The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปราชญ์ด้านเกษตรกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Naphisa Icesa Leoney, 2022-06-15 13:19:02

ปราชญ์ด้านเกษตรกรรม

ปราชญ์ด้านเกษตรกรรม

คำนำ

ภูมิป'ญญาท+องถิ่นถือว3าเป5นสิ่งสำคัญที่จะช3วยพัฒนาประชาชน เด็กและเยาวชน ให+เกิดการเรียนรู+และ
การสร+างอาชีพเพื่อให+เกิดรายได+ ดังจะเห็นในพระราชบัญญัติการศึกษาแห3งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒
(กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๔๒ หน+า ๒) บัญญัติไว+ว3า ในกระบวนการเรียนรู+เพื่อความเจริญงอกงามของ
สังคมไทยโดยการถ3ายทอดความรู+ การฝYกอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร+างสรรคZจรรโลง
ความก+าวหน+า มุ3งปลูกฝ'งจิตสำนึกที่ดี ส3งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิป'ญญาท+องถิ่น ตลอดจนการอนุรักษZ
ทรัพยากรทางธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ+ มอย3างสมดุลและย่งั ยนื

ความสำคัญและการใช+ภูมิป'ญญาท+องถิ่นในการเรียนรู+ เป5นเรื่องที่ต+องดำเนินการอย3างต3อเนื่อง และใน
แผนการศึกษาแห3งชาติมันโยบายและมีเป\าหมายการดำเนินงานที่มุ3งเน+นวัตถุประสงคZให+พัฒนาคนอย3างรอบ
ด+าน สร+างสังคมไทยให+เป5นสังคมคุณธรรม ภูมิป'ญญา และการเรียนรู+ การพัฒนาสภาพแวดล+อมของสังคมเป5น
ฐานในการพัฒนาสังคม คุณธรรม ภูมปิ ญ' ญา และการเรียนรู+

กศน.อำเภอเจาะไอร+อง ได+เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเรียนรู+ภูมิป'ญญาท+องถิ่น ด+านเกษตรกรรม
จึงจัดทำเล3มข+อมูลปราชญZชาวบ+าน “นายอารง ยูโซbะ” เพื่อใช+เป5นข+อมูลปราชญZชาวบ+านให+ผู+ที่สนใจที่จะศึกษา
กบั ปราชญชZ าวบา+ นในเร่ืองเกษตรกรรมต3อไป

กศน.อำเภอเจาะไอร+อง

สารบัญ หนา*

เร่ือง ๑
คำนำ ๓
สารบัญ ๗
ตอนท่ี ๑ : ข+อมูลทัว่ ไป ๑๔
ตอนท่ี ๒ : ข+อมลู การประเมิน ๒๒

ดา+ นท่ี ๑ ความรู+เชี่ยวชาญเฉพาะดา+ น
ดา+ นท่ี ๒ การถา3 ยทอดความรูใ+ ห+แก3ชมุ ชน/สังคม
ดา+ นที่ ๓ การเปน5 แบบอย3างทดี่ ขี องภูมปิ 'ญญา/ปราชญZชาวบ+าน
ดา+ นที่ ๔ ผลงานทปี่ ระสบความสำเร็จ

1

ปราชญช์ าวบา้ น ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

ตอนท่ี ๑ : ข้อมูลทวั่ ไป

1. ช่อื นายอารง นามสกลุ ยูโซะ๊
อายุ 68 ปี ระดบั การศกึ ษา ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง (ปวส.)
ภูมปิ ญั ญา / ปราชญช์ าวบา้ น ด้านเกษตรกรรม

2. ทอ่ี ยปู่ ัจจบุ ัน บา้ นเลขท่ี 80/2 หมทู่ ี่ 12 ตำบล/แขวง บกู ติ
อำเภอ/เขต เจาะไอรอ้ ง จงั หวัดนราธิวาส
โทรศพั ทม์ ือถอื 0๘๑-๕๔๓๖๘๖๗

