรอื "นลิ ตะโก"
1.2.7 มกุ ดาหาร หรือมกุ ดา (moonstone) มสี ขี นุ่ เหมือนสไี ขม่ ุก
1.2.8 เพทาย (zircon) มีสแี ดงคลา้ ๆ สีขาวปนเหลือง หรอื สีฟ้านา้ ทะเล
1.2.9 ไพฑูรย์ หรือแก้วตาแมว (catžs eye) มสี เี หลืองแกมเขียวหรือสนี ้าตาลเทา มีน้าเป็นสายรุ้งกลอกไปมา

ทมี่ า : สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ท่ี 34 เรอื่ งที่ 4 เคร่ืองประดับ
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

7

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วัดสุทีใช้ในการผลติ เครื่องประดับ
ในสมยั โบราณ คนไทยนยิ มใชเ้ คร่ืองประดบั อัญมณีสีต่างๆ ให้เหมาะกบั วัน โดยเช่ือว่า หากสวมใสเ่ ครือ่ งประดับ

และเครอื่ งนุ่งห่ม ให้ถูกโฉลกกับสีประจาวันแล้ว จะทาให้เกิดสริ ิมงคลต่อตนเอง อัญมณีและเคร่ืองนุ่งห่มมีสีต่างๆ ตาม
วัน ดังนี้

วันอาทติ ย์ ใสเ่ ครื่องประดับทท่ี าดว้ ย โกเมน เพทาย นุง่ หม่ ดว้ ยสแี สดหรือสแี ดง
วนั จนั ทร์ ใสเ่ คร่ืองประดบั ที่ทาดว้ ย มุกดา เพชร นุง่ ห่มดว้ ยสีนวลหรอื สเี หลือง
วันอังคาร ใส่เครอ่ื งประดับทีท่ าดว้ ย บุษราคมั น่งุ หม่ ด้วยสชี มพู
วันพุธ ใส่เคร่ืองประดับท่ีทาด้วย มรกต นงุ่ หม่ ดว้ ยสเี ขียว
วันพฤหัสบดี ใสเ่ ครื่องประดับทท่ี าดว้ ย ไพฑูรย์ นุ่งหม่ ดว้ ยสีแสดหรือสสี ม้
วันศุกร์ ใส่เครอ่ื งประดบั ที่ทาด้วย มกุ ดา เพชร นุ่งห่มดว้ ยสีฟา้ หรือสีน้าเงนิ
วันเสาร์ ใส่เคร่อื งประดับท่ที าด้วย นิล นุ่งห่มดว้ ยสดี าหรอื สมี ่วง

นอกจากนพรัตน์หรือแก้วมีค่า 9 อย่างดังกล่าวข้างต้นแล้ว ปัจจุบันยังมีการใช้แก้วอย่างอื่นๆ มาผลิตเป็น
เคร่ืองประดับด้วย ท่ีนิยมใช้กันมาก เน่ืองจากมีราคาไม่แพงและงดงาม คือ แร่เข้ียวหนุมานหรือแร่ในตระกูลควอตซ์
(quartz) ซงึ่ เปน็ หนิ แกว้ ผลกึ มหี ลายสี ที่สาคญั ไดแ้ ก่ โอปอ หรือโอพอล (opal) มลี กั ษณะโปรง่ ใส แต่ที่เป็นสีตา่ งๆ ก็มี
อยู่บ้าง เนื้อมีรอยแตกแบบก้นหอย โอนิกซ์ (onyx) มีสีขาว สีเหลือง สีดา หรือสีแดง เน้ือแตกแบบก้นหอย โมรา
(agate) มคี วามวาวแบบข้ผี งึ้ มหี ลายสี โดยสีเหล่านั้น มักมลี กั ษณะเปน็ ช้นั หรือเป็นแถบ หรือมหี ลายสีปะปนกัน

นอกจากน้ียงั มอี ัญมณีบางอย่างซ่ึงเปน็ ท่รี ู้จักกันในตลาดค้าอญั มณี ได้แก่ ไพลิน (blue sapphire) มสี ีน้าเงินเข้ม
เขียวส่อง (green sapphire) มีสีเขียวสด และแอเมทิสต์ (amethyst) มีสีม่วง ไทยเรียกอัญมณีชนิดนี้ว่า "พลอยสี
ม่วง" หรือ "พลอยสีดอกตะแบก"

