จังหวัดนครราชสีมา ได้มอบหมายให้สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ดาเนินการ
ตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจงั หวัดนครราชสีมา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โครงการพัฒนา
ด้านสังคม กิจกรรมหลัก การส่งเสรมิ หลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน กิจกรรมย่อย ขยายผล
ครัวเรอื นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
(หลักสูตร ๕ วัน ๔ คืน)ระหว่างวันท่ี ๒๐ – ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๔ ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนจังหวัด
นครราชสีมา กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ประชาชนในจังหวัดนครราชสีมาท่ีมีความสนใจจะพัฒนาพ้ืนที่ของตนเอง
และครวั เรอื นต้นแบบ รวมท้ังส้ิน ๔๐ คน โดยมีผู้บรหิ ารและเจ้าหน้าท่ีจากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
นครราชสีมา เปน็ คณะวทิ ยากรตลอดหลักสูตรการจดั ฝกึ อบรมครงั้ น้ี
ส า นั ก ง า นพั ฒน าชุ ม ชน จัง ห วัด น คร ร า ชสี ม า จึง ไ ด้ จัด ท า ร าย ง าน ผ ลการ ด า เนิ น ง าน
การจดั ฝกึ อบรม ภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจาปีของจงั หวัดนครราชสีมา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
โครงการพัฒนาด้านสังคม กิจกรรมหลัก การส่งเสรมิ หลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
กิ จกรรมย่อย ขยายผลครัวเรอื นต้ นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือรายงานผลต่อจังหวัดนครราชสีมา และเพื่อให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้รับทราบ
ผลการดาเนินงาน ท้ังน้ีคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานผลการดาเนินงานจัดฝึกอบรมเล่มนี้
จะเปน็ ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องและผู้ทสี่ นใจเปน็ อยา่ งดี
ก
ข
จังหวัดนครราชสีมา ได้ดาเนินงานตามโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ
ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยพัฒนาพ้ืนที่เรยี นรูช้ ุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ (Community Lab Model for quality of Life : CLM) ระดับตาบล จานวน 1 ตาบล และพัฒนาพ้ืนท่ี
ครัวเรอื นต้นแบบการพัฒนา คุณภาพชีวติ ( Household Lab Model for quality of Life : HLM) ระดับ
ครวั เรอื น จานวน 25 ครวั เรอื น ในพ้ืนท่ีตาบลหนองน้าแดง อาเภอปากชอ่ ง ซงึ่ จากการดาเนินงานพบว่ามีประชาชน
ในจงั หวดั นครราชสีมาจานวนมากให้ความสนใจที่จะพัฒนาพ้ืนทีข่ องตนเอง ตามแนวทางพัฒนาการพัฒนาคณุ ภาพ
ชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
เพ่ือเป็นการส่งเสรมิ การเรยี นรูก้ ารน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์สู่การปฏิบัติ
รวมทง้ั เปน็ การขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมาจึงได้ ดาเนินการจัดฝึกอบรม ภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจาปี
ของจงั หวัดนครราชสีมา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โครงการพัฒนาด้านสังคม กิจกรรมหลัก การส่งเสรมิ
หลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน กิจกรรมย่อย ขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ
ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ข้ึนมา โดยมีรายละเอียด ดังน้ี
1. ชอื่ โครงการ : พัฒนาด้านสังคม
กิจกรรมหลัก : การส่งเสรมิ หลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
กิจกรรมย่อย : ขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
2. วัตถปุ ระสงค์ : เพื่อส่งเสรมิ การเรยี นรูก้ ารน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งประยุกต์สู่การปฏิบตั ิ
และเพื่อขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นาโมเดล”
3. กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชนในจงั หวัดนครราชสีมาทมี่ ีความสนใจจะพัฒนาพ้ืนท่ขี องตนเอง และครวั เรอื นต้นแบบ
รวมทง้ั ส้ิน ๔๐ คน
4. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตรจ์ งั หวัดนครราชสีมา : ประเด็ น เสรมิ สร้างความมั่นคงในการพัฒนาคน
และชุมชนอยา่ งมีคณุ ภาพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. ลักษณะกิจกรรม : จดั ฝกึ อบรม หลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล
ระหว่างวันที่ 20 – 24 ธนั วาคม 2564 (จานวน ๕ วัน 4 คืน)
6. สถานที่ : ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา ตาบลแหลมทอง อาเภอหนองบุญมาก จงั หวดั นครราชสีมา
7. ตัวชวี้ ัดโครงการ : กลุ่มเปา้ หมายจานวน 40 คน สามารถเปน็ แกนนาขับเคล่ือนการน้อมนาหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบตั ิในรูปแบบ โคก หนอง นา ในพ้ืนท่เี ป้าหมายได้
8. งบประมาณ : จานวนเงนิ ท้งั สิ้น 312,000.- บาท (-สามแสนหนึ่งหม่ืนสองพันบาทถ้วน-)
9. หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบ : สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นครราชสีมา (กลุ่มงานยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาชุมชน)
และคณะวทิ ยากรตลอดหลักสูตร จากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
1
10. ผลการดาเนินงาน :
วันที่ กิจกรรม
1 • (ภาคเชา้ ) -คัดกรองผู้เข้ารบั การฝึกอบรมตามมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย
(SHA) ลงทะเบยี น/รบั เอกสาร ปฐมนิเทศ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
20 ธนั วาคม 2564
• (ภาคบ่าย) -การบรรยาย “เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา” โดย นายสุวทิ ย์ เพียนอก (วทิ ยากรเอกชน)
• (ภาคคา่ ) -เคารพธงชาติ/กิจกรรมหน้าเสาธง , ชมวดี ีทัศน์ “แผ่นดินวกิ ฤติ”
และกิจกรรมการถอดบทเรยี นผ่านสื่อ
2 • (ภาคเชา้ ) -การบรรยายและแลกเปล่ียน เรอ่ ื ง “ทฤษฎีบันได 9 ข้ัน สู่ความพอเพียง”
-เคารพธงชาติ/กิจกรรมหน้าเสาธง
21 ธนั วาคม 2564 -การจดั การพื้นท่ี /ออกแบบพื้นที่
-พัฒนาการจงั หวดั นครราชสีมา (นางอรณุ รตั น์ ชงิ ชนะ) พบปะ ให้กาลังใจ
• (ภาคบา่ ย) -การจดั การพ้ืนที่ /ออกแบบพ้ืนท่ี และ Work Shop จาลองการจดั การพ้ืนที่
• (ภาคคา่ ) -เคารพธงชาติ/กิจกรรมหน้าเสาธง , ชมวดี ีทศั น์ “วถิ ีภูมิปญั ญาไทยกับ
การพึ่งตนเอง” และกิจกรรมถอดบทเรยี นผ่านสื่อ
3 (ภาคเชา้ ) -การบรรยายและแลกเปลี่ยน เรอ่ ื ง “หลักกสิกรรมธรรมชาติ/ชวี ติ ในดิน”
-เคารพธงชาติ/กิจกรรมหน้าเสาธง
22 ธนั วาคม 2564 -เข้าฐานเรยี นร(ู้ รกั ษ์แม่ธรณี/รกั ษ์สุขภาพ/คนเอาถ่าน/คนมีนา้ ยา/คนหัวเห็ด)
• (ภาคบ่าย) -เข้าฐานเรยี นร(ู้ รกั ษ์แม่ธรณี/รกั ษ์สุขภาพ/คนเอาถ่าน/คนมีน้ายา/คนหัวเห็ด)
• (ภาคค่า) -เคารพธงชาติ/กิจกรรมหน้าเสาธง , สรุปบทเรยี นฐานเรยี นรู้
4 • (ภาคเชา้ ) -การบรรยายและแลกเปล่ียน เรอ่ ื ง “การพัฒนา 3 ขุมพลัง”
-เคารพธงชาติ/กิจกรรมหน้าเสาธง
23 ธนั วาคม 2564 -เข้าฐานปฏิบตั ิจรงิ แปลงโคก หนอง นา “จติ อาสาเอามื้อสามัคคี”
(ภาคบ่าย) -เข้าฐานปฏิบัติจรงิ แปลงโคก หนอง นา “จติ อาสาเอามื้อสามัคคี”