3. อาชพี เกษตรกร
สถานท่ีทำงาน ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หมู่ท่ี 12 บ้านบูเก๊ะกอื จิ ตำบล บกู ติ อำเภอ เจาะไอร้อง จังหวดั นราธวิ าส
โทรศพั ท์มอื ถือ 0๘๑-๕๔๓๖๘๖๗

4. ประวัติผลงานท่ีใหก้ ารสนบั สนุนกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
(โดยระบุชื่อหนว่ ยงาน หรือองค์กรท่ีทา่ นเขา้ รว่ มกจิ กรรม)

4.1. ไดร้ บั การคัดเลือกเปน็ อาสาสมคั รเกษตรหมบู่ า้ น หมทู่ ี่12 บา้ นบเู ก๊ะกอื จิ ตำบลบกู ติ
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธวิ าส

4.2. ไดร้ บั การคัดเลอื กเปน็ อาสาสมัครปศสุ ัตว์หม่บู ้าน หม่ทู ่ี 12 บา้ นบเู กะ๊ กือจิ ตำบลบูกติ
อำเภอเจาะไอรอ้ งจงั หวดั นราธวิ าส

4.3. ได้รบั การคัดเลอื กเปน็ ประธานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำ
ตำบลบกู ติ อำเภอเจาะไอรอ้ ง จงั หวดั นราธวิ าส

4.4. ไดค้ ดั เลอื กแปลงนายอารง ยูโซะ๊ เปน็ แปลงเกษตรตน้ แบบ และไดจ้ ัดตง้ั เปน็ ศูนยเ์ รยี นรู้
การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลติ สินคา้ เกษตร

4.5. เปน็ วทิ ยากรให้ความรเู้ กย่ี วกบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งแก่นักศกึ ษาและประชาชน
ในอำเภอเจาะไอรอ้ ง

4.6. สนับสนุนศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้กับศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้องเพอื่ ใช้ในการศึกษาเรยี นรู้หลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง

2

ปราชญ์ชาวบา้ น ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

5. ชื่อสถานศึกษา / หน่วยงานที่เสนอขอเข้ารับการประเมิน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั นราธวิ าส

3

ปราชญ์ชาวบา้ น ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

ตอนที่ 2 : ข้อมูลการประเมิน

ดา้ นท่ี ๑ ความรู้เชยี่ วชาญเฉพาะด้าน

๑. มีองคค์ วามรูด้ า้ นใดดา้ นหนึ่ง
นายอารง ยูโซ๊ะ เป็นผู้ที่มีความรู้ด้านเกษตรกรและปฏิบตั ิตนตามหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง เน้นความพอเพียง ทำแต่พอประมาณ พึ่งพาตนเอง ใช้เหตุผลในการ
ดำเนนิ ชีวติ และการประกอบอาชีพ ทำการจดบญั ชคี รวั เรอื น มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีความ
เสียสละ และมีใจเป็นจิตอาสาในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์การทำการเกษตรแก่
ผสู้ นใจ มีการเรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิจรงิ ในพ้นื ที่ มีเน้ือที่ 6 ไร่ ตั้งอยู่หมูท่ ่ี ๑๒ บ้านบู
เก๊ะกอื จิ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอรอ้ ง จงั หวัดนราธวิ าส ทำเกษตรประกอบไปด้วย การปลูก
ผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อรับประทานในครัวเรือน (เหลือข้าพเจ้าจะแบ่งปันให้เพือ่ นบ้าน
ได้รับประทานผักปลอดสารพิษ) เลี้ยงวัว เลี้ยงปลาดุก เลี้ยงไก่ ปลูกปาลม์ น้ำมัน ทำปุ๋ยหมกั
และน้ำหมักชีวภาพ

