The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 องค์ประกอบนาฎศิลป์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฐฐินันท์ กังแฮ, 2020-06-27 02:41:14

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 องค์ประกอบนาฎศิลป์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 องค์ประกอบนาฎศิลป์

เอกสารประกอบการเรยี น

รายวิชาพ้นื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง องคป์ ระกอบนาฏศิลป์

จัดทาโดย
นางยวุ ธิดา สุวรรณเมฆ

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 12
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฏรธ์ านี เขต 2

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง องค์ประกอบนาฏศิลป์
มเี นอ้ื หา ดังนี้

1. ความหมายและประวตั ิความเปน็ มาของนาฏศิลป์
2. องค์ประกอบของนาฏศิลปไ์ ทย
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้สอนและผู้เรียน เอกสารประกอบการเรียน
มีท้ังหมด 4 เล่ม เล่มน้ีเป็นเล่มที่ 1 ได้จัดทาเน้ือหาท่ีทันสมัยและเป็นเน้ือหาความรู้ตรงตาม
มาตรฐานและตัวชี้วดั ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้
ผู้ เ รี ย น ไ ด้ ศึ ก ษ า ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ซึ่ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
แบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมการเรียนรู้และแบบทดสอบหลังเรียน กระตุ้นกระบวน
การคิด วิเคราะห์ และพัฒนาความสามารถในการเรียน แนวคิดในการจัดทาเอกสารประกอบ
การเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมเป็นผลงานทางวิชาการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนเอกสาร
ประกอบการเรียนรู้รายวิชา นาฏศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 นาฏศิลป์และสามารถช่วย
ครูผู้สอนบูรณาการเน้ือหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยจัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้ใช้กิจกรรมต่าง ๆให้ผู้เรียนได้
ทาเพื่อสร้างองคค์ วามรู้ในบทเรยี น
ขอขอบคุณ ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 12 นายมีศักด์ิ ศรีรักษา
คณะครูและนกั เรียนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 12
ขอขอบคุณผ้อู านวยการวิทยาลัยนาฏศิลป์นครศรีธรรมราช นางวาสนา บุญญาพิทักษ์
นักเรียนวิทยาลัยนาฏศิลป์นครศรีธรรมราช นายณัฐพล เต็มพร้อม ในการจัดทาเอกสาร
ประกอบการเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์
ช้ันปร ะ ถ ม ศึก ษ าปีท่ี 5 หน่วย ก าร เรีย นรู้ที่ 1 เรื่อง อง ค์ปร ะ ก อ บนา ฏ ศิล ป์
จนประสบผลสาเรจ็ ดว้ ยดี

ยุวธิดา สวุ รรณเมฆ

สารบญั ข

เรอื่ ง หนา้

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1
บทที่ 1 นาฏศิลปไ์ ทย 3
3
- ความหมายและท่ีมาของนาฏศลิ ป์ 6
- องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ 6
- จังหวะ 6
- คาร้องและทานอง 6
- การแตง่ กายและแต่งหนา้ 7
- อปุ กรณ์การแสดง 10
- นาฎยศพั ท์ 10
- ภาษาท่า 11
- กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 12
- กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 2 14
บทที่ 2 นาฏศัพท์ 14
- นาฏยศพั ทท์ ใ่ี ชก้ บั มือ 21
- นาฏยศพั ท์ทใ่ี ชก้ บั เท้า 24
- กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 25
- กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 4 26
บทที่ 3 ภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ 33
- กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ 5 34
- กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 6 35
- แบบทดสอบทา้ ยเรื่อง 37
แบบทดสอบหลังเรียน 39
บรรณานกุ รม 40
ภาคผนวก 46
ประวัตผิ จู้ ดั ทา

สารบัญภาพ ค

เร่อื ง หนา้

ภาพที่ 1 การแสดงโขน ตอน จองถนนสู่ลงกา 4
ภาพท่ี 2 การแสดงโขน ตอน พระรามตามกวาง 5
ภาพท่ี 3 ฟ้อนเทยี น 7
ภาพที่ 4 ระบาตารกี ปี ัส 7
ภาพที่ 5 ระบาดอกบวั 8
ภาพท่ี 6 ฟอ้ นเลบ็ 8
ภาพท่ี 7 เซ้ิงกระตบิ ข้าว 9
ภาพท่ี 8 ราเถดิ เทิง 9
ภาพท่ี 9 จบี 14
ภาพที่ 10 จีบควา่ 15
ภาพที่ 11 จบี หงาย 15
ภาพท่ี 12 จบี ส่งหลงั 16
ภาพท่ี 13 จีบปรกหน้า 16
ภาพท่ี 14 จบี ปรกขา้ ง 17
ภาพท่ี 15 วง 17
ภาพท่ี 16 วงบน 18
ภาพที่ 17 วงกลาง 18
ภาพที่ 18 วงล่าง 19
ภาพที่ 19 วงหนา้ 19
ภาพท่ี 20 วงบวั บาน 20
ภาพที่ 21 ล่อแกว้ 20
ภาพที่ 22 ประเท้า 21
ภาพท่ี 23 ยกเท้า 21
ภาพท่ี 24 กระทุง้ เทา้ 22

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ง

เร่ือง หนา้

ภาพท่ี 25 กระดกเท้า 22
ภาพท่ี 26 จรดเท้า 23
ภาพที่ 27 กา้ วหน้า 23
ภาพที่ 28 ทา่ เชื้อเชญิ / อวยพร 26
ภาพที่ 29 ทา่ รกั 26
ภาพท่ี 30 ทา่ ยมิ้ ดีใจ 27
ภาพท่ี 31 ทา่ ตวั เรา 27
ภาพท่ี 32 ท่าอาย 28
ภาพท่ี 33 ท่าปฏิเสธ 28
ภาพที่ 34 ทา่ พร้อม / ประชุม / รวบรวม 29
ภาพที่ 35 ทา่ เคารพ 29
ภาพที่ 36 ท่าทา่ น 30
ภาพที่ 37 เศร้า / เสียใจ 30
ภาพที่ 38 ท่าโกรธ 31
ภาพท่ี 39 ทา่ เรยี ก 31
ภาพที่ 40 ทา่ ไป 32
ภาพท่ี 41 ท่าน่งั 32



เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สาระนาฏศิลป์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง องค์ประกอบนาฏศิลป์
ได้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียน ตัวชี้วัด กิจกรรมการเรียนรู้
การวดั และประเมินผลไวอ้ ยา่ งครอบคลุมดีแลว้

กอ่ นเรียน

ครูผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ทาความเข้าใจกับผู้เรียนว่า ต้องการให้
ผู้เรียนทาอะไรได้ มีพฤติกรรมเช่นไร เน้ือหาที่เรียนรู้มาเร่ืองอะไรบ้าง อุปกรณ์การเรียนรู้
ที่ต้องเตรียมวิธีการวัดผลประเมินผล รวมท้ังเวลาท่ีใช้ในการเรียนรู้ทั้งหมด ซึ่งอาจจะใช้วิธีการ
สร้างข้อตกลงในการเรียนรูร้ ่วมกันกไ็ ด้