-กิจกรรม “หาอยู่ หากิน”
• (ภาคคา่ ) -เคารพธงชาติ/กิจกรรมหน้าเสาธง , สรปุ บทเรยี นฐานเรยี นรู้
5 • (ภาคเชา้ ) -กตัญญูสถานท่/ี ทาบุญตักบาตร/ทาความสะอาด
-เคารพธงชาติ/กิจกรรมหน้าเสาธง
24 ธนั วาคม 2564 -การบรรยายและแลกเปล่ียน เรอ่ ื ง “การขับเคล่ือนศาสตรพ์ ระราชา”
-การบรรยายและแลกเปลี่ยน เรอ่ ื ง “ยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่ือนปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบตั ิ/จดั ทาแผนปฏิบตั ิงาน
• (ภาคบา่ ย) -กิจกรรม “ในหลวงในดวงใจ/ต้ังปณิธานรว่ มกัน”
-พิธปี ดิ การอบรม/มอบวฒุ ิบตั ิ
-เสรจ็ ส้ินการฝกึ อบรม/เดินทางกลับโดยสวสั ดิภาพ
2
11. สรุปการประเมินผลการจดั อบรม : ใชว้ ธิ สี อบถามความพึงพอใจผู้เข้ารว่ มการอบรมท้งั สิ้น จานวน 40 คน
ผ่านแบบแบบประเมินความพึงพอใจ จานวน 40 ชุด และสามารถเก็บแบบประเมินความพึงพอใจกลับคืนมา
ได้ จานวน 40 คน/ชุด พบว่า
1.) ข้อมูลท่ัวไป : ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม เป็นเพศชาย จานวน 24 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 60 และเพศหญิง
จานวน 16 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 40 อายุผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่ อายุ 51 ปีขึ้นไป อาชีพส่วนใหญ่
เป็นเกษตรกร และเป็นครวั เรอื นที่สนใจแต่ยังไม่มีความรูเ้ กี่ยวกับการทาโคกหนองนา การศึกษาส่วนใหญ่
อยูใ่ นชว่ งมัธยมศึกษา
2.) ระดับความพึงพอใจ : เกณฑ์ 5(มากท่สี ุด), 4(มาก), 3(ปานกลาง) , 2(น้อย) , 1(น้อยท่ีสุด/ปรบั ปรงุ )
และคะแนนค่าเฉลี่ย 4.50-5.00=มากทีส่ ุด , 2.50-3.49=มาก , 1.50-2.49=น้อย , 1.00-1.49=น้อยทสี่ ุด/ปรบั ปรงุ
ดังนั้นจากการให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมทาแบบสอบถาม ได้ข้อสรุปดังน้ี
ตารางบทสรุปผลการประเมินภาพรวมทง้ั โครงการ
รายละเอียด ค่าเฉลี่ย รอ้ ยละ เกณฑ์การประเมิน
ของผู้ตอบ
1. ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บรกิ าร 4.71 แบบประเมนิ มากทส่ี ุด
2. ด้านวทิ ยากร 4.71 ที่มรี ะดับ มากทส่ี ุด
3. ด้านเจา้ หน้าทผี่ ู้ให้บรกิ าร/ผปู้ ระสานงาน (ของหนว่ ยงานท่จี ดั ) 4.82 ความพงึ พอใจ มากทส่ี ุด
4. ด้านการอานวยความสะดวก (ของหนว่ ยงานทจ่ี ดั ) 4.90 72.50 มากทสี่ ุด
5. ด้านคุณภาพการให้บรกิ าร 4.71 มากทสี่ ุด
6. ด้านความพึงพอใจของทา่ นต่อภาพรวมของโครงการ 4.82 75.00 มากทสี่ ุด
7. ด้านการนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 4.85 มากทส่ี ุด
90.00
รวม 4.78 มากทสี่ ุด
93.13
73.00
87.50
86.67
82.54
3.) ความคิดเห็นเพ่ิมเติมและข้อเสนอแนะ :
• หากมีการจดั อบรมในลักษณะน้ีอีก ควรปรบั ปรุงอะไรบ้าง
-กระบวนการจดั ฝกึ อบรมดีแล้ว แต่อยากให้มีการลงมือปฏิบัติและเพ่ิมฐานเรยี นรูใ้ ห้มากข้ึน
-อยากให้มีการฝึกอบรมเปน็ ระยะ ๆ เพื่อเสรมิ สรา้ งศักยภาพครวั เรอื นให้ได้รบั ความรอู้ ย่างต่อเน่ือง
-อยากให้มีป้ายชอ่ื /เส้ือรนุ่ /สัญลักษณ์รนุ่ ให้กับผู้เข้ารบั การฝึกอบรม
• หลังจากการอบรม ต้องการให้หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องสนับสนนุ อะไรบา้ ง
-อยากให้สนับสนนุ งบประมาณ และสนับสนุนองค์ความรู้ วสั ดุ-อุปกรณ์ สื่อประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับ
การทา โคก หนอง นา ให้กับผู้เข้ารบั การฝึกอบรมเพ่ือนาไปถ่ายทอดให้กับผู้ท่ีสนใจต่อไป
-อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยลงพ้ืนที่ตรวจเย่ียมให้กาลังใจ ติดตาม ต่อยอด ขยายผล
สู่การจดั โคก หนอง นา ให้เป็นรปู ธรรมมากท่สี ุด
-อบรมฐานเรยี นรู้ เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ต่อผู้มาเยยี่ มชม โคก หนอง นา โมเดล ของผู้ผ่านการอบรม
3
1. ความเปน็ มา
สถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันต้องเผชิญกับผลกระทบจากวกิ ฤตการแพร่ระบาดของ
โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ซง่ึ ส่งผลกระทบไปถึงวกิ ฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธารณสุข
ด้านการคมนาคมและอื่นๆ ส่งผลให้เกิดวกิ ฤตทางสังคมขนาดหนักไปทั่วทั้งโลก จากรายงานของ McKinsey
& Company (March ๒๒, ๒๐๒๐) จะส่งผลให้โลกมีผลผลิต (Productivity) ลดลงถึง ๓๐% น่ันหมายถึงโลก
จะขาดอาหารและเศรษฐกิจจะมีการเติบโตลดลง - ๑.๕% ของ World GDP อีกท้ังวกิ ฤตด้านการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ ท้ังเรอ่ ื งภัยแล้งและน้าท่วมที่คาดว่าจะมีความรุนแรงข้ึนทั้งในเชิงความผันผวน ความถี่ และ
ขอบเขตท่ีกว้างมากขึ้น ซงึ่ จะสรา้ งความเสียหายต่อชีวติ และโครงสรา้ งพื้นฐานท่ีจาเป็น ทาให้เศรษฐกิจฐานราก
(Local Economy) ของประเทศเกิดความเสียหาย เพ่ิมปัญหาความยากจน และความเหลื่อมล้าทางสังคม
ตลอดจนระบบการผลิตทางการเกษตรท่ีมีความสัมพันธต์ ่อเน่ืองกับความม่ันคงด้านอาหารและน้า ขณะท่ีระบบ
นิเวศต่าง ๆ มีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง และมีแนวโน้มที่จะสูญเสียความสามารถในการรองรบั ความต้องการมนุษย์ได้
อย่างมีประสิทธภิ าพ
ทางออกของประเทศไทยในการรอดพ้นวกิ ฤตและเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์
ชาติพ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕8๐ และนโยบายรฐั บาลที่จะสืบสาน รกั ษา ต่อยอด และพัฒนาประเทศตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
กระทรวงมหาดไทยมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน น้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลัก
ในการส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูแ้ ละการมีส่วนรว่ มของประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยการพัฒนา
คนให้พ่ึงตนเอง มีความเป็นเจา้ ของและบรหิ ารจดั การโดยชุมชน พัฒนาหมู่บ้านหรอื ชุมชนให้มีวถิ ีชวี ติ เศรษฐกิจ
พอเพียงและเป็นสังคม “อยู่เย็นเป็นสุข” ทั้งนี้กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้ดาเนินการโครงการ
พัฒนาพื้นท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยพัฒนา
พื้นท่ีเรยี นรูช้ ุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ (Community Lab Model for quality of Life : CLM)
ระดับตาบล จานวน ๓๓๗ ตาบล แยกเป็น ขนาดพื้นท่ี ๑๐ ไร่ จานวน ๒๓ พ้ืนที่ และพ้ืนท่ี ๑๕ ไร่ จานวน ๓๑๔
พื้นที่ รวมพ้ืนท่ี ไม่น้อยกวา่ ๔,๙๔๐ ไร่ และให้การสนับสนนุ เพ่ือพัฒนาพื้นทค่ี รวั เรอื นต้นแบบการพัฒนา คณุ ภาพ
ชีวติ (Household Lab Model for quality of Life : HLM) ระดับครวั เรอื น จานวนท้ังส้ิน ๒๔,๘๔๒ ครวั เรอื น
ขนาดพ้ืนที่ไม่เกิน ๓ ไร/่ ครวั เรอื น รวมพื้นทไี่ ม่เกิน ๕๔,๖๗๖ ไร่
จงั หวัดนครราชสีมา มีการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตาม
หลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” โดยพัฒนาพื้นที่เรยี นรูช้ ุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ
(Community Lab Model for quality of Life : CLM) ระดับตาบล จานวน 1 ตาบล และพัฒนาพื้นท่คี รวั เรอื น