4

ปราชญ์ชาวบ้าน ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

๒. สืบสานและพฒั นาตอ่ ยอดองค์ความรู้

ปัจจุบันการทำการเกษตรของประเทศไทย มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกําจัด
ศตั รพู ชื จำนวนมาก ซงึ่ มรี าคาแพงเพิม่ ขึ้นทุกปตี ามภาวะราคาตลาดน้ำมันโลก สารเคมีที่ใช้มี
การสะสมในดิน น้ำ และ ผลผลิต เปน็ อันตรายตอ่ ผู้ผลิตและผู้บรโิ ภค จงึ มคี วามจาํ เป็นจะต้อง
ปรับเปลี่ยนระบบการผลิตใหม่ หันมาใช้สารอินทรีย์ทดแทน อย่างน้อยให้ปลอดภัยต่อ
ผู้บริโภค (อาหารปลอดสารพษิ ) และพัฒนาไปสู่อาหารไร้สารพิษและเกษตรอินทรีย์ในท่สี ุด
จากเหตผุ ลดังกล่าวข้างต้น จึงได้คิดกระบวนการเพื่อพฒั นาคณุ ภาพผลผลิตปาล์มนำ้ มนั โดยใช้
น้ำหมักชีวภาพ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี และเป็นวิทยากรในการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีองค์ความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพให้แก่เกษตรกร
นักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่อำเภอเจาะไอร้อง ที่มาศึกษาดูงานที่แปลงเกษตร และเป็น
วิทยากรในชุมชนต่าง ๆ ของอำเภอเจาะไอรอ้ ง นอกจากนี้ข้าพเจ้ายังเป็นวิทยากรถ่ายทอด
เทคโนโลยี หรือใหค้ ำแนะนำปรึกษาใหก้ บั ผอู้ ่ืนเก่ียวกับการเลี้ยงโคขุน การเล้ยี งแพะ การทำ
สารเพื่อกำจัดและไล่แมลงศัตรูพืช การปลูกผักสวนครัวในกระถางหรือวัสดุที่เหลือใช้ จึง
จําเป็นที่จะตอ้ งให้เกษตรกรและผู้ที่สนใจมีความรู้ ความเข้าใจ รู้จัก ผลิตและใช้สารอินทรีย์
ทดแทนสารเคมี

5

ปราชญช์ าวบา้ น ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

๓. นำเทคโนโลยพี ื้นบา้ นมาพฒั นาองคค์ วามรู้
ภูมิปัญญาชาวบ้านและเทคโนโลยีพื้นบ้าน เป็นองค์ความรู้ที่ได้รับการสั่งสม

ถ่ายทอดและพัฒนามาจากประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถของชาวบ้านจากอดตี กาลมา
จนถึงปัจจุบัน โดยอาศัยศักยภาพท่ีมีอยู่ในตนเอง และในธรรมชาติมาก่อให้เกดิ ประโยชน์ใน
การดำรงชวี ติ ในแนวทางที่สอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ และวถิ ชี ีวิตของชาวบา้ น

การเลี้ยงโคด้วยใบปาล์มน้ำมัน หน่อกล้วย ใบกล้วยและต้นขา้ วโพด ผ่านเครื่อง
ย่อยใหเ้ ป็นช้ินเล็กๆใหโ้ คกิน เป็นการนำสงิ่ เหลอื ใชใ้ นสวนกลับมาประโยชนอ์ กี ครงั้ และเป็นการ
ลดตน้ ทุนอีกทางหนง่ึ

การนำผลไม้ทีเ่ หลือหรือเน่าไม่สามารถมาบริโภคได้ เช่น มะไฟ มะละกอ
สบั ปะรด เปน็ ตน้ มาเปน็ วัสดุในการทำน้ำหมักชวี ภาพ เปน็ การลดต้นทุนการซอ้ื ปุย๋ เคมีได้
อีกทางหนึ่ง