ระหวา่ งเรียน

ครูผู้สอนทาความเข้าใจเก่ียวกับขั้นตอนการเรียนรู้ การแบ่งกลุ่มผู้เรียนเพื่อให้เกิด
การร่วมคิดร่วมทาในตอนต้น และให้ฝึกปฏิบัติรายบุคคล การนาเสนอผลงาน รวมท้ังความ
ระมัดระวังความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือ และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนคิดข้ันตอน
การทางานของตนเองออกแบบสร้างสรรค์อย่างอิสระโดยมคี รผู สู้ อนคอยแนะนาความรูเ้ พ่ิมเตมิ ให้

หลงั เรยี น

ครูผ้สู อนเปิดโอกาสให้นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทางานท้ังหมด
ว่ามีปัญหาอุปสรรค จุดดีจุดด้อย ควรปรับปรุงอะไร เช่นไร ร่วมกันเสนอแนวทางพัฒนาในครั้ง
ต่อไปชมเชยงาน บุคคลท่ีปฏิบัติงานดีและเป็นตัวอย่างของการร่วมมือ การประหยัด
ควา ม ซ่ื อ สัต ย์ ควา มสา มัคคี คว ามมี น้าใ จ ค วาม ข ยัน หม่ัน เพีย ร มี ระ เ บียบ วินั ย
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 5 เป็นเอกสารท่ีครูจัดทาข้ึนเพื่อให้นักเรียนใช้ประกอบการเรียน
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนที่ยดึ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญอนั เป็นกลวิธีหลักในการเสริมสร้างความรู้
ความเข้าใจ เจตคตแิ ละทักษะสาหรบั นกั เรยี น



เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง องค์ประกอบนาฏศลิ ป์ จดั ทาขึน้ เพ่ือให้นักเรียน
ได้ศึกษาหาความรู้และประกอบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ในเร่ือง องค์ประกอบนาฏศิลป์
ภาษาท่า นาฏยศัพท์ ซงึ่ เป็นทา่ นาฏศลิ ป์พน้ื ฐานที่สามารถฝึกหัดแล้วนามาประกอบหรือประดิษฐ์
เปน็ ทา่ ราขึ้นได้ ซึ่งมสี ว่ นประกอบของเอกสารให้ผู้เรยี นได้ศึกษาดงั น้ี

1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. ใบความรู้
3. กิจกรรมการเรยี นรู้
4. แบบทดสอบทา้ ยเรื่อง
5. แบบทดสอบหลงั เรียน
ให้ผู้เรียนใช้ประกอบการเรียนการสอนใน 1 ภาคเรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ ตวั ช้ีวัด และสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ซ่ึงมีท้ังหมด 4 หน่วยการเรียนรู้ เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้เป็นเล่มท่ี 1 ที่นักเรียน
จะตอ้ งเรียนเพื่อเป็นพื้นฐานในการเรยี นเรอื่ งต่อไป
มาตรฐาน
ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์ คุณค่าทางนาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
ตัวชว้ี ดั
ป.5/1 บรรยายองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์



- ความหมายและความเป็นมาของนาฏศิลป์
- องค์ประกอบนาฏศลิ ป์
- ความหมายนาฏยศัพท์
- ฝึกปฏิบัตนิ าฏยศพั ท์
- ความหมายภาษาทา่
- ฝึกปฏิบัตภิ าษาทา่ นาฏศลิ ป์

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้นักเรียนเขียนเคร่อื งหมาย  ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้อง ได.้ ................คะแนน

คำชแี้ จง มฐ. ศ 3.1 ป.5/1

1. ขอ้ ใดหมายถึงนาฏศลิ ป์
ก. การแสดงพืน้ บ้านของชาวไทย
ข. ศิลปะของการแสดง ระบา รา ฟ้อน โขนละคร
ค. การร้องรา เพือ่ ความบันเทงิ ของชาว เกษตรกร
ง. ศลิ ปะการฟ้อนราทมี่ าจากแหลง่ วัฒนธรรมอน่ื

2. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์

ก. เวที ข. คาร้อง

ค. จังหวะ ง. อุปกรณ์

3. การแสดงนาฏศลิ ปใ์ หพ้ ร้อมเพรยี งกันตอ้ งอาศยั องคป์ ระกอบใด

ก. จงั หวะ ข. อุปกรณ์

ค. เนอื้ รอ้ ง ง. ภาษาทา่

4. ขอ้ ใดเปน็ นาฏยศพั ทท์ ้ังหมด
ก. ทา่ มา้ ท่ามองดู ท่าอาย
ข. ตง้ั วงบน จบี คว่า ทา่ รกั
ค. วงหนา้ ลอ่ แกว้ จีบหงาย
ง. กล่อมไหล่ ทา่ ตัวเรา ท่าล่อแกว้

5. ถา้ ผแู้ สดงใช้ภาษาทา่ ที่ผดิ ขณะแสดง จะเกดิ ผลอยา่ งไร
ก. ผูช้ มร้องโหไ่ ล่
ข. การแสดงจบทนั ที
ค. ผู้ชมอาจไมเ่ ข้าใจการแสดง
ง. ผ้แู สดงคนอื่นแสดงตอ่ ไม่ได้

6. ถา้ ผู้แสดงนามอื ประสานที่อก หมายความวา่ อยา่ งไร

ก. รกั ข. หาว

ค. หวั เราะ ง. พร้อมใจ

7. เพราะเหตุใดจึงต้องใช้ภาษาทา่ ในการแสดงนาฏศิลป์
ก. เพ่ือใหเ้ กดิ ความสวยงาม
ข. เพื่อใหเ้ กิดความสนกุ สนาน
ค. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจเนื้อเรอ่ื งไดช้ ัดเจน
ง. เพอ่ื ใหใ้ หช้ าวต่างประเทศชื่นชม

8. การจบี ทีบ่ รเิ วณหวั เขม็ ขัด เปน็ การจบี แบบใด

ก. จบี ลา่ ง ข. จบี คว่า

ค. จบี หงาย ง. จบี ปรกขา้ ง

9. ทา่ ใดปฏิบตั ติ อ่ จากท่ากระทุ้งเทา้

ก. ถัดเท้า ข. ยกหนา้

ค. จรดเทา้ ง. กระดกเทา้

10. องค์ประกอบนาฏศิลป์ข้อใดท่ีเกดิ จากผู้แสดง
ก. คาร้อง
ข. ทานอง
ค. อปุ กรณก์ ารแสดง
ง. ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์และนาฏยศัพท์

บทท่ี 1 นาฏศิลปไ์ ทย ความหมาย/ที่มา

ความหมายของนาฏศิลป์

นาฏศิลป์ หรือนาฏยศิลป์ หมายถึง ศิลปะการแสดงท่ีเกิดจากการเคลื่อนไหว
ร่างกายให้สวยงามอ่อนช้อย ท้ังท่ีเป็นระบา รา เต้น ฟ้อน ละคร โขน
หนังใหญ่ ฯลฯ ปัจจุบันมักมีคนคิดชื่อใหม่ให้ดูทันสมัยคือ นาฎกรรม
สังคีตศิลป์ วิพิธทัศนา และศิลปะการแสดง ซ่ึงมีความหมายใกล้เคียงกัน
เพราะเปน็ คาทคี่ รอบคลุมศิลปะแห่งการรอ้ ง การรา และการบรรเลงดนตรี

