The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

7 เป็นธรรม หน้าปกโครงงาน 2-ผสาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pentham1243, 2021-04-01 10:12:04

7 เป็นธรรม รายงาน e-book ป.6/2

7 เป็นธรรม หน้าปกโครงงาน 2-ผสาน

โครงการปลูกต้นไม้เพ่ือลดฝ่ นุ
PM2.5 บริเวณระเบียงห้องป.6/2

จดั ทาโดย

1.ด.ช รัชกฤช บุรีเศรษฐกร (เป็นธรรม)เลขที่7

2.ด.ช.ดิฐปรีด์ิเปรม พิมลมาศ(เปรม ) เลขที่22

3.ด.ชฐิติกร หวู (อาม) เลขท่ี 18

4.ด.ชผณินทร์ ศีระวฒั นปรีชา (เคนโตะ) เลขที่25

ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี2 6 /
ภาคเรียนท่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ครูท่ีปรึกษา

คุณครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย)
(ครูขา้ วต)ู
คุณครูวนิษฐีสร้อยสุวรรณ

โครงการน้ีเป็นส่วนหน่ึงของหน่วยโครงงานบรูณาการ ภาคเรียนที่ ๓
ปี การศึกษา 2563

เพื่อเป็นส่วนหน่ึงในการร่วมกนั รักษาและดูแลส่ิงแวดลอ้ ม


กิตติกรรมประกาศ
(การเขียนขอบคณุ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งกับการช่วยเหลอื ใหก้ ารทำโครงการสำเรจ็ ได้)
โครงงานนส้ี ำเร็จข้นึ ได้ด้วย
ขอขอบคุณ คณุ ครวู นิษฐี สรอ้ ยสุวรรณ (ครขู า้ วต)ู ที่คอยให้คำปรึกษา เรื่องการวดั ผลและการออกแบบ
การทดลอง
ขอขอบคุณ คุณครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย) ท่ีคอยให้คำปรึกษา เร่อื งการให้ใช้สถานทีใ่ นหอ้ ง
ท้ายสดุ นี้ผจู้ ดั ทำหวังเปน็ อย่างย่ิงวา่ โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ตอ่ การศึกษาเร่ือง
ดา้ นการลด ฝ่นุ PM 2.5 ด้วยการปลกู ต้นไม้ และคนทม่ี าทำตอ่ สามารถเอาขอ้ มูลไปใช้ได้
ของผสู้ นใจต่อไป

ผ้จู ัดทำ
ด.ญ./ด.ชรชั กฤช บรุ ีเศรษฐกร



หัวขอ้ โครงงาน : ปลูกต้นไมล้ ด PM 2.5

ประเภทโครงงาน : การทดลอง

ผู้เสนอโครงงาน :ด.ช.รชั กฤช บุรีเศรษกร

ทปี่ รึกษาโครงงาน : คณุ ครวู นิษฐี คณุ ครูเกศรัตน์

ปีการศกึ ษา : 2563

บทคดั ยอ่

การจัดทำโครงงานมีวัตถุประสงค์เพื่อทจ่ี ะลดฝุ่น PM 2.5 บรเิ วณหลงั ระเบยี งห้อง ป.6/2 โดยต้งั เป้าหมายใน
การทจ่ี ะสืบหาขอ้ มลู เบอื้ งต้นวา่ ตน้ ไมช้ นิดใดสามารถกรองฝนุ่ ได้ การเลอื กสถานที่ที่จะทำโครงการ การทำ
ตารางการทดลอง การออกแบบวธิ ีการทำงาน การบนั ทึกผลการทำงาน การเกบ็ ข้อมลู จากการถา่ ยภาพ และ
บันทกึ ผลในแตล่ ะครัง้ รวมถึงกระบวนการการปรับแกไ้ ขงานหลังจากท่ีปรกึ ษาคุณครู

ผลการศกึ ษาและจัดทำโครงงานพบวา่ ต้นไม้แต่ละชนิดน้นั ไมส่ ามารถกรองฝนุ่ ไดเ้ ทา่ กัน และบางตน้ ไดแ้ คด่ ัก
จบั ฝุน่ เท่าน้ัน