6

ปราชญช์ าวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

๔. นำองค์ความรไู้ ปใชใ้ นการปฏิบตั ิจริงและเกดิ รปู ธรรม

นายอารง ยูโซ๊ะ เป็นเกษตรกรที่มีความสนใจที่จะเรียนรู้การใช้ชีวิตตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของในหลวงรัชกาลที่ 9 มีความพ่ึงพอใจในการดำเนนิ ชีวติ อย่าง
พอเพียง และที่สำคญั ที่สุดความสุขได้มาจากการแบ่งปันความรู้ที่ตนเองมอี ยูเ่ พื่อถ่ายทอด
ให้กับผู้อืน่ ในเรื่องความพอเพียงในการดำเนินชีวิต และทำการเกษตรแบบพอเพียง จึงได้ใช้
พื้นที่จำนวน 6 ไร่ที่มีอยู่ทำเกษตร ประกอบไปด้วย การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพอ่ื
รับประทานในครัวเรือน (เหลือข้าพเจ้าจะแบ่งปันให้เพื่อนบ้านได้รับประทานผักปลอด
สารพิษ) เลี้ยงววั เลีย้ งปลาดุก เลยี้ งไก่ ปลกู ปาลม์ นำ้ มัน ทำปยุ๋ หมกั และนำ้ หมกั ชวี ภาพ

จากการดำเนินชีวิตแบบพอเพียงจึงทำให้เกิดแนวคิดที่จะจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่ได้ศึกษาและเพื่อเปน็ แหล่งเรียนรู้
สำหรับผทู้ ่ีมีความสนใจ ทัง้ ยังเปน็ วิทยากรถ่ายทอดความรดู้ ้วยตนเอง

7

ปราชญ์ชาวบา้ น ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

ด้านท่ี ๒ การถ่ายถอดความร้ใู หแ้ ก่ชมุ ชน / สงั คม

1. เผยแพร่องคค์ วามรู้ อยา่ งน้อย 1 ครั้ง / เดือน
จากการดำเนินชีวิตแบบพอเพียงจึงทำให้เกิดแนวคิดที่จะจัดตั้งศูนย์การเรยี นรู้

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่ได้ศึกษาและเพื่อเปน็ แหล่งเรียนรู้
สำหรับผทู้ ่ีมคี วามสนใจ ทงั้ ยงั เปน็ วิทยากรถา่ ยทอดความรู้ด้วยตนเองให้แกเ่ กษตรกร นักเรียน
และนักศกึ ษา ในพืน้ ที่อำเภอเจาะไอรอ้ ง ท่มี าศึกษาดงู านทีแ่ ปลงเกษตร และไปเป็นวิทยากร
ในชุมชนตา่ ง ๆ ของอำเภอเจาะไอรอ้ ง

8

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

2. ไดร้ ับเชญิ เป็นวิทยากรถา่ ยทอดองค์ความรไู้ มน่ ้อยกวา่ 5 ครงั้ / ปี
สำนักงานเกษตรอำเภอเจาะไอร้องได้เลือกแปลงเกษตรของข้าพเจ้าเป็นศูนย์

เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ เรือ่ งการพัฒนาคุณภาพผลผลิตปาล์ม
นำ้ มันโดยใชน้ ้ำหมักชวี ภาพ เพอื่ ลดต้นทุนการผลิตและทดแทนการใชป้ ๋ยุ เคมี และเป็นวิทยากร
ในการถา่ ยทอดเทคโนโลยอี งคค์ วามรูใ้ นเรอ่ื งการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพให้แก่เกษตรกร
นักเรียนและนักศึกษา ในพื้นที่อำเภอเจาะไอร้อง ที่มาศึกษาดูงานที่แปลงเกษตร และไปเป็น
วิทยากรในชุมชนตา่ ง ๆ ของอำเภอเจาะไอร้อง นอกจากนี้ยังเป็นวิทยากรถ่ายทอดเทคโนโลยี
หรือให้คำแนะนำปรึกษาใหก้ บั ผู้อื่นเก่ียวกบั การเลยี้ งโคขุน การเลยี้ งแพะ การทำสารเพื่อกำจัด
และไลแ่ มลงศตั รพู ืช การปลูกผกั สวนครัวในกระถางหรือวัสดุท่เี หลือใช้ด้วย