ต้นแบบการพัฒนา คุณภาพชวี ติ (Household Lab Model for quality of Life : HLM) ระดับครวั เรอื น จานวน
25 ครวั เรอื น ในพื้นท่ีตาบลหนองน้าแดง อาเภอปากช่อง ซ่ึงจากการดาเนินงานพบว่ามีประชาชนในจังหวัด
นครราชสีมาจานวนมากให้ความสนใจท่ีจะพัฒนาพ้ืนที่ของตนเองตามแนวทางพัฒนาการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตาม
หลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ดังน้ันสานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นครราชสีมาจงึ ได้จดั ทา
โครงการขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โ ม เ ด ล ” ขึ้ น ม า ผ่ า น รู ป แ บ บ ก า ร จัด ฝึ ก อ บ ร ม หลั กสู ตรการพัฒนากสิ กรรมสู่ ระบบเศรษฐกิ จพอเพียง
รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล
4
2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพื่อส่งเสรมิ การเรยี นรูก้ ารน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยกุ ต์สู่การปฏิบัติ
2.2 เพื่อขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
3. กลุ่มเปา้ หมาย : ประชาชนในจงั หวัดนครราชสีมาทมี่ ีความสนใจจะพัฒนาพ้ืนทข่ี องตนเอง และครวั เรอื นต้นแบบ
รวมทั้งส้ิน ๔๐ คน
4. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตรจ์ งั หวัดนครราชสีมา : ประเด็น เสรมิ สรา้ งความม่ันคงในการพัฒนาคน
และชุมชนอยา่ งมีคุณภาพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. ลักษณะกิจกรรม : จดั ฝกึ อบรม หลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล
ระหว่างวันที่ 20 – 24 ธนั วาคม 2564 (จานวน ๕ วัน 4 คืน)
6. สถานที่ : ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา ตาบลแหลมทอง อาเภอหนองบุญมาก จังหวัด
นครราชสีมา
7. ตัวชว้ี ัดโครงการ : กลุ่มเปา้ หมายจานวน 40 คน สามารถเป็นแกนนาขับเคลื่อนการน้อมนาหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรปู แบบ โคก หนอง นา ในพื้นทเี่ ปา้ หมายได้
8. งบประมาณ : จานวนเงนิ ทง้ั ส้ิน 312,000.- บาท (-สามแสนหน่ึงหมื่นสองพันบาทถ้วน-)
9. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั : กลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นแกนนาขับเคลื่อนการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดลในพื้นท่ีเปา้ หมายได้ จานวน 40 คน
10. หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบ : สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นครราชสีมา (กลุ่มงานยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาชุมชน)
และคณะวทิ ยากรตลอดหลักสูตร จากศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
5
การจัดฝึกอบรมภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดนครราชสีมา ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๕ โครงการพัฒนาด้านสังคม กิจกรรมหลัก การส่งเสรมิ หลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนา
ที่ยั่งยืน กิจกรรมย่อย ขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” (หลักสูตร ๕ วัน ๔ คืน)ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๐ – ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ณ ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนา
ชุมชนนครราชสีมา กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ประชาชนในจังหวัดนครราชสีมาที่มีความสนใจจะพัฒนาพื้นท่ี
ของตนเองและครวั เรอื นต้นแบบ รวมท้ังสิ้น ๔๐ คน วทิ ยากรตลอดหลักสูตรจากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
นครราชสีมา และเจา้ หน้าทีจ่ ากสานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นครราชสีมา มีผลการดาเนินงานดังนี้
• วันจนั ทรท์ ่ี 20 ธนั วาคม 2564 (วนั แรก)
คัดกรองผู้ตามมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย(SHA) ลงทะเบียน/รบั เอกสาร
วทิ ยากรละลายพฤติกรรมด้วยวธิ กี าร “ถอดหัวโขน” ลดอายุให้เหมาะแก่กิจกรรม
แบง่ กลุ่มแยกชาย / หญิง กลุ่มละ 5 คน ให้แต่ละกลุ่มทาความรจู้ กั กัน
ให้แต่ละกลุ่มนับเลขประจาตัวแต่ละคน เลข 1 ใคร 2 ใคร ...
เลข 1 ให้จบั กลุ่มเดียวกัน, เลข 2 จบั กลุ่ม, เลข 3 จบั กลุ่ม, เลข 4 จบั กลุม่ เลข 5 จบั กลุ่ม
แบ่งเป็น 5 กลมุ่ ให้แต่ละกล่มุ ทาความรูจ้ กั กัน
แต่ละกลุ่มเลือกผู้ใหญ่บา้ น เลือกผู้ชว่ ยฯ เลือกเลขาฯ เลือกประชาสัมพันธ์ และเลือกน้อง
เล็ก > วทิ ยากรบอกหน้าทข่ี องผู้ใหญ่บ้าน
ทงั้ หมดเลือกกานัน และเลือกสารวตั รกานัน > วทิ ยากรบอกหน้าทข่ี องกานันและสารวตั ร
กานัน > วทิ ยากรให้ใชค้ าสั่ง “ใส่รหัส”
เข้าสู่พิธกี ารรบั ผ้าสีของแต่ละกลุ่ม > สอนวธิ ผี ูกผ้าสี > เรยี นรกู้ ฎกติกาการอยู่รว่ มกัน
6
กิจกรรม : เรยี นรตู้ าราบนดิน > เดินชมพ้ืนท่ี แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม
วัตถุประสงค์ : 1) เพ่ือสารวจและศึกษาเรยี นรตู้ าราจากผืนแผ่นดินจากพื้นท่ีต้นแบบ
2) เพื่อวเิ คราะห์และนาเสนอสิ่งท่ีสังเกตเห็น และส่ิงทไ่ี ด้จากการลงพ้ืนทใี่ นการเรยี นรู้
เวลาสอน : 10.30 – 12.00 น.
รูปแบบการสอน : ให้แนวทางและแบ่งกลุ่มเดินตามเส้นทางทีก่ าหนดให้ จานวน 5 กลุ่ม (กลุ่มสี) วทิ ยากรพ่ีเล้ียง
กลุ่มสี นาเดินดูพ้ืนท่ี ให้สังเกตสภาพพ้ืนท่ี และกิจกรรมที่ทาในพ้ืนท่ีศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน รวมถึง
การเรยี นรูว้ ่าในพื้นท่ีนี้มีฐานการเรยี นรูอ้ ะไรบ้าง ต้ังอยู่ตรงจุดไหนของพ้ืนท่ีศูนย์ฯ และมีการสอนอะไรบ้าง
แนวทางครา่ วๆ ในการเรยี นการสอนแต่ละฐานการเรยี นรู้ และพ้ืนท่ีไหนบ้างท่ีทากิจกรรมเกี่ยวกับโคก หนอง นา
หรอื กิจกรรมต่าง ๆ ทศี่ ูนย์ได้ดาเนินการ
.
ผลการเรยี นรู้ของผู้เข้ารว่ มการอบรม : เป็นการนาเข้าสู่พ้ืนที่เพ่ือให้เห็นถึงสภาพพื้นท่ี ปัญหาของพื้นท่ี
และแนวทางแก้ไขปัญหาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือเป็นแนวคิด
แนวทางในการประยุกต์ใชใ้ นพ้ืนทจ่ี รงิ ต่อไป
7
กิจกรรม : บรรยาย “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา : ศาสตรพ์ ระราชากับการพัฒนาที่ยง่ั ยืน”
วทิ ยากรผู้สอน : นายสุวทิ ย์ เพียนอก วทิ ยากรภาคเอกชน
วตั ถุประสงค์ : เพ่ือสรา้ งความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้เข้าอบรมถึงหลกั การ เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา
: ศาสตรพ์ ระราชากับการพัฒนาทยี่ ่งั ยนื
เวลาสอน : 13.00 – 16.30 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ และใชส้ ่ือเพื่อสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจในหลักการและความเป็นมาของการประยุกต์
ศาสตรพ์ ระราชสู่การปฏิบตั ิเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
8
กิจกรรม : ถอดบทเรยี นผ่านส่ือ แผ่นดินไทย ตอน “แผ่นดินวกิ ฤต”
วทิ ยากรผู้สอน : ทีมวทิ ยากรศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วตั ถุประสงค์ : 1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ชมส่ือแผ่นดินวกิ ฤต ชะตากรรมเกษตรเชงิ เดี่ยว
2) เพื่อให้เกิดความตระหนักในวกิ ฤติการทาเกษตรเชงิ เด่ียว
เวลาสอน : 19.00 – 21.00 น.