ในประเทศไทยเมื่อประมาณ 30 ปีมาแล้ว เคยนิยมนาโป่งข่าม ซ่ึงเป็นแร่ในตระกูลควอตซ์ มาทาเป็นพลอยหัว
แหวน ถอื เป็นส่ิงนาโชคลาภมาให้ ทานองเดียวกับการนา อุลกมณี (tektite) ซึง่ เป็นหินสีดา ทเี่ กิดจากอุกกาบาตตกลง
มาบนพ้นื โลก มาทาเป็นเคร่อื งประดับ โดยถอื วา่ นาโชคลาภมาให้เชน่ เดียวกนั

ในบางประเทศมีอัญมณที น่ี ิยมนามาทาเคร่ืองประดับ เช่น ในตุรกมี ี เทอรค์ อยส์ (turquoise) เป็นพลอยสีน้าเงิน
แกมเขยี ว หรือสีฟา้ ในพมา่ และจนี มี หยก (jade) ซึ่งเปน็ หนิ แกว้ สตี ่างๆ เช่น สเี ขียว สขี าว สีเหลอื ง สีดา แต่สีที่นยิ มกัน
มากและมรี าคาแพง คอื สเี ขียวเขม้ สดและโปรง่ แสง ที่เรียกกันว่า "หยกจักรพรรด"ิ (imperial jade)

ทม่ี า : สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เลม่ ที่ 34 เรอื่ งท่ี 4 เคร่ืองประดับ
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

8

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วดั สุทีใช้ในการผลติ เคร่ืองประดับ
1.3 วัสดุประเภทอื่นๆ นอกจากโลหะและอญั มณีแลว้ ยังมีวสั ดุประเภทอื่นๆ ท่ีนิยมนามาใชผ้ ลติ เคร่ืองประดับ เช่น

ภาพตวั อยา่ ง ไขม่ ุก (pearl)
ทม่ี า : https://www.pearlbuddy.com/kaimook/528/

1.3.1 ไข่มุก (pearl) เกิดจากการพอกพูนของสารที่ขับออกมาจากตัวหอยมุก เพื่อห่อหุ้มส่ิงแปลกปลอมที่
หลุดเขา้ ไปแทรกอยภู่ ายในเปลือกของหอยมกุ นัน้ จนเกดิ เปน็ เม็ดกลมๆ สขี าว หรอื สีเทาแกมน้าเงิน โดยนิยมนามาเจาะ
รูร้อยเข้าด้วยกัน ใช้สวมใส่เป็นสร้อยคอหรือสร้อยข้อมือ หรือนาไปประดับบนโลหะเป็นเข็มกลัด ต่างหู และแหวน
ไข่มุกมีทั้งที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติในทะเลหรือในแหล่งน้าจืด เรียกว่า ไข่มุกธรรมชาติ (natural pearl) หรือจาก
ฟาร์มเล้ียงหอยมุก เรยี กว่า ไข่มุกเล้ียง (culture pearl) ญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกทผ่ี ลิตไข่มกุ เลี้ยง ปัจจบุ ันมีการทาฟาร์ม
หอยมุกกันในหลายประเทศ รวมท้ังประเทศไทย ทีบ่ ริเวณชายฝงั่ ทะเลอนั ดามนั ดว้ ย

1.3.2 แก้วเจียระไน (crystal) เป็นแก้วที่หลอมข้ึนและ
นามาเจียระไนให้มีเหล่ียมมุมดูสวยงาม นิยมนามาผลิตเป็น
เคร่ืองประดับโดยใชร้ ่วมกบั โลหะมคี ่า เช่น ทองคา เงิน หรือเงิน
ชุบทองคา ทาเป็นเข็มกลัดรูปช่อดอกไม้ หรือทาเป็นต่างหู และ
กาไลข้อมือ ซ่ึงนิยมทากันหลายๆ ประเทศในทวีปยุโรป เช่น
สวติ เซอร์แลนด์ เยอรมนี ออสเตรีย เดนมาร์ก

ภาพตวั อย่าง เคร่ืองประดับแก้วเจียระไน
ทม่ี า : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 34 เรอ่ื งท่ี 4 เครื่องประดับ

http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

9

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

1. วดั สุทใี ช้ในการผลติ เครื่องประดบั

1.3.3 เซรามิก (ceramic) เป็นคร่ืองปั้นดนิ เผาประเภท
ทีม่ ีนา้ ยาเคลอื บ มสี สี ันต่างๆ และมักเขียนเป็นภาพหรือลวดลาย
ประกอบ เหมาะสาหรบั การทาเป็นเครอื่ งประดับตา่ งๆ เช่น ต่าง
หู เขม็ กลดั จหี้ อ้ ยสรอ้ ยคอ และสร้อยขอ้ มอื