วทิ ยากรถา่ ยทอดเทคโนโลยอี งค์ความรูใ้ นเร่อื งการทำปุย๋ หมกั และน้ำหมกั ชีวภาพให้แก่
เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านโต๊ะแบ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัด
นราธวิ าส

9

ปราชญช์ าวบา้ น ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

วิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพให้แก่
อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้านและเครอื ขา่ ยอาสาสมคั รเกษตรหม่บู า้ น

วิทยากรถ่ายทอดเทคโนโลยีองคค์ วามรใู้ นเร่ืองการทำปุย๋ หมกั และนำ้ หมักชีวภาพให้แก่
กลุ่มโรงเรียนเกษตรกรข้าว หมู่ท่ี 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอรอ้ ง จังหวดั นราธิวาส

10

ปราชญช์ าวบา้ น ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

วิทยากรถา่ ยทอดเทคโนโลยอี งค์ความรู้ในเร่ืองการทำปยุ๋ หมกั และนำ้ หมักชีวภาพให้แก่
นกั ศกึ ษา กศน. ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะอำเภอเจาะไอรอ้ ง

วทิ ยากรถา่ ยทอดเทคโนโลยอี งค์ความรูใ้ นเรอ่ื งการทำป๋ยุ หมักและนำ้ หมกั ชีวภาพให้แก่
นักศึกษา กศน. อำเภอเจาะไอร้อง

11

ปราชญช์ าวบา้ น ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

3. มีจำนวนผรู้ บั บริการ เฉล่ีย 30 คน / เดือน
ศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ศูนย์เรยี นรแู้ ละขับเคลือ่ น

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงใช้ศูนย์เรียนรูเ้ ป็นเครือ่ งมือในการขบั เคลือ่ นเพื่อเป็นแหลง่
ถ่ายทอดความรแู้ ละจดั แสดงข้อมูล เก่ียวกบั แนวทางการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ในการขยายผลแนวคิด แนวทางปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ให้กับ
คนในหมู่บ้าน ในตำบล โดยการใช้ทุนที่มีอยู่ในชุมชน และได้รับการสนบั สนนุ การขบั เคลื่อน
การดำเนินงานทัง้ จากสว่ นราชการ

12

ปราชญ์ชาวบ้าน ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

4. นำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการถา่ ยทอดองค์ความรู้
เทคโนโลยีทางการเกษตร หมายถึง การนำความรู้ ทักษะและทรพั ยากรมาใช้เปน็

เครือ่ งมอื ในการแกป้ ัญหา หรอื เพมิ่ ศกั ยภาพ เพมิ่ ประสิทธิภาพในการทำงานด้านการปลูกพืช
เล้ียงสตั ว์เพอื่ สนองตอบความตอ้ งการของมนษุ ย์

การเพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตร หมายถึง การเพม่ิ ปริมาณและคุณภาพของ
ผลผลิต จงึ ตอ้ งใชค้ วามรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี ้นั พนื้ ฐานในการผลิต นอกจากศนู ย์
การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งแล้วยงั ไดร้ ับการจัดต้ังใหเ้ ป็นศูนย์ศูนยเ์ รียนรูก้ าร
เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตรในพื้นที่ เรอ่ื งการพัฒนาคุณภาพผลผลิตปาล์มน้ำมันโดย
ใชน้ ำ้ หมักชวี ภาพเพอ่ื ลดต้นทุนการผลติ และทดแทนการใชป้ ุย๋ เคมีและปจั จบุ นั ได้รับการคดั เลือก
เปน็ ประธานศูนยบ์ รกิ ารและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลบกู ิต อำเภอเจาะไอรอ้ ง
จังหวัดนราธวิ าส