สรปุ ได้วา่ ต้นไมส้ ามารถกรองฝุ่นได้จรงิ แต่กรองไดไ้ มม่ ากและกรองได้ในเวลาทไ่ี ม่เหมือนกนั

ผลการศึกษาและจดั ทำโครงงานพบวา่ ต้นไมแ้ ตล่ ะชนดิ น้นั ไมส่ ามารถกรองฝนุ่ ได้เท่ากันและบางตน้ ได้แคด่ ักจับ
ฝนุ่ แต่บางต้นได้แค่กรอง

สรุปผลได้วา่ ตน้ ไม้น้นั สามารถกรองฝุ่นไดจ้ ริงแต่กรองได้ไม่มากและคนละเวลา
สามารถนำไปใชก้ ับกรองฝุ่นในห้อง


Abstract
(บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ)
The objective of this project is to reduce PM 2.5 behind the Secondary 6/2 balcony. Our
goal is to determine which trees can filter dust. Location selection
Create an experiment schedule and design work methods, record results. Preserve all
information by taking pictures and recording each time. Including corrections after consulting
with teachers.
The results of the study and project preparation found that Each tree is not able to filter
dust as well. And some of them were only able to catch dust
In conclusion, trees can actually filter dust, but they do not filter much and can filter at
different times.

สารบัญ

กิตตกิ รรมประกาศ ง

บทคัดย่อ เรื่อง
หน้า
บทที่ 1 บทนำ ก

- หลักการและเหตุผล
- วตั ถปุ ระสงค์
- ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รบั
- คำถามทีอ่ ยากรู้

บทท่ี 2 เอกสารและโครงงานท่ีเกย่ี วข้อง

บทที่ 3 วิธกี ารทำโครงการ

- แผนการทำโครงการ
- วิธกี ารทำโครงการ
- วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ของโครงการ

บทท่ี 4 ผลการทำโครงการ

บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

- สรุปผลการศึกษา
- ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

ข้อมูลผ้จู ดั ทำ

บทท่ี 1
บทนำ

หลักการและเหตุผล

ในโรงเรียนรงุ่ อรุณมฝี ุ่น PM 2.5ที่มสี าเหตมุ าจากรถยนตท์ ่ีมารบั -ส่งนกั เรยี นทุกวัน,การ
ก่อสร้างและการเผาขยะหรอื จุดไฟเปน็ ต้นถ้าหากเราสดู ฝุ่นPM 2.5เขา้ ไปซ่งึ จะสง่ ผลตอ่ ระบบ
ทางเดินหายใจและปอดอาจพังลงไปได้เรม่ิ ต้นของอาการก็ คอื แสบตา,ตาแดง,ผวิ หนงั อกั เสบ,
สมองมีพัฒนาการช้าลงสมาธสิ ั้น ภูมแิ พ้กำเริบหอบหืดมีไข,้ ตัวรอ้ นแสบจมกู มีนำ้ มกู ,อจามและ
อาจะเปน็ โรคร้ายแรงถึงข้ันเสียชีวติ เช่น มะเรง็ ปอด,โรคหวั ใจขาดเลือดปอดอักเสบ เปน็ ตน้

ด้วยเหตนุ ้ีเราจึงทำโครงการปลูกตน้ ไม้เพ่ือลดฝุ่น PM 2.5โดยการให้ตน้ ไปเปน็ ตวั ฟอก
อากาศแทนเครื่องฟอกอากาศยงั สามารถเพิม่ ออกซิเจนไดแ้ ละยังฟอกฝุ่น PM 2.5 โดยใช้
งบประมาณนอ้ ยกว่าการไปซื้อ

ผลทตี่ ามมาคอื ฝุน่ PM 2.5 นอ้ ยลงในบริเวณหลังหอ้ งป.6/2เพราะการปลกู ต้นไมล้ ด
PM 2.5 ทำใหน้ ้อยลงและไดร้ อู้ กี ว่าตน้ ไม้บางชนดิ กรองฝุน่ ไดไ้ ม่เท่ากันและคนละเวลา

วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อลดฝุ่น PM 2.5และลดความเสยี่ งที่คนในโรงเรียนจะเป็นโรคเก่ยี วกับ

ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
ตอ่ สว่ นรวม ฝนุ่ PM 2.5 ในบรเิ วณหลังหอ้ งจะนอ้ ยลง ลดความเสยี่ งท่ีคนจะไม่