ภาพตัวอยา่ ง เซรามิก (ceramic)
ทม่ี า : https://www.pearlbuddy.com/kaimook/528/

ภาพตวั อยา่ ง plastic Jewelry 1.3.4 พลาสติก เริ่มนามาเปน็ วัสดุทใี่ ช้ผลิตเครอื่ งประดับ
ที่มา : https://www.recyclart.org/blooming- ในทวีปยุโรปตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ประมาณ พ.ศ.
jewels-recycled-plastic-bottles-amazing- 2463 โดยใช้กรรมวิธีทางเคมีผลิตวัสดุชนิดนี้ข้ึน มีความแข็งไม่
jewelry/ มากเท่ากับโลหะ แต่ก็ตกแต่งให้เป็นรูปแบบต่างๆ ได้ตามที่
ต้องการ และยังผสมสีหรือวาดลวดลายให้สวยงามได้ด้วย การ
นาพลาสติกมาผลิตเป็นเครือ่ งประดบั ทาได้งา่ ย เพราะมีราคาถูก
จึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน เหมาะสาหรับการ
ผลิตเคร่ืองประดับตามสมัยนิยม ซ่ึงมีระยะเวลาการใช้งานไม่
นาน โดยเฉพาะอย่างย่ิง การใช้พลาสติกแทนวัสดุธรรมชาติ ท่ี
นับวันจะหาไดย้ ากยิ่งขึน้ เช่น งาชา้ ง กระดองเต่า กระดองกระ

1.3.5 งาช้าง การใชง้ าช้างเป็นวัสดุทาเคร่ืองประดบั ได้รับความนยิ มมากในสมยั ก่อน แต่ปัจจุบันความนยิ มลด
น้อยลง เนือ่ งจากมีการรณรงค์ตอ่ ต้านการนางาชา้ งมาใชป้ ระโยชน์ต่างๆ เพราะต้องมีการฆา่ ช้างป่าในทวีปแอฟริกาและ
ทวีปเอเชียเป็นจานวนมาก ทาให้สัตว์ที่ควรอนุรักษ์ชนิดนี้ มีจานวนลดน้อยลง หลายๆ ประเทศจึงมีการออกกฎหมาย
ห้ามจาหนา่ ยเคร่ืองประดบั ท่ที าจากงาชา้ ง

ที่มา : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 34 เร่ืองที่ 4 เครือ่ งประดับ
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

10

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

2. กรรมวธิ ีในการผลติ เครื่องประดับทที่ าด้วยโลหะ
กรรมวิธใี นการผลิตเครอ่ื งประดับที่ทาด้วยโลหะ ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ที่สาคญั คอื การขึ้นรูป การตกแต่ง

ผิว การทาสีและลวดลาย และการฝงั อัญมณี
2.1 การขึ้นรูป หมายถึง การนาโลหะท่เี ปน็ ก้อนหรือแผ่นมาขน้ึ รปู เป็นเครื่องประดบั ตามทตี่ ้องการ การข้ึน

รปู ทาไดห้ ลายวิธี ทัง้ การตัด การเลอื่ ย การฉลุ การเคาะ การบิด การหล่อ และการเชื่อมชิ้นงานตา่ งๆ ให้ต่อกนั แล้วแต่
ลักษณะรปู ร่างของเครอ่ื งประดับที่ตอ้ งการผลติ

2.2 การตกแต่งผิว เม่ือขึ้นรปู เสร็จแลว้ กจ็ ะต้องตกแต่งผวิ ให้เรียบ
โดยการขัดด้วยตะไบ หรือกระดาษทราย จากน้ันจึงขัดเงาด้วยน้ายาขัด
เงา โดยใช้เคร่ืองขัดเงา ที่ใช้มอเตอร์ไฟฟ้าหมุนผ้าขัดเงา บางกรณีอาจ
ต้องใชส้ ารละลายกรด ลา้ งเคร่ืองประดับน้นั ให้สะอาด