13

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

วิทยากรถ่ายทอดเทคโนโลยีองค์ความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมัก
ชีวภาพให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านโตะ๊ แบ ตำบลมะรอื โบออก อำเภอเจาะไอรอ้ ง
จงั หวดั นราธิวาส

วิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพให้แก่
อาสาสมคั รเกษตรหมู่บา้ นและเครือข่ายอาสาสมคั รเกษตรหม่บู า้ น

14

ปราชญช์ าวบา้ น ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

ด้านที่ ๓ การเป็นแบบอยา่ งทด่ี ขี องภมู ปิ ญั ญา / ปราชญช์ าวบ้าน
1. มแี นวทางการพฒั นาตนเอง

ได้มีการพัฒนาคุณภาพผลผลิตปาล์มน้ำมันโดยใช้น้ำหมักชีวภาพ เพื่อลด
ต้นทุนการผลิตและทดแทนการใชป้ ยุ๋ เคมี

การเลี้ยงโคด้วยใบปาลม์ นำ้ มนั หน่อกลว้ ย ใบกล้วยและตน้ ขา้ วโพด ผ่านเครอื่ งย่อยให้
เป็นชิ้นเล็ก ๆ ให้โคกิน เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในสวนกลับมาประโยชน์อีกครั้งและเป็นการลด
ต้นทุนอีกทางหนงึ่

15

ปราชญ์ชาวบ้าน ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

2. มีจิตอาสาทีจ่ ะเผยแพร่องคค์ วามรู้
การทำงานที่มีความสุขและพึ่งพอใจในการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง และเป็น

เกษตรกรพอเพียงตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 และที่สำคัญท่ีสดุ คอื
ความสุขท่ีได้แบง่ ปันความรู้ท่ีตนเองมีอยู่เพื่อถ่ายทอดใหก้ ับผู้อื่น ในเรื่องความพอเพยี งในการ
ดำเนินชวี ติ และทำการเกษตรแบบพอเพยี ง

16

ปราชญช์ าวบ้าน ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

3. มเี ครอื ขา่ ยมารว่ มในการจัดการเรียนรู้

ศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ศูนยเ์ รยี นรู้และขบั เคลอ่ื น
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ ใช้ศูนย์เรียนรู้เป็นเคร่ืองมือในการขบั เคลอ่ื นเพ่ือเปน็ แหลง่
ถา่ ยทอดความรูแ้ ละจดั แสดงขอ้ มลู เก่ยี วกบั แนวทางการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ในการขยายผลแนวคดิ แนวทางปฏบิ ัติตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใหก้ ับ
คนในหมูบ่ า้ น ในตำบล โดยการใชท้ นุ ที่มีอยใู่ นชมุ ชน และได้รับการสนบั สนุนการขบั เคล่อื น
การดำเนนิ งานทัง้ จากส่วนราชการ องค์กรในชุมชน รวมทัง้ ประชาชนในพืน้ ทดี่ งั ต่อไปน้ี

❖ ทีว่ ่าการอำเภอเจาะไอร้อง
❖ สำนักงานเกษตรอำเภอเจาะไอรอ้ ง
❖ สำนกั งานประมงอำเภอเจาะไอรอ้ ง
❖ สำนักงานปศุสตั วอ์ ำเภอเจาะไอรอ้ ง
❖ พัฒนาชมุ ชนอำเภอเจาะไอรอ้ ง
❖ หน่วยพัฒนาสันติท่ี 31 – 14 (45 – 25)
❖ หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา (นทพ.)
❖ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง
❖ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบกู ิต
❖ ผนู้ ำทอ้ งที่และประชาชนในพน้ื ทต่ี ำบลบกู ิต