เป็นโรคเกยี่ วกับ ทางเดนิ หายใจและปอด

ตอ่ สว่ นรวม/สิง่ แวดล้อม
1.ตอนเราอยู่ในห้องเวลาท่ีมฝี ุ่นมากตน้ ไมก้ จ็ ะช่วยกรองฝ่นุ ให้ได้

ต่อตนเอง
เราได้ฝึกการทำงานร่วมกบั ผ้อู ่ืนและไดฝ้ ึกความรบั ผิดชอบในการทำงาน

เอกสารและโครงงานทเ่ี ก่ียวข้อง

2.1 ความหมายปัญหาทีพ่ บ เชน่ ฝนุ่ คือ นำ้ เสยี คือ
2.2 เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ งเกี่ยวกบั การทาโครงงาน (เช่น หลกั การฟอกอากาศของตน้ ไม้ ชนิดของตน้ ไม้
หลกั การบาบดั นา้ )
2.3 เคร่ืองมือในการวดั และประเมนิ ผลของการทาโครงการ
2.4 ความรูท้ ่เี กี่ยวขอ้ งจากสืบคน้ ขอ้ มลู และปรกึ ษาผรู้ ู้

2.5 โครงการท่ีเกยี่ วขอ้ ง (โครงการทเ่ี คยมีคนทำมา)

ชอ่ื คนทำโครงการ เร่อื งท่ี 1 วศิ วะมหดิ ล – สยามไอโอที

เรือ่ งท่ี 1 เรื่อง ฝ่ นุ pm 2.5

องคก์ ารอนามยั โลกไดส้ ารวจพบวา่ มปี ระชากรทต่ี อ้ งเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั อนั ควร
เนอ่ื งจากมลพษิ ในอากาศทว่ั โลกกวา่ 6 ลา้ นคนในแตล่ ะปี และในจานวนนเี้ ป็ นเด็ก
อายตุ า่ กวา่ 5 ขวบถงึ รอ้ ยละ 10 หลายปี ทผี่ า่ นมาคนไทยตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หาฝ่ นุ
พษิ PM2.5 ขนาดเล็กกวา่ 2.5 ไมครอน มปี รมิ าณเกนิ คา่ มาตรฐาน (50 ไมโครกรมั
ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร) ทง้ั ใน กทม. และตา่ งจงั หวดั

เร่ืองที่ 2 เรอื่ ง นายอรรถเศรษฐ์ เพชรมีศรี

เม่ือวนั ท่ี 10 ตลุ าคม 2562 พล.ต.อ. อศั วนิ ขวัญเมือง ผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร ไดจ้ ดั งานเปิ ด
ตวั เครื่องกรองฝ่ นุ ละอองขนาดเลก็ PM 2.5 ของ กทม. ท่ีนามาทดลองติดต้งั อยบู่ ริเวณดา้ นหนา้
ศูนยก์ ารคา้ เซ็นทรัลเวิลด์ ซ่ึงเป็นจุดท่ีมีการจราจรหนาแน่นตลอดท้งั วนั ทางสานกั ข่าวออนไลน์ไทยพบั
ลิกา้ จึงไปสัมภาษณ์นายอรรถเศรษฐ์ เพชรมีศรี ท่ีปรึกษาผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) ซ่ึงไดร้ ับ

มอบหมายจากผวู้ า่ ฯ กทม.ให้ดูแลรับผิดชอบโครงการน้ี รวมไปถึงมาตรการแกป้ ัญหา “ PM 2.5” ท้งั
ในระยะส้ัน ปานกลางและระยะยาว วา่ กทม.ไดเ้ ตรียมแผนรับมือไวอ้ ยา่ งไร

สรุปจากการศึกษาข้อมลู ทง้ั หมด.......... เรอ่ื ง ได้นำมาใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิโครงการ โดย

ไดน้ ำขอ้ มูลของทท่ี ำโครงการมาทำตอ่ ให้เกิดประโยชน์มากข้ึนแต่บางคนทำให้คนท้งั ประเทศ
แตเ่ ราจะทำไดแ้ คค่ นในโรงเรียนเพราะว่าเราทำเพอ่ื ดูวา่ ตน้ ไมฝ้ อกอากาศไดจ้ ริงหรือไมแ่ ละถ้า
ไดจ้ รงิ เรากน็ ำมาใชจ้ ริงได้