ท่ีมาของนาฏศลิ ป์ไทย

ที่มา ขอ งนาฏศิ ลป์ไ ทยเข้าใจ ว่าเกิด จาก สภ าพค วามเป็นอ ยู่โด ย ธรรม ชาติ
ของมนุษย์โลกที่มีความสงบสุข มีความอุดมสมบูรณ์ในทางโภชนาการ มีความพร้อม
ในการแสดงความยินดี จึงปรากฏออกมาในรูปแบบการแสดงอาการท่ีบ่งบอกถึง
ความกาหนดรู้ ดังน้ันเมื่อประมวลท่ีนักวิชาการเทียบอ้างตามแนวคิดและทฤษฎี จึง
พบว่าท่ีมาของนาฏศิลป์ไทยเกิดจากแหล่ง 3 แหล่งคือ เกิดจากกระบวนการทาง
ธรรมชาติ เกิดจากการเซ่นสรวงบูชา และเกิดจากการรับอารยธรรมของประเทศ
อินเดีย ดังนี้ (สถาบันพฒั นาคุณภาพวิชาการ, 2552)

1. เกิดจากกระบวนการทางธรรมชาติ หมายถึง เกิดตามพัฒนาการของความ
เป็นมนุษยท์ อี่ ยรู่ ว่ มกันเปน็ กลมุ่ ชน ซ่งึ พอประมวลความแบง่ เป็นขนั้ ได้ 3 ข้ัน ดังน้ี

ข้ันต้น เกิดแต่วิสัยสัตว์ เม่ือเวทนาเสวยอารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นสุข
เวทนาหรือทุกขเวทนาก็ตาม ถ้าอารมณ์แรงกล้าไม่กลั้นไว้ได้ ก็แสดงออกมาให้เห็น
ปรากฏ เชน่ เด็กทารกเมื่อพอใจ ก็หวั เราะตบมอื กระโดดโลดเต้นเมื่อไม่พอใจก็ร้องไห้
ด้ินรน

ข้ันต่อมา เม่ือคนรู้ความหมายของกิริยาท่าทางมากขึ้น ก็ใช้กิริยา
เหลา่ น้ันเปน็ ภาษาสือ่ ความหมาย ให้ผู้อ่ืนรู้ความรู้สึกและความประสงค์ เช่น ต้องการ
แสดงความเสน่หาก็ย้ิมแย้มกรุ้มกร่ิมชม้อยชม้ายชายตาหรือโกรธเคืองก็ทาหน้าตา
ถมงึ ทึง กระแทก เปน็ ตน้

ต่อมาอีกข้ันหน่ึงนั้น เม่ือเกิดปรากฎการณ์ตามท่ีกล่าวในขั้นที่ 1 และ ข้ันท่ี 2
แล้ว มผี ู้ฉลาดเลอื กเอากริ ยิ าท่าทางซ่ึงแสดงอารมณ์ต่าง ๆ นั้นมาเรียบเรียงสอดคล้อง
ติดต่อกันเป็นขบวนฟ้อนราให้เห็นงาม จนเป็นที่ต้องตาติดใจคน จนเกิดเป็น
ววิ ัฒนาการของนาฏศิลปท์ ่ีสวยงามตามท่เี ห็นในปจั จุบัน

2. เกิดจากการเซ่นสรวงบูชา หมายถึง กระบวนการประกอบพิธีกรรมตาม
ความเชื่อของกลุ่มชน ซ่ึงพบว่าการเซ่นสรวงบูชา มนุษย์แต่โบราณมามีความเช่ือถือ
ในส่ิงศักด์ิสิทธ์ิจึงมีการบูชา เซ่นสรวงเพื่อขอให้ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ประทานพรให้ตน
สมปรารถนา หรือขอให้ขจัดปัดเป่าส่ิงท่ีตนไม่ปรารถนาให้ส้ินไป การบูชามีวิธีการ
ตามแต่จะยึดถือมักถวายสิ่งท่ีตนเห็นว่าดีหรือท่ีตนพอใจ เช่น ข้าวปลาอาหาร ขนม
หวาน ผลไม้ ดอกไม้ จนถึง การขับร้อง ฟ้อนรา เพ่ือให้สิ่งที่ตนเคารพบูชานั้นพอใจ
ต่อมามีการฟ้อนราบาเรอกษัตริย์ด้วย ถือว่าเป็นสมมุติเทพท่ีช่วยบาบัดทุกข์บารุงสุข
ให้มีการฟ้อนรารับขวัญขุนศึกนักรบผู้กล้าหาญท่ีมีชัยในการสงครามปราบข้าศึกศัตรู
ต่อมาการฟ้อนราก็คลายความศักดิ์สิทธ์ิลงมา กลายเป็นการฟ้อนราเพื่อความบันเทิง
ของคนทว่ั ไป

ภาพท่ี 1 การแสดงโขน ตอน จองถนนสลู่ งกา
ที่มา : http://www.salachalermkrung.com/khon.php

3. การรับอารยธรรมของอินเดีย หมายถึง อิทธิพลของประเทศเพื่อนบ้าน
จากประวัติศาสตร์ของประเทศไทยท่ียาวนานว่า เม่ือไทยมาอยู่ในสุวรรณภูมิใหม่น้ัน
มีชนชาติมอญ และชาติขอมเจริญรุ่งเรืองอยู่ก่อนแล้ว ชาติท้ังสองนั้นได้รับอารยธรรม
ของอินเดียไว้มากมายเป็นเวลานาน เมื่อไทยมาอยู่ในระหว่างชนชาติท้ังสองนี้ก็มีการ
ติดต่อกันอย่างใกล้ชิด ไทยจึงพลอยได้รับอารยธรรมอินเดียไว้หลายด้าน เช่น ภาษา
ประเพณี ตลอดจนศิลปะการแสดง ได้แก่ ระบา ละครและโขน ซ่ึงเป็นนาฏศิลป์
มาตรฐานทส่ี วยงามดังปรากฏให้เหน็ นีเ้ อง

ภาพที่ 2 การแสดงโขน ตอน พระรามตามกวาง
ทีม่ า : http://pantip.com/topic/32231538

องคป์ ระกอบนาฏศิลป์

องคป์ ระกอบที่ทาใหน้ าฏศลิ ป์ไทยมเี อกลักษณเ์ ฉพาะตวั ทม่ี ีความสวยงามโดด
เด่น และบ่งบอกถึงความมีอารยธรรมทางด้านศิลปะมาแต่อดีตกาลจะต้อง
ประกอบด้วย องค์ประกอบของนาฏศลิ ป์ดังนี้ (สถาบันพฒั นาคุณภาพวชิ าการ, 2552)

1. จังหวะ เป็นส่วนย่อยของบทเพลงท่ีดาเนินไปเป็นระยะและสม่าเสมอ
การฝึกหัดนาฏศิลป์ จาเป็นต้องใช้จังหวะเป็นพ้ืนฐานในการฝึกหัด เพราะจังหวะ
เป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนจากธรรมชาติและมีอยู่ในตัวมนุษย์ทุกคนการฝึกหัดนาฏศิลป์ให้
ถูกต้องตรงตามจังหวะทาให้เกิดความพร้อมเพรียงและสวยงาม เช่น ในการฟ้อนรา
ท่ีมีผู้แสดงจานวนมากจะต้องมีการกาหนดจังหวะของการแสดง เพื่อให้ผู้แสดง
ไดพ้ ร้อมเพรยี งกัน