17

ปราชญ์ชาวบ้าน ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

4. มีผลงานเป็นทยี่ อมรบั / เปน็ ที่ศึกษาดงู าน
ศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นศนู ยเ์ รยี นรแู้ ละขบั เคล่ือน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงใช้ศูนย์เรียนรูเ้ ป็นเครือ่ งมือในการขับเคลือ่ นเพ่อื เป็นแหลง่
ถา่ ยทอดความรู้และจดั แสดงข้อมลู เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ในการขยายผลแนวคิด แนวทางปฏบิ ัตติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ให้กับ
คนในหมู่บ้าน ในตำบล โดยการใช้ทุนที่มีอยู่ในชุมชน และได้รับการสนับสนุนการขบั เคลื่อน
การดำเนินงานทั้งจากส่วนราชการ องคก์ รในชุมชน รวมท้ังประชาชนในพ้นื ที่

ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และศูนย์เรียนรู้การเพ่ิม
ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ จึงเป็นที่ยอมรับในชุมชน ทำให้มีหน่วยงานทาง
ราชการและประชาชนทัว่ ไปเขา้ มาศึกษาดูงานอย่างเป็นจำนวนมาก

18

ปราชญช์ าวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

5. มีผ้เู รยี นนำองค์ความรไู้ ปปฏิบตั ิ
วิทยากรประจำศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและศนู ยเ์ รียนรู้

การเพิ่มประสิทธภิ าพการผลิตสินคา้ เกษตรในพน้ื ท่ี ไดถ้ ่ายทอดความร้ใู ห้กับหน่วยงานราชการ
และประชาชนทัว่ ไปทเ่ี ขา้ มาศกึ ษาดูงานได้มีหน่วยงานและประชาชนบางส่วนที่สนใจนำความรู้
ไปปฏบิ ตั ิเพ่ือใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละนำไปปฏิบัตใิ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั

19

ปราชญ์ชาวบา้ น ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

6. มกี ารประพฤตติ นเปน็ ทย่ี อมรบั ของคนในชุมชน
นายอารง ยูโซ๊ะ ประพฤตแิ ละปฏบิ ตั ิตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลามที่ถูกตอ้ ง

มีความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และยึดมั่นการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรักและเอื้ออาทร จริงใจ ยึดมั่นใน
ความพอเพยี ง ประหยดั และอดออม มคี วามเสยี สละ เอื้อเฟอ้ื เผือ่ แผ่ต่อ ครอบครัว และชุมชน

ดำเนินชีวิตอย่างพอเพยี งประหยดั มัธยัสถ์ อดออม ไม่ฟุ่มเฟือย ซื้อเฉพาะสิ่งท่ี
จำเป็น ไม่ใช้จ่ายเกินตวั จดรายจา่ ยทกุ คร้ังท่ซี อื้ ปฏบิ ัติจนเป็นนิสัย และขา้ พเจา้ จะออมเงนิ เพื่อใช้
จา่ ยในยามฉกุ เฉินไม่มหี นี้สิน และทกุ ๆ เช้าขา้ พเจา้ จะสอนลูกหลานใหใ้ ช้จ่ายอยา่ งพอเพียง รู้จัก
ที่จะออมเงินเพื่ออนาคต พึงพอใจในสิ่งที่มีและรู้จักแบ่งปันให้ มีความสุขและพึ่งพอใจในการ
ดำเนินชวี ิตอย่างพอเพียง และเป็นเกษตรกรพอเพียงตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงของในหลวง
รัชกาลท่ี 9 และที่สำคญั ที่สดุ ความสุขได้มาจาก การแบง่ ปนั ความรูท้ ี่ตนเองมีอยู่เพ่ือถ่ายทอด
ให้กับผู้อื่น ในเร่ืองความพอเพียงในการดำเนินชีวติ และทำการเกษตรแบบพอเพยี ง ทั้งยังมกี าร
ชว่ ยเหลืองานสาธารณประโยชน์ด้วยใจท่มี จี ิตอาสาทำใหเ้ ป็นท่ยี อมรบั ในชุมชน