บทที่ 3

วธิ กี ารจัดทำโครงการ

แผนการทำโครงการ

แผนการจัดทำโครงการในครง้ั นี้ มรี ายละเอยี ดตามตาราง ดงั น้ี

วัน/เดอื น/ปี ข้ันตอนการดำเนินงาน

15/1/64 วางแผนการทำงาน

22/2/64 สำรวจสถานท่ี

24/2/64 เอาต้นไม้มาลงพื้นทีใ่ นจุดท่ีวางไว้

6/2/64 ออกแบบตาราง

10/3/64 ทดลองตน้ ไม้กรองฝนุ่ ได้จริงหรือไม่(ครง้ั ท1่ี )

15/3/64 ทดลอง(ครั้งท2ี่ )

16/3/64 พิมพร์ ายงาน

วสั ดุ อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการทำโครงการ

1 เคร่อื งวัด PM 2.5

2 ตน้ ไมฝ้ อก PM 2.5
3 สถานท่ีทดลอง

วิธกี ารทำโครงการ

1. ให้เลอื กกลุ่มตามความสนใจ..
2. แสดงความคิดเห็นว่าจะทำเร่อื งอะไร

3. วางแผนการทำงาน

4.เริ่มทำโครงงานตามทีว่ างแผน

วิธีการเกบ็ ข้อมูลเพอื่ วัดและประเมินผลของโครงการ

วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มูลในการทำโครงการครงั้ นีม้ กี ารเกบ็ ข้อมูลคือ

เครื่องมือทใ่ี ชเ้ ก็บข้อมลู

บทที่ 4
ผลการทำโครงการ

จากการทำโครงการในคร้งั นี้ได้นำเสนอผลในรูปแบบ....................... ดงั น้ี
ผลของการทำโครงการในคร้งั นกี้ ต็ ้นไมน้ ั้นสามารถกรองฝนุ่ ได้จริงแต่1ตน้ สามารถกรองฝ่นุ ได้
น้อยจึงต้องปลูกหลายตน้ เพอื่ ให้ตนไมส้ ามารถกรองฝุ่นไดด้ ีกว่าการกรองฝนุ่ ตน้ เดยี่ วและตน้ ไม้
นั้นมีหลายชนดิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั บางต้นสามารถกรองฝุ่นในตอนกลางวนั และตอนกลางคืนและ
ต้นไมบ้ างต้นน้นั มีขนาดทแ่ี ตกตา่ งกนั จงึ มีการกรองท่ีไม่เท่ากนั และตน้ ไม้น้นั สามารถกรองฝุ่น
ไดใ้ นจดุ ๆเด่ียวจงึ หน่ึงทจี่ ึงตอ้ งมมี ากและแต่ละพน้ื ทมี่ ีฝุ่นทไ่ี มเ่ ทา่ กันและตอ้ งวัดฝนุ่ ในการวาง
ตน้ ไม้

บทท่ี 5

สรุปผลการดำเนินโครงงาน

สรปุ ผลการศึกษา

จากผลการศึกษาโครงการฝุน่ PM 2.5.ดว้ ยวิธกี ารปลูกต้นไม้พบวา่ การ
ปลกู ต้นไม้นน้ั สามารถ PM 2.5 ได้ แต่จะไม่เทา่ กนั และคนละเวลาเพราะตน้ ไมน้ ั้นจะมีลกั ษณะ
การกรองทแ่ี ตกตา่ งกนั

สามารถนำมาสรปุ ผลการดำเนินงานไดว้ ่า โครงการในครงั้ น้ีบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ัง้ ไวว้ า่
ชว่ ยลด PM 2.5 บริเวณหลงั ระเบยี งสาเหตุจาก
ฝุน่ PM 2.5 ในโรงเรียนนั้นมีมากข้ึนจึงต้องปลูกต้นไมเ้ พ่อื กรองฝุ่น PM 2.5ในโรงเรยี นรงุ่
อรุณ

อปุ สรรคในการทำงาน สิ่งทไี่ ดเ้ รียนรู้ และทักษะทีใ่ ช้ในการทำโครงการ

1.มคี นเล่นและไม่ทำงาน
2.ไดเ้ รยี นรกู้ ารทำงานเปน็ ทมี
3.การหาขอ้ มลู

ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา

1.ควรท่จี ะเลน่ ใหน้ ้อยลง
2.ให้ทำงานและแบง่ งานกนั ดี
3.