2. คาร้องและทานองเพลง การแสดงลีลาท่าราแต่ละคร้ังจะต้อง
สอดคล้องตามเนื้อร้องและทานองเพลงเพราะผู้แสดงต้องถ่ายทอดอารมณ์
ความรู้สึกของเนื้อร้องและทานองเพลงนั้นให้ผู้ชมได้รับรู้ถึงอารมณ์และ
ความหมายของเนื้อเพลง เพื่อบอกความหมายของท่ารา ถ่ายทอดอารมณ์
ความรู้สึกในการแสดงได้ตามเน้ือเรื่อง ตลอดจนสามารถสื่อความหมายให้กับ
ผู้ชมเขา้ ใจตรงกันได้ เชน่ การแสดงอารมณร์ กั ผรู้ าจะประสานมือวางไว้ท่ีหน้าอก
ใบหนา้ ย้มิ ละไม สายตามองไปยังตัวละครท่ีราคกู่ ัน เปน็ ต้น

3. การแต่งกาย แต่งหน้า เป็นองค์ประกอบท่ีทาให้ผู้แสดงสวยงาม
อกี ทง้ั สามารถบง่ บอกถงึ ยศ ฐานะ บรรดาศักด์ิ บอกวัย บอกลักษณะเฉพาะของ
ตัวละคร ของผู้แสดงนั้น ๆ และยังสามารถอาพรางข้อบกพร่องของใบหน้าของ
ผู้แสดงได้ นอกจากนี้ก็ยังสามารถใช้วิธีการแต่งหน้าเพ่ือบ่งบอกวัยของตัวละคร
เช่น แต่งหนา้ คนหนมุ่ ใหเ้ ป็นคนแก่

4. อุปกรณ์ประกอบการแสดง การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดต้องมี
อุปกรณ์ประกอบการแสดงด้วย เพ่ือให้การแสดงนั้นสวยงามและน่าสนใจย่ิงข้ึน
ซ่ึงอปุ กรณ์แตล่ ะชนิดท่ใี ช้ประกอบการแสดงจะต้องสมบรู ณ์ สวยงามและสวมใส่ได้
พอดี เหมาะกับการแสดง ทั้งนี้ผู้แสดงจะต้องมีทักษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่าง
คล่องแคล่ว จดั วางอยใู่ นระดบั ทถี่ กู ตอ้ งสวยงาม ดงั ตัวอย่าง

ชือ่ การแสดง : ฟอ้ นเทียน
อุปกรณ์ประกอบการแสดง : เทียน

ภาพที่ 3 ฟ้อนเทยี น
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/81888
ช่อื การแสดง : ระบาตารีกปี สั
อุปกรณ์ประกอบการแสดง : พดั

ภาพท่ี

ที่มา : http://www.learnthaidance.info/thai-dance-costume/

ภาพที่ 4 ระบาตารีกีปสั
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/81888

ช่อื การแสดง :ระบาดอกบวั
อปุ กรณ์ประกอบการแสดง : ดอกบวั

ภาพท่ี 5 ระบาดอกบัว
ท่ีมา : http://www.learnthaidance.info/thai-dance-costume/
ชอื่ การแสดง : ฟอ้ นเล็บ
อุปกรณป์ ระกอบการแสดง : เลบ็

ภาพที่ 6 ฟ้อนเลบ็
ทมี่ า : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/

book/book.php?book=23&chap=3&page=t23-3-
infodetail02.html

ชือ่ การแสดง :เซง้ิ กระติบ
อุปกรณ์กอบการแสดง : กระติบขา้ ว

ภาพท่ี 7 เซง้ิ กระตบิ
ที่มา : https://sawlanla.wordpress.com

ชือ่ การแสดง : ราเถิดเทงิ
อปุ กรณป์ ระกอบการแสดง : กลองยาว

ภาพที่ 8 ราเถิดเทิง
ทม่ี า : http://www.oknation.net/blog/assada999/

2009/11/25/entry-1

5. นาฏยศัพท์ คือ คาที่ใช้เรียกชื่อท่าราหรือลักษณะกิริยาท่าทางในการแสดง
นาฏศิลป์ เช่น จบี ตง้ั วง กระดกเทา้ กล่อมไหล่ กรายมือ เปน็ ตน้

6. ภาษาท่า คือ การใช้ท่าทางแทนคาพูด เป็นท่าทางท่ีประดิษฐ์ข้ึนเพื่อใช้สื่อสาร
แทนคาพูด บทร้อง ในการแสดงนาฏศิลป์ให้ผู้ชมเข้าใจเร่ืองราว เช่น ท่าตัวเรา
ท่าทา่ น ท่ากีดกัน ท่าภเู ขา ท่าม้า เปน็ ตน้

กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ี 1 คะแนนเต็ม 10 คะแนน

นาฏศิลป์ ได.้ ................คะแนน

จดุ ประสงค์ : รคู้ วามหมายและความเป็ นมาของนาฏศลิ ป์

คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นนาพยญั ชนะดา้ นขวามือ
เตมิ ลงในช่องว่างใหส้ มั พนั ธ์กบั ขอ้ ความ(ซา้ กนั ได)้

...........1. ศพั ทท์ ่ีใช้เรยี กท่าราทางดา้ นนาฏศิลป์ ก. ลอ่ แก้ว
...........2. ส่ิงที่ใช้ประกอบการแสดงในชดุ ตา่ ง ๆ เชน่ พดั ,ดอกบัว ข. ตัวเรา
...........3. ศลิ ปะการแสดงทเ่ี กดิ จากการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายให้ ค. นาฏยศัพท์
ง. อปุ กรณ์การแสดง
สวยงามอ่อนช้อย จ. การแต่งกาย-
...........4. น้ิวหัวแมม่ อื จรดข้อแรกของน้ิวชี้ นิ้วที่เหลอื กรีดออก แตง่ หนา้
...........5. นาฏศลิ ป์เกิดจากการเซน่ สรวงบูชา การเลยี นแบบ ฉ. จบี
ช. ทม่ี าของนาฏศลิ ป์
ธรรมชาติ การรบั อารยธรรมของอินเดีย ซ. ภาษาทา่
...........6. การใช้ท่าทางในการสอ่ื สารแทนคาพูด ฌ. จังหวะ
...........7. สิ่งที่ทาใหผ้ ูแ้ สดง แสดงได้พร้อมเพรยี งกัน ญ. นาฏศลิ ป์
...........8. ศลิ ปะการรา ระบา ฟ้อน โขน ละคร
...........9. มอื ซา้ ย จีบหงายท่หี นา้ อก
...........10. สง่ิ ทีท่ าให้ผู้แสดงสวยงามตระการตาน่าสนใจ

คาช้แี จง กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ี 2 คะแนนเต็ม 5 คะแนน
องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ ได.้ ................คะแนน