รูปแบบการสอน : ชมส่ือแผ่นดินวกิ ฤต ตอนที่ 2 ชะตากรรมเกษตรเชงิ เด่ียวและถอดบทเรยี นจากส่ือ
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้าอบรมได้ตระหนักในวกิ ฤติการทาเกษตรเชิงเด่ียว เข้าใจผล
ของการทาเกษตรเชงิ เดี่ยวว่ามีความเสี่ยงในหลากหลายด้าน อีกท้ังการได้ชมสื่อ ทาให้มีมุมมองท่ีกว้างมากข้ึน
และเปิดใจยอมรบั ในการทจี่ ะทาการเกษตรในรปู แบบของเกษตรทฤษฎีใหม่ หรอื รูปแบบ โคก หนอง นา มากขึ้น
9
• วันอังคารท่ี 21 ธนั วาคม 2564 (วนั ที่สอง)
กิจกรรม : บรรยาย ทฤษฎีบันได 9 ขั้นสู่ความพอเพียง
วทิ ยากรผู้สอน : ทมี วทิ ยากรศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ : เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมมีความรู้ ความเข้าใจหลักคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ทฤษฎีใหม่ การบรหิ ารจดั การตามข้ันตอนเศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั
ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั และสามารถนาไปปฏิบัติจนเปน็ วถิ ีชวี ติ
เวลาสอน : 06.00 – 08.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ และใชส้ ่ือการสอน
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้าอบรมมีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้ เน่ืองจากวทิ ยากรได้ยกตัวอย่าง
การคานวณเพ่ือออกแบบพื้นท่ีตามโมเดล โคก หนอง นา ทาให้ผู้เข้าอบรมทราบว่าการออกแบบต้องคานวณหาพ้ืนท่ี
แบง่ เป็น 3 ส่วน คือพ้ืนทข่ี องโคก ของหนอง และนา ซง่ึ ทาให้ผู้เข้าอบรมสามารถคานวณอยา่ งครา่ ว ๆ ได้หลังจาก
ฟังบรรยายมีการให้ใบงานให้แต่ละกลุ่มชว่ ยกันคิดคานวณและออกแบบพื้นทที่ โี่ ครงการจดั เตรยี มไว้
10
กิ จ ก ร ร ม : บ ร ร ย า ย ก า ร อ อ ก แบ บพ้ื น ที่ เชิงภู มิ สั ง คมไ ท ยต ามหลั กกา รพั ฒน าภู มิ สั ง คมอย่าง ย่ัง ยืน
เพื่อการพึ่งตนเองและรองรบั ภัยพิบัติ
วทิ ยากรผู้สอน : ทมี วทิ ยากรศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วตั ถปุ ระสงค์ : 1) เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงแนวคิดการออกแบบโคก หนอง นา ตามภูมิสังคม
2) เพ่ือให้ผูเ้ ข้าอบรมสามารถคานวณหาปรมิ าณนา้ ฝนในพ้ืนทขี่ องตนเองได้
เวลาสอน : 09.00 – 12.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ ใชก้ รณีตัวอย่าง และใชส้ ื่อการสอน
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้าอบรมมีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้ เน่ืองจากวทิ ยากรได้ยกตัวอย่าง
การคานวณเพื่อออกแบบพ้ืนท่ีตามโมเดล โคก หนอง นา ทาให้ผู้เข้าอบรมทราบว่าการออกแบบต้องคานวณหาพื้นท่ี
แบ่งเปน็ 3 ส่วน คือพ้ืนทข่ี องโคก ของหนอง และนา ซง่ึ ทาให้ผู้เข้าอบรมสามารถคานวณอยา่ งครา่ ว ๆ ได้หลังจาก
ฟังบรรยายมีการให้ใบงานให้แต่ละกลุ่มชว่ ยกันคิดคานวณและออกแบบพื้นท่ีทโ่ี ครงการจดั เตรยี มไว้
11
กิจกรรม : การจดั การพื้นที่ Work Shop จาลองการจดั การพ้ืนที่
วทิ ยากรกลุ่ม : ทมี วทิ ยากรศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อให้ผเู้ ข้าอบรมสามารถคานวณหาปรมิ าณนา้ ฝนในพื้นท่ีของตนเองได้
2) ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดในการออกแบบพ้ืนทข่ี องตนเองตามความสัมพันธ์
ของ ดิน น้า ปา่ และคน
เวลาสอน : 15.00 – 18.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยาย และแบง่ กลุ่มฝึกปฏิบตั ิ จานวน 5 กลุ่ม (กลุ่มสี)
.
ผลการเรยี นรู้ของผู้เข้าร่วมการอบรม : ผู้เข้าอบรมสามารถคานวณปรมิ าณน้าฝนที่ตกลงมาในพ้ืนท่ีได้
และสามารถออกแบบพื้นที่ โคก หนอง นา ตามแบบทก่ี ลุ่มรว่ มกันระดมความคิดได้
12
กิจกรรม : วถิ ีภูมิปัญญาไทยกับการพ่ึงตนเอง คลิปพ่อเล่ียม บุตรจนั ทา จ.ฉะเชงิ เทรา
วทิ ยากรกลุ่ม : ทีมวทิ ยากรศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วตั ถปุ ระสงค์ : 1) เพ่ือสรา้ งแรงบนั ดาลใจให้กับผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมทไ่ี ด้เรยี นรวู้ ถิ ีชวี ติ
ของพ่อเล่ียม บุตรจนั ทา ในการทากิจกรรมการเกษตรทย่ี ัง่ ยนื
2) เป็นแนวคิด แนวทางในการวางแผนการดาเนินชวี ติ ของตนเอง
(เชน่ การทาบญั ชคี รวั เรอื น)
เวลาสอน : 19.00 – 21.00 น.
รูปแบบการสอน : ให้ดูคลิปและถอดบทเรยี นจากสื่อ และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบตั ิ จานวน 5 กลุ่ม (กลุ่มสี)
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมเกิดแรงบันดาลใจในการทากิจกรรมการเกษตร
ที่ยั่งยืน ท่ีได้เรยี นรู้วถิ ีชีวติ ของพ่อเลี่ยม บุตรจันทา และ สามารถนาไปใช้เป็นแนวคิด แนวทางในการ
วางแผนการดาเนินชีวติ ของตนเอง (เช่น การทาบัญชีครวั เรอื น) สามารถใช้เป็นตัวอย่างในการบอกเล่า
ดาเนินชีวติ ในวถิ ีพอเพียง การพึ่งตนเอง และการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง และเกิดแนวคิดการ
ในการดูแลสุขภาพตนเองเบ้อื งต้นโดยการใชส้ มุนไพร รวมทั้งการทบทวนแนวคิดการทาเกษตรเชงิ เดี่ยว
13
• วันพุธท่ี 22 ธนั วาคม 2564 (วนั ที่สาม)
กิจกรรม : บรรยาย หลักกสิกรรมธรรมชาติ / ชวี ติ ในดิน
วทิ ยากรผู้สอน : ทีมวทิ ยากรศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ : 1) ให้รู้ เข้าใจ และเข้าถึงการทากิจกรรมโคกหนองนา โดยหลักกสิกรรมธรรมชาติ
2) เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมเรยี นรวู้ ธิ กี ารปรบั ปรุงบารงุ ดินโดยอาศัยหลักกสิกรรมธรรมชาติ
เวลาสอน : 06.00 – 08.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ ใชก้ รณีตัวอยา่ ง และใชส้ ่ือการสอน
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้าอบรมได้เรยี นรู้ เข้าใจ การทากิจกรรมโคก หนอง นา โดยหลัก
กสิกรรมธรรมชาติ และได้เรยี นรวู้ ธิ กี ารปรบั ปรงุ บารุงดินโดยอาศัยหลักกสิกรรมธรรมชาติ
14
กิจกรรม : บรรยาย และฝึกปฏิบตั ิ การเข้าฐานการเรยี นรู้ 5 ฐาน
(รกั ษ์แม่ธรณี/รกั ษ์สุขภาพ/คนเอาถ่าน/คนมีนา้ ยา/คนหัวเห็ด)
วทิ ยากรผู้สอน : ทีมวทิ ยากรศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์
ฐาน คนรกั ษ์แม่ธรณี : 1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการปรบั ปรงุ บารงุ ดินโดยอาศัยหลักกสิกรรมธรรมชาติ
2. เพิ่มคณุ ภาพของดินและลดต้นทนุ การผลิต
3. เพ่ือการดูแลสุขภาพ และเปน็ อาชพี เสรมิ เพ่ิมรายได้
ฐาน คนรกั ษ์รกั ษ์สุขภาพ : 1. เพือ่ ให้ความรเู้ ก่ียวกับกระบวนการทายาดมสมุนไพร
2. เพ่ือให้ผู้ทีส่ นใจ มีความรู้ และเห็นคุณค่า ประโยชน์ของสมุนไพร
๓. เพ่ือให้ผู้ท่ีสนใจนาวธิ กี ารทายาดมสมุนไพรไปปรบั ใชใ้ นการเพม่ิ รายได้ให้แก่ครวั เรอื น
ฐาน คนเอาถ่าน : 1. เพอ่ื การดูแลป่า 3 อยา่ งประโยชน์ 4 อย่าง ตามกิจกรรมของหลักกสิกรรมธรรมชาติ
2. เพ่ิมมูลค่าสินค้า (ไม้เล็ก ๆ ทจี่ ะตัดทิ้งนามาเผาถ่านได้ หรอื นาผลไม้มาเผาเป็นถ่าน)
3. เพื่อการดูแลสุขภาพ และเปน็ อาชพี เสรมิ เพ่ิมรายได้
ฐาน คนมีนา้ ยา : 1. เพื่อเปน็ การลดรายจา่ ย และรกั ษาสภาพแวดล้อม
2. นาวสั ดุทเี่ หลือใช้ และวสั ดุทมี่ ีอยูใ่ นพ้ืนทม่ี าใชป้ ระโยชน์ให้มากข้ึน
3. เพ่ือเปน็ อาชพี เสรมิ เพิ่มรายได้ในครวั เรอื น
ฐาน คนหัวเห็ด : 1. เพอื่ ให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ เข้าใจ วธิ กี ารเพาะเห็ดนางฟ้าภฐู าน
และสามารถนาไปปฏิบัติได้จรงิ
2. เพื่อชว่ ยให้ผู้เรยี นลดรายจา่ ย เพ่ิมรายได้ และพฒั นาต่อยอดเป็นอาชพี ต่อไปได้
เวลาสอน : 09.00 – 18.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ ใชก้ รณีตัวอยา่ ง ใชส้ ่ือการสอน และลงฐานปฏิบตั ิจรงิ
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้าอบรมได้ลงฐานการเรยี นรลู้ งมือปฏิบัติจรงิ
15
ฐาน คนรกั ษ์แม่ธรณี
16
ฐาน คนรกั ษ์รกั ษ์สุขภาพ
17
ฐาน คนเอาถ่าน
18
ฐาน คนมีนา้ ยา
19
ฐาน คนหัวเห็ด
20
กิจกรรม : สรุปบทเรยี นจากฐานการเรยี นรู้ ทง้ั 5 ฐาน
วทิ ยากรผู้สอน : ทีมวทิ ยากรศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วตั ถปุ ระสงค์ : 1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ทบทวนในส่ิงที่ได้เรยี นรมู้ า
2) เพื่อให้สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั หรอื สามารถให้ความรกู้ ับผู้อ่ืนได้
เวลาสอน : 19.00 – 21.00 น.