ภาพตัวอย่าง การใช้ตะไบตกแต่งขอบช้ินงานให้เรยี บร้อย
2.3 การทาสแี ละลวดลาย เปน็ กรรมวธิ ที ีต่ อ้ งการใหเ้ ครอื่ งประดับมสี ีสนั หรอื ลวดลายงดงามตามตอ้ งการ

มีกรรมวธิ ีตา่ งๆ ดงั นี้
2.3.1 การชุบ เป็นการนาโลหะชนิดหน่ึงไปเคลือบอย่างบางๆ ลงบนผิวของโลหะ ที่ผลิตเป็นชิ้นงาน

เครื่องประดับนั้นๆ โดยใช้กระแสไฟฟ้าเป็นตัวนา มักใช้โลหะมีค่า เช่น ทองคา แพลทินัม เคลือบลงบนผิวของเงิน
ทองแดง หรือทองเหลือง เพ่ือให้ดูมีมูลค่ามากขึ้น หรือไม่หมอง เม่ือถูกอากาศนานๆ ในสมัยก่อนยังไม่มีการเคลือบโดย
ใช้กระแสไฟฟ้าเป็นตัวนา คนไทยมีวิธีการเคลือบท่ีเรียกว่า "การกะไหล่" โดยใช้ปรอทละลายเงินหรือทองคาให้เป็น
ของเหลว แลว้ ทาลงบนโลหะ ทต่ี อ้ งการเคลอื บ จากนน้ั ไลป่ รอทออกโดยใชค้ วามรอ้ น

ทีม่ า : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มท่ี 34 เรอื่ งท่ี 4 เครื่องประดบั
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

11

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

2. กรรมวธิ ีในการผลติ เคร่ืองประดับทที่ าด้วยโลหะ

ภาพตัวอยา่ ง การชบุ หรอื เคลือบโลหะ ลงบนผิวชน้ิ งาน โดยใชก้ ระแสไฟฟา้
2.3.2 การถม เปน็ การใช้สารเคมซี ง่ึ มสี ีดาเรยี กวา่ "ผงยาถม" ผสมนา้ ประสานทอง ใส่ลงไปในลวดลาย

ท่ีแกะสลักไว้บนเครื่องประดับ ที่ทาด้วยเงินหรือทองคา แล้วขัดผิวให้เป็นเงางาม โดยส่วนที่เป็นผงยาถม จะเห็นเป็น
ลวดลายสีดาอยู่บนพ้ืนสีเงิน หรือสีทอง ซึ่งหากเป็นการถมลงบนเงิน เรียกว่า "ถมเงิน" แต่ถ้าถมลงบนทองคา ก็
เรยี กวา่ "ถมทอง" หรอื "ถมตะทอง"

ภาพตัวอย่าง กาไลถมเงนิ ถมทอง ผลงาน อ.ระไว สุดเฉลย
ที่มา : https://mgronline.com/smes/detail/9610000108063

ท่มี า : สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เลม่ ที่ 34 เร่อื งท่ี 4 เครอื่ งประดับ
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

12

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

2. กรรมวธิ ีในการผลติ เครื่องประดบั ทที่ าด้วยโลหะ
2.3.3 การลงยาหรือการลงยาถมสี เป็นการใช้สารเคมีที่มีสีต่างๆ ใส่ลงไปในพ้ืนซ่ึงเป็นร่องระหว่าง

ลวดลายของเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ายาติด และให้พื้นเป็นสีต่างๆ หากการลงยาน้ีทากับเครื่องทอง ก็
เรียกวา่ "การลงยาราชาวดี"

ภาพตัวอยา่ ง การลงยา
2.3.4 การคร่า เป็นการเอาเส้นเงินหรือเส้นทอง กดและตอกให้ติดบนผิวเหล็กเป็นลวดลายต่างๆ เป็น

กรรมวิธจี ากเปอร์เซยี (ประเทศอิหร่านในปัจจบุ ัน) ทีแ่ พรห่ ลายมาก

ภาพตวั อย่าง การคร่า
ทม่ี า : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ท่ี 34 เรอ่ื งท่ี 4 เคร่ืองประดับ

http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

13

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

2. กรรมวธิ ีในการผลติ เคร่ืองประดบั ทท่ี าด้วยโลหะ
2.3.5 การฝังอัญมณี เป็นการนาอัญมณีมาประดับรวมกับโลหะ เพื่อให้ดูสวยงามยิ่งขึ้น เครื่องประดับ