❖ เปน็ เกษตรกรพอเพียงตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของในหลวงรชั กาลที่ 9

20

ปราชญช์ าวบา้ น ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

❖ ดำเนินชีวิตอยา่ งพอเพยี งประหยัด อดออม นำวสั ดุเหลอื ใชม้ าใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชน์สูงสดุ

❖ เปน็ วิทยากรถา่ ยทอดความรูด้ ้วยใจทม่ี ีจติ อาสา

21

ปราชญช์ าวบา้ น ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

❖ ช่วยเหลืองานสาธารณประโยชนด์ ้วยใจทีม่ ีจติ อาสา

22

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

ดา้ นที่ ๔ ผลงานทป่ี ระสบความสำเร็จ

การทำงานที่มีความสุขและพึ่งพอใจในการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง และเป็น
เกษตรกรพอเพียงตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 และที่สำคัญที่สุดคือ
ความสุขที่ได้แบ่งปันความรู้ที่ตนเองมีอยู่เพื่อถ่ายทอดให้กับผู้อื่น ในเรื่องความพอเพียงในการ
ดำเนนิ ชวี ิต และทำการเกษตรแบบพอเพียง

ศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ศนู ย์เรยี นรแู้ ละขับเคลอ่ื น
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงใช้ศูนย์เรยี นรู้เป็นเครื่องมอื ในการขับเคลื่อนเพ่ือเป็นแหล่ง
ถ่ายทอดความรู้และจดั แสดงข้อมูล เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ในการขยายผลแนวคิด แนวทางปฏิบัตติ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ให้กับ
คนในหมู่บ้าน ในตำบล โดยการใช้ทนุ ท่มี อี ยใู่ นชมุ ชน และไดร้ บั การสนบั สนนุ การขบั เคลื่อนการ
ดำเนินงานทั้งจากส่วนราชการ องค์กรในชุมชน รวมทั้งประชาชนในพื้นท่ี ทำให้เปน็ เกษตรกรท่ี
ประสบความสำเรจ็ ในหลายๆด้าน

❖ ไดร้ บั การคดั เลอื กเป็นอาสาสมคั รเกษตรหมบู่ ้าน
❖ ไดร้ บั การคัดเลือกเป็นอาสาสมัครปศสุ ัตว์หมบู่ า้ น
❖ ไดร้ บั การคดั เลือกเป็นประธานศูนย์บรกิ ารและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตร

ประจำตำบลบกู ิต
❖ ได้คดั เลือกแปลงนายอารง ยโู ซะ๊ เป็นแปลงเกษตรต้นแบบของอำเภอ และได้

จัดต้งั เป็นศนู ย์เรียนรกู้ ารเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตร
❖ รางวลั ที่ 1 มะละกอฮอลแลนด์ งานวนั ลองกอง ณ จังหวัดนราธวิ าส
❖ ชนะเลศิ ลำดบั ที่ 1 การแขง่ ขนั ประกวดแพะ ณ จงั หวัดยะลา
❖ รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั ๑ ครอบครัวพฒั นาดเี ด่นระดบั จงั หวดั

23

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

24

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

25

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

26

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

27

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

28

ปราชญ์ชาวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

29

ปราชญ์ชาวบา้ น ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

อาสาสมคั รเกษตรกรหมูบ่ า้ น (อกม.)

พัฒนาตนเองตามระบบมาตรฐานงานชมุ ชน ประเภท ผูน้ ำ
ชมุ ชน

30

ปราชญช์ าวบ้าน ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

รองชนะเลิศอันดบั ๑ ครอบครัวพฒั นาดเี ด่น ระดบั จงั หวดั

รางวัลที่ ๑ มะละกอฮอนแลนด์

31

ปราชญช์ าวบา้ น ดา้ นเกษตรกรรม ประจำปี 256๕

ชนะเลศิ ลำดบั ท่ี 1 การแขง่ ขนั ประกวดแพะ


Click to View FlipBook Version