รูปแบบการสอน : ทกุ กลุ่มจบั สลากฐานเรยี นรทู้ ก่ี ลุ่มต้องนาเสนอ แล้วระดมความคิด แบ่งงานกันในการนาเสนอ
ใชเ้ วลากลุ่มละ 10 นาที ให้โจทย์ คือ 1. ทา่ นได้อะไรจากฐานการเรยี นรู้ และ 2. ทา่ นจะนาไปประยุกต์ใชอ้ ยา่ งไร
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม :
1. ได้เรยี นรู้ เข้าใจ และฝึกปฏิบตั ิตามวถิ ีกิจกรรมของหลักกสิกรรมธรรมชาติ
2. ได้เรยี นรู้ และฝึกปฏิบัติในสิ่งที่คิดว่ายากแต่จรงิ ๆ แล้วสามารถทาได้และประหยัดด้วย ทา
ให้ผู้เข้าฝึกอบรม รูส้ ึกว่าอะไรท่ีอยู่รอบ ๆ ตัว สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้มากกว่าท่ีเป็นมาและมีผลดีต่อตนเอง
และส่ิงแวดล้อมด้วยและสามารถนาไปสอนให้คนในชุมชนทาใชเ้ องได้อีกด้วย
3. มีความประทับใจและสนุกสนานในการเรยี นรู้ และจะนาไปประยุกต์ใชใ้ ห้ได้มากท่ีสุด
• วันพฤหัสบดีท่ี 23 ธนั วาคม 2564 (วันท่สี ี่)
21
• วันพฤหัสบดีท่ี 23 ธนั วาคม 2564 (วนั ทสี่ ี่)
กิจกรรม : จติ อาสา เอาม้ือสามัคคี พัฒนาพ้ืนทต่ี ามหลักทฤษฎีใหม่
วทิ ยากรผู้สอน : ทมี วทิ ยากรศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ : เพ่ือให้เกิดการแลกเปล่ียนแรงงาน เอาม้ือสามัคคี และเป็นการแลกเปล่ียนองค์
ความรูใ้ นด้านการพัฒนาพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรูจ้ ักในชือ่ กิจกรรมการลงแขก
หรอื เอาแรง ซึ่งเป็นวัฒนธรรมชุมชนท่ีอยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน โดยในช่วงหลังมาน้ีนอกจากจะเป็นการ
แลกเปลี่ยนในด้านแรงงานแล้ว ยงั ได้เน้นให้เกิดการสรา้ งความรทู้ ีเ่ หมาะสมกับสภาพพ้ืนที่
เวลาสอน : 09.00 – 16.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ ใชก้ รณีตัวอยา่ ง ใชส้ ่ือการสอน และลงฐานปฏิบัติจรงิ
ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม
1. มีการสารวจพ้ืนทท่ี ี่จะดาเนินกิจกรรม โดยมีวทิ ยากรพี่เลี้ยง หรอื ครพู าทารว่ มสารวจและมอบหมาย
งานให้แต่ละกลุ่ม
2. สมาชกิ ในกลุ่มสีได้มีการเรยี นรู้ 10 ขั้นตอนการตรวจแปลง ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ และรว่ มกัน
วางแผนการดาเนินงาน รว่ มกันออกแบบการทางานในพ้ืนทท่ี ่ีได้รบั มอบหมาย มีการแบ่งคน แบ่งงาน ให้
รบั ผิดชอบ
3. ลงมือปฏิบัติตามแผนท่ีวางไว้ อาจมีกการปรบั กิจกรรมหน้างาน ซงึ่ ข้ึนอยู่กับความเห็นของกลุ่มว่าจะ
อย่างไรดีที่สุด เช่น การขุดคลองไส้ไก่ การปลูกต้นไม้ ปลูกพืชผัก การห่มดิน การให้ปุ๋ยแห้งชาม-น้าชาม ซ่งึ ใน
การลงแปลงปฏิบัติ จะมีครูพาทาประจากลุ่มสีละ 2 – 3 คน ท่ีจะชว่ ยแนะนาและกระตุ้นให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม
เห็นถึงความสาคัญของการเอามื้อสามัคคี และจากผลงานที่แต่ละกลุ่มรว่ มมือรว่ มใจกันในการดาเนินกิจกรรมจน
ได้รบั การเรยี นรูแ้ ละรูว้ ธิ กี ารดูแลพื้นที่ให้มีความเหมาะสมในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการ ขุด การ
ปลูก การทาฝายชะลอน้า การทาหลุมขนมครก การห่มดิน การให้ปุย๋ แห้งชาม-นา้ ชาม อะไรควรทาก่อนหรอื อะไร
ควรทาทีหลัง เพ่ือให้สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นพ้ืนที่จรงิ ที่ตนเองต้องดาเนินกิจกรรมหลังการฝึกอบรมไปแล้ว
โดยมีแนวทางว่า ในการทากิจกรรมน้ัน ทุกคนต้องทาด้วยความ คล่องแคล่ว ครน้ ื เครง คึกคัก ตลอดการดาเนิน
กิจกรรม
4. ในการเอามื้อสามัคคี เจ้าของแปลงต้องได้งาน ได้เพ่ือนและ ได้ฝึกปฏิบัติให้เกิดความเช่ียวช าญ
เพราะในการทางานรว่ มกันน้ันจะมีการแลกเปลี่ยนเรยี นรูร้ ว่ มกันเสมอ และทาให้มองเห็นความสาเรจ็ ของชนิ้ งาน
ในการรว่ มแรงแข็งขัน สมดังคาท่วี ่า “สามัคคี คือ พลังค้าจุนแผ่นดินไทย”
.
ผลการเรยี นรูข้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เกิดกระบวนการเรยี นรูก้ ารแลกเปล่ียนแรงงาน เอาม้ือสามัคคี
และการแลกเปล่ียนองค์ความรใู้ นด้านการพัฒนาพื้นทต่ี ามหลักทฤษฎีใหม่ เรยี นรขู้ ้ันตอนการจดั การพ้ืนทีใ่ ห้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
22
23
กิจกรรม : หาอยู่หากิน และการสรุปกิจกรรมเอามื้อสามัคคี/หาอยูห่ ากิน
วทิ ยากรผู้สอน : ทมี วทิ ยากรศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ : เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมเรยี นรู้ เข้าใจ และสามารถจดั การในการพ่ึงตนเองและ
การใช้ทรพั ยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการดารงชวี ติ ได้ รูจ้ ักการดารงชวี ติ ในภาวะวกิ ฤต
การประสบภัยพิบัติ และรูจ้ กั การวางแผนการทางานเป็นทีม ได้ฝึกวนิ ัยและคุณธรรม พรอ้ มทั้งมีการเสรมิ สรา้ ง
ปฏิสัมพันธก์ ันในการทางานรว่ มกัน
เวลาสอน : 16.00 – 21.00 น.