บรรณานุกรม

(การเขยี นแหลง่ ที่มาจากขอ้ มลู ท่เี ราไปค้นคว้า ไดแ้ ก่ เว็บไซต์ หนังสือ บุคคล)

สืบค้นออนไลน์

ผู้เขยี น.(วันท่ี เดอื น ปีท่ีเผยแพร)่ .ช่ือบทความ.สืบค้นเมื่อวนั ที่ เดือน ป,ี จากแหล่งที่อยู่ ของไฟล์ (URL)

ตวั อย่าง
เปรมภสั ส์ ตระกูลโชคเสถียร. (2557). สถติ ิน่ารวู้ ่าด้วยเร่อื ง Mobile Payment ในอเมริกา. สบื ค้นเมอ่ื 11 พฤศจิกายน 2558

จาก http://thumbsup.in.th/2014/09/how-people-use-mobilepayments/

รปู แบบการเขียนบรรณานุกรมจากการสัมภาษณ์
ช่ือผ้ทู ี่ใหส้ มั ภาษณ์//ตําแหนง่ (ถ้ามี).//เรือ่ งทสี่ ัมภาษณ์//สัมภาษณ์ วัน/เดอื น/ปี.
ตัวอยา่ ง
แม้นมาส ชวลิต. ผู้อํานวยกาํ รกองหอสมดุ แหง่ ชาต.ิ สมั ภาษณ์ 7 ธนั วาคม 2519.

ภาคผนวก

(ส่วนเน้ือหาเสรมิ ที่ทำใหโ้ ครงการสมบูรณ์ขน้ึ เชน่ รูปภาพ-คำอธิบายวสั ดุ อปุ กรณ์
ปฏทิ นิ ขนั้ ตอนการดำเนินงาน ภาพการติดตอ่ ผ้รู ู้ เจ้าหนา้ ท่ี เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง

ใบงานการออกแบบ ภาพโมเดล)

คำอธบิ ายภาพ คำอธบิ ายภาพ
26/2/21ทำการทดลองครั้งท่ี1 ปรกึ ษาครูในการทำโครงการ

วัดค่าฝุ่น ทำกล่องทดลอง

คำอธบิ ายภาพ คำอธบิ ายภาพ
หาข้อมูลการทดลอง
กาวสั ดุมาทำการทดลอง

คำอธบิ ายภาพ คำอธิบายภาพ
ปรึกษาครูในของการทำงานของตน้ ไม้
หาอุปกรณท์ ำการทดลอง

พมิ พร์ ายงานเป็นคร้ังแรก สำรวจสถานที่

ขอ้ มลู ผ้จู ัดทำ

(เขยี นเฉพาะขอ้ มูลท่มี ีความเกี่ยวขอ้ งกบั การทำโครงการครัง้ น)ี้

ชือ่ - นามสกลุ : ด.ช.รัชกฤช บรุ ีเศรษฐกร (เปน็ ธรรม)
ช้ันทกี่ ำลงั ศึกษา : ประถมศึกษาปที ี่ 6/2
ประวัตกิ ารศกึ ษา

ระดับอนบุ าล โรงเรยี นรุ่งอรุณ.
ระดบั ประถมศกึ ษา 1-6 โรงเรียนรุง่ อรณุ
ความสนใจส่วนตวั : สนใจที่จำทำเร่อื งนเี้ พราะในโรงเรียนมฝี ุ่น PM 2.5 มากและยงั มี โควิด
19อกี จงึ อยากช่วยลด PM 2.5
คติประจำตัว : ตอ้ งแกป้ ัญหาด้วยตน้ เองกอ่ นใหค้ นอนื่ ชว่ ย
แนวคิดในการรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม : ควรใช้สิ่งทเ่ี ปน็ มลพษิ ให้น้อยลงและใชส้ ่ิงที่มปี ระโยชน์ต่อ
ธรรมชาตใิ หม้ ากขนึ้


Click to View FlipBook Version