จดุ ประสงค์ : จาแนกองคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์ ได้

ใหน้ กั เรยี นนาตวั อกั ษรหนา้ องคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์
เขยี นเตมิ ลงในใหถ้ ูกตอ้ ง (คาตอบสามารถใชไ้ ดม้ ากกว่า 1 ครงั้ )

ก. จังหวะ ข. ทานอง ค. คาร้อง

ง. ภาษาทา่ ราทางนาฏศลิ ป์ จ. อปุ กรณป์ ระกอบการแสดง
ฉ. นาฏยศพั ท์ ช. การแต่งกาย แตง่ หนา้

1 2 3
ผแู้ สดงจะสามารถ
สิ่งท่ที าใหผ้ แู้ สดง การแสดงทา่ ทางท่ี ถ่ายทอดอารมณ์
สวยงามน่าดู ทาใหผ้ ูช้ มเขา้ ใจ ความรสู้ กึ ของการแสดง
ความหมายการ ได้ถา้ เขา้ ใจสิง่ น้ี
แสดงแทนคาพูด

4 5
ผ้แู สดงจะสร้างสรรค์ กลองยาวทใี่ ช้
ทา่ ราไดง้ ่ายขึ้นถ้า ประกอบการแสดง
เข้าใจสิ่งใด

6 7 8
คาทใ่ี ช้เรียกชือ่ กิริยา สง่ิ ทก่ี าหนดให้การ เทยี นเป็นส่งิ สาคญั ใน
ท่าทางในการแสดง แสดงมคี วามพรอ้ ม การแสดงฟ้อนเทียน
เชน่ ประเทา้ เพรยี ง

9 10
ใช้เปน็ พ้ืนฐานในการ
ฝกึ หัด สามารถบง่ บอกถงึ
ยศถาบรรดาศักด์ิ

บทท่ี 2 นาฏยศพั ท์

ความหมาย

นาฏยศัพท์ หมายถึง ศพั ท์ทีใ่ ชเ้ รยี กชอื่ ลักษณะท่าราที่ใช้ในการฝึกหัดนาฏศิลป์
เพ่ือใช้ในการแสดงโขน ละคร เป็นคาท่ีใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย สามารถ
สื่อความหมายกนั ได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่างๆ

นาฎยศัพท์ เป็นท่าพ้ืนฐานอย่างหน่ึงท่ีเราสามารถฝึกหัดแล้วนามาประกอบ
หรือประดิษฐ์ข้ึนเป็นท่าราได้ดังนั้นควรฝึกหัดนาฎยศัพท์ให้ถูกต้องและสวยงาม
เพ่อื เป็นพ้ืนฐานการราที่ดี ดงั ต่อไปน้ี

นาฏยศัพทท์ ่ใี ช้กับมือ

ภาพท่ี 9 จบี
1. จีบ คือ กิริยาของมือและน้ิว โดยจรดน้ิวหัวแม่มือและน้ิวชี้เข้าหากัน
ให้นิ้วหัวแม่มือจรดข้อแรกของน้ิวช้ี นิ้วท่ีเหลือ กรีดออกเป็นรูป พัด
และจะต้องหักขอ้ มือเขา้ หาลาแขนเสมอ

ภาพที่ 10 จีบควา่
1.1 จีบคว่า คือ การควา่ ขอ้ มอื ท่ที าท่าจบี ปลายนวิ้ ทจ่ี บี ชีล้ งดา้ นลา่ ง

ภาพที่ 11 จบี หงาย
1.2 จบี หงาย คอื การจบี ท่หี งายขอ้ มือข้ึนใหป้ ลายนวิ้ ทจี่ ีบชขี้ ึ้นข้างบน

หักข้อมือเข้าหาลาแขน

ภาพที่ 12 จีบส่งหลงั
1.3 จบี สง่ หลงั คอื การส่งมือจีบไปข้างหลังใหแ้ ขนหา่ งจากลาตวั

แขนเหยยี ดตึง ทามอื จีบหกั ข้อมือให้ปลายนว้ิ ชี้ข้ึนขา้ งบน

ภาพท่ี 13 จบี ปรกหนา้
1.4 จบี ปรกหนา้ คอื การจีบที่คล้ายกบั การจีบหงาย แต่ยกมือขึน้ หนั จีบ

เข้าหาหน้าผากเฉียงกบั ใบหน้า

ภาพท่ี 14 จบี ปรกขา้ ง
1.5 จีบปรกขา้ ง คอื การยกมอื จบี ขึ้นตง้ั ฉากหักขอ้ มือ ปลายนิ้วที่จีบ

ชี้เข้าหาแงศ่ รี ษะ ลาแขนอย่ขู ้างลาตวั ระดับเดียวกับวงบน

ภาพท่ี 15 วง
2. วง คือ การตงั้ ลาแขนขา้ งใดข้างหนึง่ หรอื สองขา้ งใหโ้ ค้งพองาม

นวิ้ ทง้ั 4 เรยี งชดิ ตดิ กัน หลบนวิ้ หวั แมม่ ือเข้าหาฝ่ามอื เล็กนอ้ ย
หักขอ้ มอื เขา้ หาลาแขน

ภาพที่ 16 วงบน
2.1 วงบน คอื การยกลาแขนไปขา้ งลาตวั ทอดขอ้ ศอกโคง้ มือแบตั้งปลาย

น้ิวขนึ้ ตัวพระ ปลายน้ิวอยู่ระดบั แง่ศีรษะ ตัวนาง ปลายน้วิ อยรู่ ะดับ
หางค้วิ

ภาพที่ 17 วงกลาง
2.2 วงกลาง คือ การยกลาแขนไปข้างลาตัวใหป้ ลายนิว้ อยรู่ ะดบั ไหล่

ภาพที่ 18 วงลา่ ง
2.3 วงลา่ ง คือ การตงั้ วงระดบั ต่าโดยทอดสว่ นโค้งของลาแขนลงข้างลา่ ง

มืออย่รู ะดบั ชายพก

ภาพที่ 19 วงหนา้
2.4 วงหน้า คือ การต้ังวงทยี่ กลาแขนทอดโคง้ ไปขา้ งหน้า

ภาพที่ 20 วงบัวบาน
2.5 วงบวั บาน คอื การยกแขนท้งั สอง ขา้ งลาตวั ใหศ้ อกสูงระดับไหล่

หกั ศอกแขนทอ่ นลา่ ง พบั เขา้ หาตัวต้งั ฉากกับแขนท่อนบน มอื แบ
หงายปลายนิ้วชไ้ี ปดา้ นข้าง

ภาพที่ 21 ลอ่ แกว้
3. ล่อแกว้ คอื การนาน้วิ หวั แมม่ อื ทับไปบนเล็บของน้วิ กลางลกั ษณะ

เปน็ วงกลม นิว้ ชี้ นิว้ นางและน้วิ กอ้ ย กรดี ออกหักข้อมือเขา้ หาลาแขน

นาฏยศพั ท์ทใ่ี ช้กับเทา้

ภาพท่ี 22 ประเท้า
1. ประเท้า คือ กิริยาของการใช้จมกู เท้าข้างใดขา้ งหนึง่ แตะพืน้ เบา ๆ