รูแบบการสอน : การเตรยี มวัสดุอุปกรณ์ให้แต่มีการนาสิ่งท่ีจะประกอบอาหารไปซ่อนไว้ให้ผู้เข้ารบั
การฝกึ อบรมไปหา โดยแจง้ พิกัดที่สามารถหาวัสดุอุปกรณ์มาประกอบอาหารได้เชน่ ในรอบบรเิ วณ โคก หนอง นา
ให้นามาอาหารมาเท่าท่ีใชห้ มด ถ้าเหลือท้ิงมากจะถูกลงโทษ (การวางแผนการทางาน) แบ่งงานกันในกลุ่ม ว่าใคร
จะทาอะไร สุดท้ายทุกกลุ่มต้องมีอาหารกินให้พอและนาเสนอเมนูของกลุ่ม ทาจากอะไร ได้มาอย่างไร
บรหิ ารจดั การกลุ่มอย่างไร จากน้ันเป็นการแลกเปลี่ยนความรแู้ ละสรปุ กิจกรรมเอาม้ือสามัคคี/หาอยูห่ ากิน
ผลการเรยี นรขู้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : รูจ้ กั การวางแผนทางานเป็นทีม ฝึกวนิ ัยและคุณธรรม หากมีสิ่งทไี่ ม่คาดคิด
เกิดขึ้น มีการทากิจกรรมแบบพ่ึงตนเองและมีการใช้ทรพั ยากรที่มีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการ
ดารงชวี ติ ในภาวะวกิ ฤต หรอื หากมีการประสบภัยพิบตั ิ และเกิดการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ทัศนคติ จากการทากิจกรรม
24
• วันพฤหัสบดีท่ี 23 ธนั วาคม 2564 (วันทส่ี ี่)
กิจกรรม : การขับเคลื่อนสืบสานศาสตรพ์ ระราชากลไก 357
วทิ ยากรผู้สอน : ทมี วทิ ยากรศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้รบั ทราบ ตระหนักรแู้ ละเข้าใจความหมาย
ทแ่ี ท้จรงิ ของการขับเคล่ือนศาสตรพ์ ระราชา ด้วยกลไก 357
2) เพื่อให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมได้มองเห็นถึงการเชอื่ มโยงการขับเคล่ือนศาสตร์
พระราชาด้วยกลไก 357 กับการขับเคล่ือนงานกรมการพัฒนาชุมชน
เวลาสอน : 09.00 – 10.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ และใชส้ ื่อการสอน
ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ ข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้รบั ทราบ ตระหนักรแู้ ละเข้าใจความหมายทแี่ ท้จรงิ
ของการขับเคล่ือนศาสตรพ์ ระราชา ด้วยกลไก 357 และผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้มองเห็นถึงการเช่ือมโยง
การขับเคล่ือนศาสตรพ์ ระราชาด้วยกลไก 357 กับการขับเคล่ือนงานกรมการพัฒนาชุมชน
25
กิจกรรม : การขับเคลื่อนสืบสานศาสตรพ์ ระราชากลไก 357 และการขับเคล่ือนปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบตั ิ
วทิ ยากรผู้สอน : ทีมวทิ ยากรศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมได้รบั ทราบ ตระหนักรแู้ ละเข้าใจความหมาย
ที่แทจ้ รงิ ของการขับเคล่ือนศาสตรพ์ ระราชา ด้วยกลไก 357
2) เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้มองเห็นถึงการเชอ่ื มโยงการขับเคลื่อนศาสตร์
พระราชาด้วยกลไก 357 กับการขับเคลื่อนงานกรมการพัฒนาชุมชน
เวลาสอน : 09.00 – 12.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ และใชส้ ื่อการสอน
ผลการเรยี นรขู้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมได้รบั ทราบ ตระหนักรแู้ ละเข้าใจความหมายทแี่ ท้จรงิ
ของการขับเคลื่อนศาสตรพ์ ระราชา ด้วยกลไก 357 และผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้มองเห็นถึงการเช่ือมโยง
การขับเคล่ือนศาสตรพ์ ระราชาด้วยกลไก 357 กับการขับเคลื่อนงานกรมการพัฒนาชุมชน รวมท้ังมีทักษะในการ
ดารงชีวติ แบบพึ่งพาตนเอง สามารถปฏิบัติได้มีการปรบั เปล่ียนวถิ ีชีวติ และนาไปสู่การใช้ชีวติ แบบพอเพียง
สามารถกาหนดแนวทาง ทสี่ อดคล้องกับบรบิ ทพื้นท่ีของตนเอง
26
กิจกรรม : ในหลวงในดวงใจ “พระเจา้ แผ่นดินทท่ี รงอยภู่ ายใต้ระบอบประชาธปิ ไตย แต่อยเู่ หนือจติ ใจของคนไทยทกุ คน”
การมอบหมายภารกิจ/มอบวฒุ ิบตั ร และปิดการฝึกอบรม
วทิ ยากรผู้สอน : ทมี วทิ ยากรศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมตระหนักถึงความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตรยิ ์
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ที่ทรงงานหนักเพื่อประชาชนและประเทศไทย
2) เพื่อให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมสานึกในพระมหากรณุ าธคิ ุณและรว่ มสืบสาน
รกั ษาและต่อยอดตามพระปฐมบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี ินทร มหาวชริ าลงกรณ์ พระวชริ เกล้าเจา้ อยู่หัว
เวลาสอน : 13.00 – 16.00 น.
รูปแบบการสอน : การบรรยาย และส่ือการสอน
ผลการเรยี นรขู้ องผู้เข้ารว่ มการอบรม : ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมตระหนักถึงความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตรยิ ์
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงงานหนักเพ่ือประชาชน
และผู้เข้าอบรมได้ทบทวนราลึกถึงส่ิงที่พ่อได้ให้ไว้ด้วยความรกั และห่วงใย ซ่ึงเป็นแรงบันดาลใจให้อดทน
และต้ังใจในส่ิงดี ๆ ทจี่ ะทาต่อไป และใช้ 9 คาที่พ่อสอนเปน็ แนวทางในการดาเนินชวี ติ
27
ในการดาเนินโครงการพัฒนาด้านสังคม กิจกรรมหลัก การส่งเสรมิ หลักเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การพัฒนาท่ียั่งยืน กิจกรรมย่อย ขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” (หลักสูตร ๕ วัน ๔ คืน) ระหว่างวันที่ ๒๐ – ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๔
ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา กลุ่มเปา้ หมาย ได้แก่ประชาชนในจงั หวัดนครราชสีมาที่มีความสนใจจะ
พัฒนาพ้ืนท่ีของตนเองและครวั เรอื นต้นแบบ รวมทั้งส้ิน ๔๐ คน วทิ ยากรตลอดหลักสูตรจากศูนย์ศึกษาและ
พัฒนาชุมชนนครราชสีมา และเจา้ หน้าท่จี ากสานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นครราชสีมา มีผลการประเมินดังนี้
ส่วนท่ี 1 : ข้อมูลทั่วไป ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม เป็นเพศชาย จานวน 24 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 60 และเพศหญิง
จานวน 16 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 40 อายุผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่ อายุ 51 ปีข้ึนไป อาชีพส่วนใหญ่
เป็นเกษตรกร และเป็นครวั เรอื นที่สนใจแต่ยังไม่มีความรูเ้ กี่ยวกับการทาโคกหนองนา การศึกษา ส่วนใหญ่
อยู่ในชว่ งมัธยมศึกษา สามารถอธบิ ายโดยละเอียดได้ดังน้ี
ตารางท่ี 1 จานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามข้อมูลทั่วไป
1. เพศ ข้อมลู ส่วนบุคคล จานวน (คน) รอ้ ยละ
2. ตาแหน่ง ชาย 24 60
3. การศึกษา หญิง 16 40
ครวั เรอื นจติ อาสาทเี่ คยทาโคกหนองนา ในพื้นทข่ี องตนเอง
4. อายุ แลว้ 9 22.5
ครวั เรอื นทสี่ นใจ แต่ยังไมเ่ คยทาโคกหนองนา
อน่ื ๆ 31 77.5
ประถมศึกษา 0 0
มัธยมศึกษา 5
ปรญิ ญาตร ี 21 12.5
ปรญิ ญาโท 6 52.5
อ่นื ๆ 4 15
ตา่ กว่า 25 ปี 4 10
25 – 30 ปี 0 10
31 – 40 ปี 0
41 – 50 ปี 4 0
51 ปีขึน้ ไป 16 0
20 10
40
50
ตารางที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 40 คน อธบิ ายได้ดังนี้