บางชน้ิ อาจนาอญั มณี ทมี่ ีราคาสงู มาเป็นจุดเด่น ของเครอ่ื งประดับชนิ้ นั้นก็ได้

การฝังอัญมณีลงไปบนโลหะนั้นทาได้หลายวิธีแล้วแต่
ความเหมาะสม ที่นิยมทากันมาก คือ การฝังแบบหนามเตย
เป็นการฝังอัญมณีลงบนตัวเรือนท่ีมีการต้ังก้านโลหะเป็นมุมรับ
ก้นอัญมณี และกดปลายก้านมาปิดงับตรงมุมอัญมณี เพื่อให้ยึด
ตดิ กบั ตวั เรอื น

ภาพตวั อยา่ ง การฝงั แบบหนามเตย

การฝังแบบล็อก เป็นการใช้อัญมณีเรียงเข้าไปในร่องบน
ตัวเรือน แล้วใช้เคร่ืองมือ ตีเนื้อโลหะปิดขอบทับบนอัญมณี
เพือ่ ไมใ่ หห้ ลดุ ออกมา

ภาพตวั อยา่ ง การฝงั แบบลอ็ ก

การฝังแบบกระเปาะเรียบ (ฝังหุ้ม) มักใช้อัญมณีท่ี
เจียระไนเป็นรูปหลังเบยี้ โดยใช้เครอ่ื งมอื กดขอบกระเปาะแนบ
ไปกับอัญมณี เพ่อื ยดึ ให้แนน่

ภาพตวั อย่าง การฝงั แบบกระเปาะเรยี บ

ทีม่ า : สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เล่มที่ 34 เรอื่ งท่ี 4 เครือ่ งประดับ
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

14

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

2. กรรมวธิ ีในการผลติ เครื่องประดบั ทที่ าด้วยโลหะ

การฝังแบบไข่ปลา มักใช้กับการฝังอัญมณีขนาดเล็ก
จานวนมากลงบนตัวเรือน โดยวางอัญมณีลงไปในรูท่ีเตรียมไว้ ซึ่ง
ตอ้ งมีมมุ ท่ีพอดกี ับมมุ กน้ อญั มณี แลว้ ใช้เครื่องมือ ตักเอาเน้ือโลหะ
บนผิวงานรอบๆ อัญมณี มางับปิดทับบนหน้าอัญมณีแต่ละเม็ด
จากน้นั กใ็ ช้เครือ่ งมือ แตง่ ให้หนามกลมมน ไม่คม

ภาพตัวอย่าง การฝงั แบบไข่ปลา

การฝังแบบหนีบ เป็นการใช้แรงดันของตัวเรือนให้
หนีบอัญมณีที่อยู่ตรงกลางไว้ โดยไม่จาเป็นต้องมีโลหะรับท่ีก้น
ของอัญมณี จึงมองดูเหมือนอัญมณีลอยอยู่

ภาพตัวอย่าง การฝงั แบบหนีบ

การฝงั แบบไรห้ นาม เปน็ การเจียระไนอัญ
มณีรูปส่ีเหล่ียมให้เป็นมุมอยู่ด้านข้าง แล้วสอด
ต่อๆ กันเข้าไปในตัวเรือนให้อัญมณี ล็อกกันไว้
ท้ังหมด มักนิยมวางอัญมณีเรียงกันเป็นหลายๆ
แถวตดิ กนั เปน็ แพ

ภาพตัวอย่าง การฝงั แบบไร้หนาม

ทม่ี า : สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เลม่ ที่ 34 เรือ่ งท่ี 4 เครอื่ งประดบั
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm

15

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

3. เครื่องประดับ “งานช่าง” หรือ “ศิลปะ”
เปน็ เร่ืองถกเถยี งกนั มากวา่ งานเคร่อื งประดับควรจดั เป็นงานศลิ ปะหรอื ไม่ ระหวา่ งงานช่างและงานศลิ ปะ

เพราะงานเครื่องประดบั มีท้ังความสวยงาม และประโยชนใ์ ชส้ อยร่วมกนั

งานชา่ ง งานศิลปะ

มงุ่ ประโยชนใ์ ช้สอยมากกว่าความงาม มุ่งความสวยงามมากกวา่ ประโยชน์ใช้สอย

จานวนการผลิตมาก รูปแบบซา้ กนั ไม่มีระยะการทางานทแ่ี นน่ อน

ลักษณะงานไมม่ ุ่งเนน้ ความคิดสร้างสรรค์ ลกั ษณะงานมุ่งเน้นความคิดสรา้ งสรรค์

สัมพนั ธ์กับตลาด หวงั ผลดา้ นเศรษฐกจิ
ตาราง การเปรียบเทียบลกั ษณะของ งานช่าง และ งานศิลปะ