อยูก่ บั ท่ี หรือแตะแลว้ ยกเท้าขน้ึ ระดบั ครึง่ น่อง
(ตวั พระ : กนั เข่า, ตวั นาง : เข่าชิด)

ภาพที่ 23 ยกเท้า
2. ยกเทา้ คอื กิรยิ าของการยกเท้าข้างใดขา้ งหนงึ่ ไปขึ้นดา้ นหนา้

เกรง็ ปลายนวิ้ เทา้ ใหง้ อนขึ้นและเกร็งขอ้ เทา้ ใหต้ งั้ ขึ้นเรยี กวา่ การ
หักขอ้ เท้า (ตวั พระ : กนั เข่า, ตวั นาง : เขา่ ชดิ )

ภาพที่ 24 กระทุ้งเท้า
3. กระท่งุ เทา้ คือ กิริยาการใชจ้ มูกเท้าแตะพ้ืนหรอื กระแทกพื้นเบา ๆ

แลว้ ยกขน้ึ เป็นทา่ เช่อื มของการกระดกเท้า

ภาพท่ี 25 กระดกเท้า
4. กระดกเทา้ คือ เปน็ ทา่ ต่อจากกระท้งุ เท้า คือ กิรยิ าการยกเท้าไป

ข้างหลัง หนบี น่องสง่ เข่าทีก่ ระดกไปข้างหลงั ให้มากทสี่ ุด หักขอ้ เทา้
ปลายเทา้ ช้ลี ง มี 2 ลักษณะคือ น่งั กระดกและยนื กระดก

ภาพที่ 26 จรดเท้า
5. จรดเท้า คอื อาการของเทา้ ขา้ งใดขา้ งหนึง่ วางไวข้ า้ งหน้า เทา้ อกี

ขา้ งวางด้วยสน้ แล้วใชจ้ มกู เทา้ แตะเบา ๆ กบั พืน้ งอเขา่ สน้ เท้าสูงจาก
พ้นื พอประมาณ

ภาพท่ี 27 กา้ วหนา้
7. ก้าวหน้า คือ กริ ยิ าของเท้าที่ก้าวไปข้างหนา้ ให้ปลายเท้าเฉยี งไป

ดา้ นข้างพอประมาณ เปิดส้นเทา้ หลัง

กิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ 3 คะแนนเตม็ 10 คะแนน

ปฏิบตั นิ าฎยศพั ท์ ได.้ ................คะแนน

คาช้แี จง จุดประสงค์ : นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ทิ ่านาฏยศพั ทไ์ ด้
ใหน้ กั เรยี นจบั คู่เพอื่ ปฏบิ ตั นิ าฏศพั ท์ที่กาหนดใหด้ งั ต่อไปน้ี

ปฏิบตั นิ าฎยศพั ท์

ท่าที่ 1 ประเทา้ ทา่ ที่ 6 จรดเทา้
คาช้แี จงท่าที่ 2 ยใกหเน้ทกั า้ เรยี นจบั คู่เพอื่ น ฝึ กปฏทบิ ่าตั ทนิ ่ี า7ฏยจศบี พั หทล์ ทัง่ีกาหนดให้
ทา่ ท่ี 3 กดรงัะตท่อุ้งไเปทนา้้ี ทา่ ที่ 8 ตงั้ วงบน

ท่าที่ 4 กระดกเทา้ ทา่ ที่ 9 ล่อแกว้

ท่าที่ 5 ก้าวหนา้ ท่าท่ี 10 วงบัวบาน

จากนน้ั ใหแ้ ตล่ ะค่อู อกมาปฏบิ ตั ิ
หน้าช้นั เรยี นทลี ะ 2 คู่ โดยครเู ป็น

ผ้ตู รวจสอบความถกู ตอ้ ง

กิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ 4 คะแนนเต็ม 6 คะแนน

นาฎยศพั ย์ ได.้ ................คะแนน

จุดประสงค์ : นักเรยี นสามารถบอกความหมายและชอ่ื ทา่ นาฎยศัพย์ได้

คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นนานาฎยศพั ท์ทก่ี าหนดใหเ้ ขยี นเติมลงในช่องว่างให้
สมั พนั ธ์กบั ภาพ

วงกลาง ยกเท้า จีบส่งหลงั
ล่อแกว้
กระดกเท้า จีบควา่

.......................... ..........................

.......................... ......................

.......................... .......................

นาฎยศพั ท์ หมายถงึ ..........................................................................................
...........................................................................................................................
..........................................................................................................................

บทท่ี 3 ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์

ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ หมายถึง ภาษาท่ีใช้แทนคาพูด สาหรับการส่ือสาร
หรือถ่ายทอดเรื่องราวของนักแสดงเพ่ือให้ผู้ชมเข้าใจ โดยใช้ท่าทางนาฏศิลป์
เป็นตัวสื่อไม่ใช้คาพูด หรืออีกนัยหน่ึงน้ันคือภาษาใบ้ ส่วนใหญ่จะใช้อากัปกิริยา
ท่าทางของอวัยวะต่าง ๆ เป็นตัวสื่อสารเพ่ือบอกอาการความต้องการ อารมณ์
ความรสู้ กึ มาสู่ผชู้ มดงั ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ต่อไปน้ี

ภาพที่ 28 ท่าเช้ือเชญิ / อวยพร
1. ท่าเชอื้ เชญิ /อวยพร คือ การหงายฝ่ามือท้ังสองข้าง มือข้างหนงึ่ สูง

ระดบั แงศ่ ีรษะส่วนอีกข้างหนงึ่ อย่รู ะดบั อก

ภาพท่ี 29 ท่ารกั
2. ท่ารัก คือ การใช้มือทงั้ สองตง้ั วงประสานกันท่ีฐานไหล่

ภาพที่ 30 ท่ายิ้มดใี จ
3. ทา่ ย้ิมดใี จ คอื การใชม้ อื ซา้ ยจบี คว่าระดบั ปาก

ภาพท่ี 31 ทา่ ตัวเรา
4. ทา่ ตวั เรา คือ การใชม้ อื ซา้ ยจีบหงายเขา้ ท่ีอก มลี ักษณะการยนื 2 แบบ

ภาพท่ี 32 ท่าอาย
5. ทา่ ทา่ อาย คอื การใชม้ อื ขา้ งใดข้างหนง่ึ แบฝ่ามือแตะทค่ี างแนบแกม้

มอื สว่ นอกี ข้างหนง่ึ (ตัวนางจีบหลัง ตวั พระเท้าสะเอว)

ภาพท่ี 33 ทา่ ปฏเิ สธ
6. ท่าปฏเิ สธ คอื การใช้มือขา้ งใดขา้ งหนง่ึ ตงั้ วงด้านหน้า พร้อมสน่ั ปลายมือ

(เวลาแสดงประกอบการสา่ ยหน้าเลก็ น้อย)

ภาพที่ 34 ท่าพร้อม / ประชุม / รวบรวม
7. ท่าพรอ้ ม/ประชมุ /รวบรวม คือ การใช้ฝ่ามือทัง้ สองข้างคว่ามือประสานกัน

ดา้ นหนา้

ภาพท่ี 35 ทา่ เคารพ
8. ท่าเคารพ คือ การพนมมอื ไหวร้ ะดับอก ให้ปลายนว้ิ ท้งั สองแบออกเล็กนอ้ ย