- เพศ ผู้เข้าอบรมเป็นเพศชาย มากกวา่ เพศหญิง
โดยเปน็ เพศชายรอ้ ยละ 60 และ เพศหญิงรอ้ ยละ 40
- ตาแหน่ง ผู้เข้าอบรมนั้น รอ้ ยละ 77.5 น้ัน เป็นครวั เรอื นที่สนใจ แต่ยังไม่เคยทาโคกหนองนา
และอีกรอ้ ยละ 22.5 นั้น เปน็ ครวั เรอื นจติ อาสาทีเ่ คยทาโคกหนองนา ในพ้ืนทขี่ องตนเองแล้ว
28
- การศึกษา ผู้เข้าอบรมมีระดับการศึกษามัธยมศึกษามากท่ีสุด คิดเป็นรอ้ ยละ 52.5 รองลงมา
ระดับปรญิ ญาตร ี คิดเป็นรอ้ ยละ 15 เป็นอันดับสอง รองลงมาระดับประถมศึกษา คิดเป็นรอ้ ยละ 12.5 เป็น
อันดับสาม และน้อยท่ีสุดระดับปรญิ ญาโทและอื่น ๆ มีจานวนเท่ากันที่รอ้ ยละ 10 โดยจานวนอื่น ๆ นั้นได้แก่
ระดับ ปวช. จานวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5 และ ระดับ ปวส. จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5
- อายุ ผู้เข้าอบรมมีอายุ 51 ปีข้ึนไปมากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 50 รองลงมาอายุ 41 – 50 ปี คิด
เป็นรอ้ ยละ 40 เป็นอันดับสอง รองลงมาอายุ 31 – 40 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 10 เป็นอันดับสาม และไม่พบผู้เข้า
อบรมท่มี ีอายุน้อยกว่า 30 ปี หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 0
ส่วนที่ 2 : ความพึงพอใจต่อโครงการ
ตารางที่ 2 จานวน ค่าเฉลี่ย รอ้ ยละ และเกณฑ์การประเมิน ของผู้เข้าอบรมเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ
ด้านกระบวนการ มากท่ีสุด ระดับความพึงพอใจ น้อยทสี่ ุด ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ ระดับ
ขัน้ ตอนการให้บรกิ าร (5) (1) ของผตู้ อบ เกณฑ์
มาก ปานกลาง น้อย แบบประเมนิ ประเมนิ
(4) (3) (2) ทมี่ รี ะดับ
ความพึงพอใจ
1. ความเหมาะสม 32 71 0 0 4.77 80 มากทส่ี ุด
ของสถานที่ 24 16 0 0
28 11 1 0 0 4.60 60 มากทสี่ ุด
2. ความเหมาะสม 32
ของระยะเวลา 0 4.67 70 มากทสี่ ุด
3. ความเหมาะสม 800 0 4.80 80 มากทส่ี ุด
ของชว่ งเวลา
4. การจดั ลาดับขัน้ ตอน
ของการจดั กิจกรรม
รวมด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บรกิ าร 4.71 72.5 มากทส่ี ุด
ระดับความพึงพอใจ
รอ้ ยละ ระดับ
ด้านวทิ ยากร มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด คา่ เฉลย่ี ของผูต้ อบ เกณฑ์
(5) (4) (3) (2) (1) แบบประเมนิ ประเมนิ
ทม่ี รี ะดับ
ความพงึ พอใจ
1. ความรอบรใู้ นเนือ้ หา 31 8 1 0 0 4.75 77.5 มากทสี่ ุด
ของวทิ ยากร 31 9 0 0
2. ความสามารถในการ 28 9 2 0 0 4.77 77.5 มากทส่ี ุด
ถ่ายทอดความรู ้
3. การเปดิ โอกาสให้ 30 10 0 0 1 4.57 70 มากทส่ี ุด
ซกั ถามแสดงความ
คิดเห็น 0 4.75 75 มากทสี่ ุด
4. การสรา้ งบรรยากาศ
การเรยี นรู้
รวมด้านวทิ ยากร 4.71 75 มากทส่ี ุด
29
ด้านเจา้ หน้าที่ มากทสี่ ุด ระดับความพึงพอใจ น้อยทสี่ ุด ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ ระดับ
ผใู้ ห้บรกิ าร (5) (1) 4.87 ของผตู้ อบแบบ เกณฑ์
มาก ปานกลาง น้อย ประเมิน
ผู้ประสานงาน 36 (4) (3) (2) 0 ประเมิน มากทสี่ ุด
(ของหนว่ ยงานทีจ่ ดั ) ท่ีมรี ะดับ มากทสี่ ุด
310 ความพึงพอใจ มากทส่ี ุด
1. การแต่งกาย มากทสี่ ุด
90 มากทส่ี ุด
ระดับ
2. ความสุภาพ 37 1 2 0 0 4.87 92.5 เกณฑ์
ประเมนิ
3. การตอบคาถาม 34 5 0 1 0 4.80 85 มากทสี่ ุด
มากทสี่ ุด
4. การประสานงาน 33 5 2 0 0 4.77 82.5 มากทส่ี ุด
มากทส่ี ุด
รวมด้านเจา้ หน้าทผี่ ใู้ ห้บรกิ าร/ผปู้ ระสานงาน (ของหน่วยงานทจ่ี ดั ) 4.82 90 มากทส่ี ุด
ระดับ
ด้านการอานวยความสะดวก มากทส่ี ุด ระดับความพึงพอใจ น้อยทส่ี ุด ค่าเฉลี่ย รอ้ ยละ เกณฑ์
(ของหน่วยงานทจี่ ดั ) (1) 4.9 ของผตู้ อบแบบ ประเมนิ
(5) มาก ปานกลาง น้อย
(4) (3) (2) 0 ประเมิน มากทส่ี ุด
1. เอกสาร 37 ที่มรี ะดับ
210 ความพงึ พอใจ มากทส่ี ุด
92.5 มากทสี่ ุด
2. โสตทศั นปู กรณ์ 39 0 1 0 0 4.95 97.5 มากทสี่ ุด
3. เจา้ หน้าทส่ี นับสนนุ 36 4 0 0 0 4.9 90 มากทสี่ ุด
4. อาหาร, เครอ่ ื งดื่ม 37 1 2 0 0 4.87 92.5
และสถานท่ี
รวมด้านการอานวยความสะดวก (ของหนว่ ยงานทจ่ี ดั ) 4.9 93.13
ด้านคุณภาพการให้บรกิ าร มากที่สุด ระดับความพึงพอใจ น้อยทสี่ ุด ค่าเฉล่ีย รอ้ ยละ
(5) มาก ปานกลาง น้อย (1) ของผตู้ อบแบบ
(4) (3) (2)
ประเมิน
910 ที่มรี ะดับ
ความพงึ พอใจ
1. ท่านได้รบั ความรู้ 30 0 4.72 75
แนวคดิ ทักษะและ 28
ประสบการณใ์ หม่ ๆ 30 11 1 0 0 4.67 70
จากโครงการ/กิจกรรมน้ี 29
2. ทา่ นสามารถนาส่ิงท่ี 29 10 0 0 0 4.75 75
ได้รบั จากโครงการ/
กิจกรรมน้ไี ปใชไ้ ด้ 10 1 0 0 4.70 72.5
3. สิ่งท่ที า่ นได้รบั จาก 0 4.72 72.5
โครงการ/กิจกรรมครงั้ นี้ 11 0 0
ตรงตามความคาดหวงั
ของทา่ นหรอื ไม่
4. สัดส่วนระหว่างการ
ฝึกอบรมภาคทฤษฎีกับ
ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) มีความ
เหมาะสม
5. ประโยชน์ท่ีท่านได้รบั
จากโครงการ/กิจกรรม
รวมด้านคณุ ภาพการให้บรกิ าร 4.71 73 มากทส่ี ุด
30
ด้านความพงึ พอใจ มากทส่ี ุด ระดับความพึงพอใจ น้อยทสี่ ุด คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ ระดับ
ต่อภาพรวม (5) (1) 4.82 ของผ้ตู อบแบบ เกณฑ์
ของโครงการ มาก ปานกลาง น้อย 0 4.82 ประเมนิ
(4) (3) (2) ค่าเฉลยี่ ประเมนิ
น้อยทส่ี ุด ที่มรี ะดับ มากทส่ี ุด
ความพงึ พอใจ (1) 4.9 ความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด
ของทา่ นต่อภาพรวม 35 3 2 0 0
ของโครงการ 4.95 87.5 ระดับ
0 เกณฑ์
รวมด้านความพึงพอใจของทา่ นต่อภาพรวมของโครงการ 4.9 87.5 ประเมิน
0 4.85 รอ้ ยละ
ระดับความพึงพอใจ ของผู้ตอบแบบ มากทสี่ ุด
ประเมนิ
ด้านการนาความรู ้ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย ทมี่ รี ะดับ มากทสี่ ุด
ไปใชป้ ระโยชน์ (5) (4) (3) (2) ความพงึ พอใจ
มากทสี่ ุด
1. สามารถนาความรแู้ ละ 37 2 1 0 92.5
ทักษะที่ได้จากการฝึก 0 มากทส่ี ุด
อบรมไปใชป้ ระโยชน์ 0 97.5
ในชวี ติ ประจาวนั
2. สามารถนาความรู้ 90
และทักษะทไ่ี ด้จากการ 86.67
ฝึกอบรมไปปฏิบัติให้ 39 0 1
เปน็ ตัวอยา่ งแก่ผอู้ ่นื
ในชุมชนได้
3. สามารถนาความรู้
และทักษะทไี่ ด้จากการ 36 4 0
ฝึกอบรมไปถ่ายทอดให้
ความรแู้ กผ่ อู้ ื่นได้
รวมด้านการนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
สามารถสรุปผลการประเมินโดยละเอียดได้ดังน้ี
๑.) ระดับความพึงพอใจด้านกระบวนการ ข้ันตอนการให้บรกิ าร
จากผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ด้านกระบวนการ ข้ันตอนการให้บรกิ าร ในภาพรวม มีระดับ
ความพึงพอใจ มากท่สี ุด ค่าเฉลี่ย 4.80 ความพึงพอใจในรายข้อ สรุปว่า การจดั ลาดับขั้นตอนของการจดั กิจกรรม
(ข้อ 4) มากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.80 รองลงมา ความเหมาะสมของสถานที่ (ข้อ 1) ค่าเฉล่ีย 4.77 ความเหมาะสม
ของชว่ งเวลา (ข้อ 3) ค่าเฉล่ีย 4.67 และน้อยท่สี ุด ความเหมาะสมของระยะเวลา (ข้อ 2) ค่าเฉล่ีย 4.60