งานประดษิ ฐ์เครอื่ งประดับ เป็นงานศิลปะรว่ มกับงานชา่ ง เครื่องประดับเป็นได้ท้ังงานศลิ ปะ และงานชา่ ง ความ
แตกต่างอยู่ท่ีจุดมุ่งหมายของนักออกแบบว่าจะเน้นจุดใด แต่การท่ีจะจัดให้งานเคร่ืองประดับเป็นงานศิลปะ หรืองาน
ช่าง อย่างใดอย่างหน่ึง หรืออย่างหน่ึงมาก อีกอย่างหน่ึงน้อย ข้ึนอยู่กับความตั้งใจของผู้สร้าง และผลสาเร็จของงานท่ี
แสดงออกมา เป็นสาคัญ เคร่อื งประดบั ทเ่ี ปน็ งานช่าง รูปแบบและวัสดุจะสนองความต้องการของคนส่วนใหญ่ คานึงถึง
การคา้ ไม่ได้คดิ ถึงความแปลกใหม่ของรูปทรงสรา้ งสรรค์ วสั ดุท่ีใชเ้ นน้ ความมรี าคา หวังผลทางด้านเศรษฐกจิ จาเปน็ อยู่
ทีต่ อ้ งศึกษาความตอ้ งการของตลาด และสร้างงานตามความต้องการของตลาด ยึดหลกั ความชอบ และไมช่ อบของกลุ่ม
ชนเป็นหลกั และผลงานจะมีจานวนมากช้นิ เหมอื นๆ กันได้

สว่ นงานเครือ่ งประดับที่มลี กั ษณะงานศลิ ปะ ซ่ึงมงุ่ เน้นความคิดสรา้ งสรรค์ แปลกใหมท่ ง้ั รูปแบบ วสั ดุ เนน้ ความ
งาม และหน้าท่ีใช้สอย ไม่คานึงถึงความชอบหรือไม่ชอบของใคร และผลงานจะไม่ซ้ากับใคร มักจะเป็นงานชิ้นเดียว
เช่นเดียวกับงานประติมากรรม ผู้สร้างสรรค์สร้างตามอุดมคติ ความงามของตนเป็นหลัก ใส่ความคิดตามความพอใจ
แปลกใหม่ ไม่หวังผลการคา้ โดยตรง งานเครอ่ื งประดับน้ันก็จัดเป็นงานศิลปะได้ ผลงานท่ีสร้างจะมีเพียงช้ินเดียว สรา้ ง
ตามพอใจของนักออกแบบ วัสดุท่ีใช้ไม่จาเป็นต้องมีราคาแพง คุณค่าของงานจะอยู่ที่องค์ประกอบท้ังหมดของงานชิ้น
นนั้ ๆ มีความสัมพันธ์กัน แม้จะใช้วัสดุท่ีไม่มีราคาแพงมากทา ก็กลบั ดูมีคุณค่า มีความงามที่สะดดุ ตาน้ันเอง (วรรณรตั น์
ต้ังเจรญิ , 2526)

ทม่ี า : Precious Pieces ศลิ ปะความงาม บอ่ เกดิ แหง่ วัฒนธรรม
https://preciouspieces.wordpress.com/คลงั ความร้/ู บทนา/เครื่องประดบั -“งานช่าง”/

16

องคป์ ระกอบในการผลติ เครอื่ งประดบั อญั มณี

แหล่งข้อมูลอ้างองิ
ที่มา : สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ เลม่ ท่ี 34 เร่อื งท่ี 4 เคร่อื งประดบั

http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=chap4.htm
ท่มี า : Precious Pieces ศลิ ปะความงาม บ่อเกิดแหง่ วัฒนธรรม

https://preciouspieces.wordpress.com/คลังความร้/ู บทนา/เครื่องประดับ-“งานช่าง”/

17

ท่มี า: https://howtobuyvintagejewelry.com/antique-gold-jewelry-what-to-look-for-and-where-to-buy

18


Click to View FlipBook Version