ท่าเคารพแสดงไดอ้ ีกหลายท่า

ภาพท่ี 36 ทา่ ทา่ น
9. ทา่ ทา่ น คือ การตะแคงมือข้างใดข้างหน่งึ ในระดบั แงศ่ รี ษะ

ภาพท่ี 37 ท่าเศร้า / เสียใจ
10. ทา่ เศรา้ /เสียใจ คอื การประสานมอื ท่หี น้าทอ้ งกม้ หน้าเลก็ นอ้ ย

ภาพท่ี 38 ทา่ โกรธ
11. ทา่ โกรธ ท่าที่ 1 คือ การใชฝ้ ่ามือข้างใดข้างหนึ่งถทู ่ีขา้ งแก้มหรอื คางและ

กระชากมือโดยเร็ว
ท่าโกรธ ท่าท่ี 2 คอื การใชฝ้ ่ามอื ถทู ี่ระหว่างอก แลว้ กระชากมือลงโดยเรว็

ภาพที่ 39 ท่าเรียก
12. ทา่ เรยี ก คือ การใช้มือข้างใดขา้ งหนงึ่ ต้ังวงบนแลว้ กดปลายน้วิ เข้าหาลาตวั

ภาพท่ี 40 ทา่ ไป
13. ท่าไป คือ การใชม้ อื ขา้ งใดขา้ งหน่ึงจบี หงายระดับหน้าแล้วค่อย ๆ

มว้ นมือออกเป็นต้ังวง

ภาพท่ี 41 ท่านั่ง
14. ทา่ น่ัง คอื อยูใ่ นทา่ น่ังพบั เพยี บหันปลายเทา้ ไปขา้ งขวานง่ั ตัวตรง

ตัวพระ : มือขวาวางลักษณะทา้ วสะเอวขา้ งขวา มอื ซ้ายตงั้ มอื ท่หี น้าขาซ้าย
ตัวนาง : มอื ท้งั สองข้างวางทห่ี นา้ ขาข้างขวาโดยทมี่ อื ซ้ายวางดา้ นบน

มือขวาวางดา้ นล่าง

คาช้แี จง กิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ 5 คะแนนเต็ม 10 คะแนน

แสดงภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ ได.้................คะแนน

จุดประสงค์ : นักเรยี นปฏบิ ัตภิ าษาท่าราทางนาฏศลิ ป์ได้

ใหน้ กั เรยี นจบั ค่เู พอ่ื น ฝึ กแสดงภาษาท่าราทางนาฏศลิ ป์
ทกี่ าหนดให้ ดงั ต่อไปน้ี แลว้ ออกมาปฏบิ ตั หิ นา้ ชน้ั เรยี น

ทา่ ท่ี 1 ทา่ น
ท่าท่ี 2 อวยพร
ท่าที่ 3 พรอ้ ม / ประชมุ
ทา่ ที่ 4 เคารพ
ทา่ ที่ 5 รัก
ท่าที่ 6 ตวั เรา
ทา่ ที่ 7 ยิ้ม
ทา่ ท่ี 8 เสยี ใจ
ท่าที่ 9 อาย
ท่าที่ 10 ปฏิเสธ

คาช้แี จง กิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ 6 คะแนนเตม็ 8 คะแนน
ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ ได.้ ................คะแนน

จุดประสงค์ : นกั เรียนมคี วามรเู้ กีย่ วกบั ภาษาท่าราทางดา้ นนาฏศิลป์

ใหน้ กั เรยี นนาภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ทีก่ าหนดใหเ้ ขยี นเติมลงใน
ช่องว่างใหส้ มั พนั ธ์กบั ขอ้ ความและตอบคาถาม

เศรา้ อวยพร พร้อม / ประชมุ

เคารพ ตวั เรา โกรธ

12 3
การใชฝ้ า่ มอื ข้างใดขา้ ง
มอื ทงั้ สองประสานกนั ท่ี การพนมมือไหวร้ ะดบั หนง่ึ ถูทข่ี ้างแก้มหรือคาง
อกตัวตรง และกระชากมือ
หน้าท้องกม้ หนา้ เลก็ นอ้ ย
.......................................
....................................... .......................................

4 5 6
การใชม้ ือซา้ ยจบี ไว้ การใช้ฝา่ มอื ท้งั สองข้าง
การหงายฝ่ามือทง้ั สอง ระดับอก คว่ามอื ประสานกัน
ขา้ ง มอื ขา้ งหนง่ึ สูงระดับ ด้านหน้า
แง่ศีรษะอีกขา้ งหนงึ่ สงู .......................................
ระดบั อก .......................................

...........................................

การแสดงถึงความรักของแมท่ ี่มตี อ่ ลกู ต้องใช้ท่าใด
...................................................................

มีคนแปลกหน้านาขนมมาให้จะต้องใชท้ ่าใด
..................................................................................

คาช้ีแจง องคประกอบนำฏศลิ ป คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้............คะแนน
ให้นักเรียนเขียนเคร่อื งหมาย  ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้อง

ตัวชีว้ ัด (มฐ.ศ 3.1 ป.5/1)

1. ขอ้ ใดหมายถงึ นาฏศิลป์
ก. การแสดงพื้นบา้ นของชาวไทย
ข. ศลิ ปะการระบา รา ฟ้อน โขน ละคร
ค. การร้องราเพอื่ ความบันเทงิ ของชาวเกษตรกร
ง. ศิลปะการฟ้อนราทมี่ าจากแหล่งวัฒนธรรมอน่ื

2. ข้อใด ไม่ใช่ องคป์ ระกอบนาฏศิลป์

ก. คารอ้ ง ข. ทานอง

ค. เสียงประสาน ง. อปุ กรณ์ประกอบการแสดง

3. ข้อใดทาให้การแสดงนาฏศลิ ป์เกิดความพร้อมเพรยี งกนั

ก. จังหวะ ข. เน้ือเพลง

ค. นาฏยศัพท์ ง. ภาษาทา่ ราทางนาฏศิลป์ไทย

4. องคป์ ระกอบนาฏศิลปข์ อ้ ใดทีเ่ กิดจากผ้แู สดง
ก. คารอ้ ง
ข. ทานอง
ค. อปุ กรณป์ ระกอบการแสดง
ง. ภาษาทา่ ราทางนาฏศลิ ป์ไทย นาฏยศัพท์