๒.) ระดับความพึงพอใจด้านวทิ ยากร
จากผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ด้านวทิ ยากร ในภาพรวม มีระดับความพึงพอใจ มากทส่ี ุด ค่าเฉลี่ย
4.77 ความพึงพอใจในรายข้อ สรุปว่า ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ (ข้อ 2) มากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.77
รองลงมา ความรอบรูใ้ นเนื้อหาของวทิ ยากร (ข้อ 1) การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ (ข้อ 4) ค่าเฉล่ีย 4.75
และน้อยท่สี ุด การเปดิ โอกาสให้ซกั ถามแสดงความคิดเห็น (ข้อ 3) ค่าเฉลี่ย 4.57
31
๓.) ระดับความพึงพอใจด้านเจา้ หน้าท่ีผู้ให้บรกิ าร/ผู้ประสานงาน (ของหน่วยงานที่จดั )
จากผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ด้านเจา้ หน้าที่ผู้ให้บรกิ าร/ผู้ประสานงาน (ของหน่วยงานที่จัด)
ในภาพรวม มีระดับความพึงพอใจ มากทส่ี ุด ค่าเฉลี่ย 4.87 ความพึงพอใจในรายข้อ สรุปว่า การแต่งกาย (ข้อ 1)
ความสุภาพ (ข้อ 2) มากท่ีสุด 4.87 รองลงมา การตอบคาถาม (ข้อ 3) ค่าเฉลี่ย 4.80 และน้อยที่สุด
การประสานงาน (ข้อ 4) ค่าเฉล่ีย 4.77
๔.) ระดับความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก (ของหน่วยงานทีจ่ ดั )
จากผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ด้านการอานวยความสะดวก (ของหน่วยงานท่ีจัด) ในภาพรวม
มีระดับความพึงพอใจ มากท่สี ุด ค่าเฉลี่ย 4.95 ความพึงพอใจในรายข้อ สรุปวา่ โสตทัศนูปกรณ์ (ข้อ 2) มากทีส่ ุด
ค่าเฉลี่ย 4.95 รองลงมา เอกสาร (ข้อ 1) เจ้าหน้าที่สนับสนุน (ข้อ 3) ค่าเฉล่ีย 4.9 และน้อยท่ีสุด อาหาร,
เครอ่ ื งดื่ม และสถานที่ (ข้อ 4) ค่าเฉล่ีย 4.87
๕.) ระดับความพึงพอใจด้านคุณภาพการให้บรกิ าร
จากผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ด้านคุณภาพการให้บรกิ าร ในภาพรวม มีระดับความพึงพอใจ
มากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.75 ความพึงพอใจในรายข้อ สรุปว่า สิ่งท่ีท่านได้รบั จากโครงการ/กิจกรรมครงั้ นี้ตรงตาม
ความคาดหวังของท่านหรอื ไม่ (ข้อ 3) มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.75 รองลงมา ท่านได้รบั ความรู้ แนวคิด ทักษะและ
ประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการ/กิจกรรมน้ี (ข้อ 1) ประโยชน์ที่ทา่ นได้รบั จากโครงการ/กิจกรรม (ข้อ 5) ค่าเฉลีย่
4.72 สัดส่วนระหว่างการฝึกอบรมภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) มีความเหมาะสม (ข้อ 4) ค่าเฉลี่ย 4.70
และน้อยท่ีสุด ทา่ นสามารถนาส่ิงท่ไี ด้รบั จากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใชไ้ ด้ (ข้อ 2) ค่าเฉลี่ย 4.67
6.) ระดับความพึงพอใจด้านความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ
จากผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ด้านความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ มีระดับ
ความพึงพอใจ มากท่สี ุด ค่าเฉล่ีย 4.82
7.) ระดับความพึงพอใจด้านการนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
จากผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจ ด้านการนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ในภาพรวม มีระดับความพึง
พอใจ มากทส่ี ุด ค่าเฉลี่ย 4.90 ความพึงพอใจในรายข้อ สรุปวา่ สามารถนาความรแู้ ละทกั ษะที่ได้จากการฝกึ อบรม
ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน (ข้อ 1) มากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.90 รองลงมา สามารถนาความรูแ้ ละทักษะท่ีได้จาก
การฝกึ อบรมไปปฏิบัติให้เป็นตัวอย่างแก่ผู้อื่นในชุมชนได้ (ข้อ 2) ค่าเฉลี่ย 4.85 และน้อยท่ีสุด สามารถนาความรู้
และทักษะที่ได้จากการฝกึ อบรมไปถ่ายทอดให้ความรแู้ ก่ผู้อื่นได้ (ข้อ 3) ค่าเฉลี่ย 4.82
32
ตารางบทสรุปผลการประเมินทง้ั โครงการ
รายละเอียด ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ เกณฑ์การประเมนิ
ของผู้ตอบ
1. ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บรกิ าร 4.71 แบบประเมิน มากทส่ี ุด
2. ด้านวทิ ยากร 4.71 ท่มี ีระดับ มากทสี่ ุด
3. ด้านเจา้ หนา้ ทผี่ ใู้ ห้บรกิ าร/ผู้ประสานงาน (ของหน่วยงานทีจ่ ดั ) 4.82 ความพงึ พอใจ มากทส่ี ุด
4. ด้านการอานวยความสะดวก (ของหนว่ ยงานทจี่ ดั ) 4.90 72.50 มากทสี่ ุด
5. ด้านคุณภาพการให้บรกิ าร 4.71 มากทส่ี ุด
6. ด้านความพึงพอใจของทา่ นต่อภาพรวมของโครงการ 4.82 75.00 มากทสี่ ุด
7. ด้านการนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 4.85 มากทส่ี ุด
4.78 90.00 มากทสี่ ุด
รวมทกุ ด้าน
93.13
73.00
87.50
86.67
82.54
• บทสรุประดับความพึงพอใจโดยรวมของโครงการ
จากผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจโดยรวมของโครงการ มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย
4.9 ความพึงพอใจในรายด้าน สรุปว่า ด้านการอานวยความสะดวก (ของหน่วยงานท่ีจัด) (ข้อ 4) มากท่ีสุด
ค่าเฉล่ีย 4.9 รองลงมา ด้านการนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ (ข้อ 7) ค่าเฉลี่ย 4.85 ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บรกิ าร/ผู้
ประสานงาน (ของหน่วยงานท่ีจดั ) (ข้อ 3) ด้านความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ (ข้อ 6) ค่าเฉล่ีย
4.82 และน้อยท่ีสุด ด้านกระบวนการ ข้ันตอนการให้บรกิ าร (ข้อ 1) ด้านวทิ ยากร (ข้อ 2) ด้านคุณภาพการ
ให้บรกิ าร (ข้อ 5) ค่าเฉล่ีย 4.71
ส่วนท่ี 3 : ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะ
• หากมีการจดั อบรมในลักษณะน้ีอีก ควรปรบั ปรุงอะไรบา้ ง
-กระบวนการจดั ฝึกอบรมดีแล้ว แต่อยากให้มีการลงมือปฏิบัติและเพ่ิมฐานเรยี นรใู้ ห้มากข้ึน
-อยากให้มีการฝึกอบรมเป็นระยะ ๆ เพ่ือเสรมิ สรา้ งศักยภาพครวั เรอื นให้ได้รบั ความรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง
-อยากให้มีปา้ ยชอื่ /เส้ือรนุ่ /สัญลักษณ์รนุ่ ให้กับผู้เข้ารบั การฝึกอบรม
• หลังจากการอบรม ต้องการให้หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องสนับสนนุ อะไรบ้าง
-อยากให้สนับสนุนงบประมาณ และสนับสนุนองค์ความรู้ วัสดุ-อุปกรณ์ ส่ือประชาสัมพันธ์ เก่ียวกับ
การทา โคก หนอง นา ให้กับผู้เข้ารบั การฝึกอบรมเพื่อนาไปถ่ายทอดให้กับผู้ท่สี นใจต่อไป
-อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยลงพ้ืนที่ตรวจเยี่ยมให้กาลังใจ ติดตาม ต่อยอด ขยายผล
สู่การจดั โคก หนอง นา ให้เปน็ รปู ธรรมมากที่สุด
-อบรมฐานเรยี นรู้ เพื่อจะได้เปน็ ประโยชน์ต่อผู้มาเย่ียมชม โคก หนอง นา โมเดล ของผู้ผ่านการอบรม
33
ภาคผนวก
34
ภาคผนวก
-สาเนาโครงการฯ
35
35
34
ภาคผนวก
-สาเนาคาสั่งแต่งตั้งวทิ ยากร
และเจา้ หน้าทโ่ี ครงการฯ
41
ภาคผนวก
ทาเนียบผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมฯ
4433