5. การแสดงระบาตารีกีปัสใชอ้ ุปกรณ์การแสดงในขอ้ ใด

ก. รม่ ข. พดั

ค. กะลา ง. ไม้ไผ่

6. ขอ้ ใดคอื ภาษาทา่ ราทางนาฏศลิ ป์ไทยท่ีมคี วามหมายเกี่ยวกบั สตั ว์

ก. ท่ารัก ข. ทา่ ภูเขา

ค. ท่าล่อแก้ว ง. ทา่ พญาครฑุ

7. การแสดงทา่ รกั ทาใหผ้ ชู้ มเข้าใจตวั ละครกาลังมีความรัก เกยี่ วกบั ส่ิงใด

ก. จงั หวะ ข. ทานอง

ค. ภาษาทา่ ง. นาฎยศพั ท์

8. ขอ้ ใดเป็นนาฏยศพั ทท์ ง้ั หมด

ก. ท่าม้า ท่าฉนั ทา่ มองดู

ข. จีบควา่ ตง้ั วงบน ทา่ รัก

ค. วงหนา้ ลักคอ จบี หงาย

ง. ท่ากลอ่ มไหล่ ทา่ ก้อนหิน ท่าล่อแกว้

9. ถา้ แสดงเปน็ คนแกจ่ ะต้องใชอ้ ุปกรณ์ในข้อใด

ก. มีด ข. เกา้ อี้

ค. ไม้เท้า ง. รถเขน็

10. การแสดงนาฏศลิ ป์ไมถ่ ูกตอ้ งตามจงั หวะจะทาใหเ้ กดิ ผลอย่างไร

ก. การแสดงมีความทันสมัย

ข. การแสดงจะแปลกใหมม่ ากขึน้

ค. การแสดงไมพ่ รอ้ มเพรียงและไมส่ วยงาม

ง. การแสดงจะสวยงามและมคี วามนา่ สนใจ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้นักเรียนเขียนเคร่อื งหมาย  ทับตัวอักษรหน้าคาตอบท่ีถูกต้อง ได.้ ................คะแนน

คำชแี้ จง มฐ. ศ 3.1 ป.5/1

1. ถา้ ผแู้ สดงใชภ้ าษาท่าทผ่ี ดิ ขณะแสดง จะเกดิ ผลอย่างไร
ก. ผชู้ มร้องโห่ไล่
ข. การแสดงจบทันที
ค. ผูช้ มอาจไมเ่ ข้าใจการแสดง
ง. ผแู้ สดงคนอนื่ แสดงตอ่ ไมไ่ ด้

2. ขอ้ ใดหมายถึงนาฏศลิ ป์
ก. การแสดงพน้ื บ้านของชาวไทย
ข. ศลิ ปะของการแสดง ระบา รา ฟ้อน โขนละคร
ค. การรอ้ งรา เพอื่ ความบนั เทิง ของชาว เกษตรกร
ง. ศิลปะการฟอ้ นราทีม่ าจากแหล่งวฒั นธรรมอน่ื

3. ข้อใดเปน็ นาฏยศัพทท์ ง้ั หมด
ก. ทา่ มา้ ท่ามองดู ท่าอาย
ข. ตั้งวงบน จบี ควา่ ท่ารัก
ค. วงหนา้ ล่อแกว้ จบี หงาย
ง. กล่อมไหล่ ท่าตัวเรา ท่าล่อแกว้

4. การแสดงนาฏศลิ ปใ์ หพ้ ร้อมเพรียงกนั ต้องอาศัยองคป์ ระกอบใด

ก. จังหวะ ข. อปุ กรณ์

ค. เน้ือร้อง ง. ภาษาทา่

5. ขอ้ ใดไมใ่ ช่องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์

ก. เวที ข. จังหวะ

ค. คาร้อง ง. อปุ กรณ์

6. ท่าใดปฏิบัติต่อจากทา่ กระทุ้งเท้า

ก. ถัดเทา้ ข. ยกหน้า

ค. จรดเทา้ ง. กระดกเท้า

7. องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ขอ้ ใดทเี่ กดิ จากผ้แู สดง
ก. คารอ้ ง
ข. ทานอง
ค. อุปกรณ์การแสดง
ง. ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ปแ์ ละนาฏยศพั ท์

8. การจีบทบี่ ริเวณหัวเข็มขัด เป็นการจีบแบบใด

ก. จีบลา่ ง ข. จบี คว่า

ค. จีบหงาย ง. จีบปรกข้าง

9. ถ้าผแู้ สดงนามอื ประสานทอี่ ก หมายความวา่ อยา่ งไร

ก. รกั ข. หาว

ค. หวั เราะ ง. พร้อมใจ

10. เพราะเหตใุ ดจงึ ตอ้ งใชภ้ าษาทา่ ในการแสดงนาฏศลิ ป์
ก. เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสวยงาม
ข. เพื่อใหเ้ กิดความสนุกสนาน
ค. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจเนอ้ื เร่ืองได้ชดั เจน
ง. เพ่อื ให้ให้ชาวตา่ งประเทศชื่นชม

บรรณานกุ รม

จิตราภรณ์ แก้วดี. (2557 ธนั วาคม 30). ผลการใช้ชุดการเรียนรู้เร่ือง นาฏยศัพท์และภาษา
ท่านาฏศิลป์ กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ ของนักเรยี น
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1. เข้าถึงไดจ้ าก http:///www.Saphena.So Will.
Blogspot.com

วัฒนาพานิช(วพ) สาราญราษฎร์. (2551). หนงั สือเรยี น รายวิชาพ้ืนฐานศลิ ปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ . กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช
จากัด.

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.). (2552). ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5. กรงุ เทพมหานคร: สถาบันพฒั นาคุณภาพวิชาการ(พว.).

สถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ(พว.). (2551). นาฏศลิ ป์กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.).

สุจิรา ขวญั เมอื ง. (5 ธันวาคม 2555). นาฎยศัพท.์ เขา้ ถงึ ได้จาก
https://www.gotoknow.org/posts/118858

ภาคผนวก

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

1.ข 2.ก 3.ก 4.ค 5.ค
6.ก 7.ค 8.ค 9.ง 10.ง

.....ค......1. ศัพท์ท่ีใช้เรยี กท่าราทางด้านนาฏศิลป์ ก. ลอ่ แก้ว

.....ง......2. สิ่งทใี่ ชป้ ระกอบการแสดงในชดุ ต่าง ๆ เชน่ พัด,ดอกบัว ข. ตัวเรา
.....ญ......3. ศิลปะการแสดงท่ีเกดิ จากการเคลอื่ นไหวร่างกายให้ ค. นาฏยศัพท์
ง. อุปกรณ์การแสดง
สวยงามออ่ นช้อย
.....ฉ......4. นิ้วหวั แมม่ ือจรดข้อแรกของนิว้ ชี้ น้วิ ทีเ่ หลือกรีดออก จ. การแต่งกาย-
.....ช......5. นาฏศิลปเ์ กิดจากการเซ่นสรวงบูชา การเลยี นแบบ แตง่ หนา้
ฉ. จีบ
ธรรมชาติ การรับอารยธรรมของอินเดีย
ช. ท่มี าของนาฏศิลป์
.....ซ......6. การใช้ทา่ ทางในการสอื่ สารแทนคาพดู
ซ. ภาษาท่า
.....ฌ......7. สิ่งที่ทาให้ผูแ้ สดง แสดงได้พร้อมเพรยี งกัน
ฌ. จงั หวะ
.....ญ......8. ศิลปะการรา ระบา ฟ้อน โขน ละคร
ญ. นาฏศิลป์
.....ข......9. มอื ซ้าย จบี หงายทีห่ น้าอก

.....จ......10. สงิ่ ที่ทาให้ผ้แู สดงสวยงามตระการตานา่ สนใจ

1.ช 2.ง 3.ข 4.ค 5.จ
6.ฉ 7.ก 8.จ 9.ก 10.ช


Click to View FlipBook Version