The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CIRO MODEL กศน.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาสpdf

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Naphisa Icesa Leoney, 2022-06-04 22:36:09

นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CIRO MODEL กศน.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาสpdf

นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CIRO MODEL กศน.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาสpdf

ประกวดส)ือนวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชือE ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19)

โครงการมหกรรมวชิ าการวชิ าชีพและการมีงานทาํ ชายแดนใต้
นวัตกรรมรูปแบบการจดั การเรียนรู้ CIRO MODEL
กศน.อาํ เภอเจาะไอร้อง

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเจาะไอรอ้ ง

สงั กดั สาํ นกั งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นราธวิ าส
สงั กดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ
เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้น เพื่อประกอบการพิจารณา ประกวดสื่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู@ใน
สถานการณCการแพรEระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19) โครงการมหกรรมวิชาการวิชาชีพ
และการมีงานทำชายแดนใต@
ซึ่งเอกสารฉบับนี้ท่ีเข@ารEวมประกวดสื่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู@ในสถานการณCการแพรEระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19) ประเภทสถานศึกษา สEงผลงานภายใต@หัวข@อ “รูปแบบการจัด
การศึกษาท่ีเหมาะสม และสอดคล@องกับสถานการณCการแพรEระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid -19) เพื่อพัฒนาทักษะของผู@เรียนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดชายแดนภาคใต@” นวัตกรรมรูปแบบการ
จัดการเรียนรู@ CIRO MODEL กศน.อำเภอจำไอรอ@ ง
ผ@ูจัดทำหวังเปiนอยEางยิ่งวEารายงานฉบับนี้จะเปiนประโยชนCกับการประกอบการพิจารณา หากมี
ข@อผดิ พลาดประการใด ขออภัยมา ณ ทน่ี ี่ด@วย

กศน.อำเภอเจาะไอร@อง

(เอกสารแนบประกอบการพิจารณา)
ประกวดสื่อนวัตกรรมการจดั การเรียนรใู8 นสถานการณ<การแพร?ระบาดของ

โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid -19)
โครงการมหกรรมวิชาการวิชาชีพและการมงี านทำชายแดนใต8

1. ชื่อผลงานทสี่ ง? เขา8 ประกวด
นวัตกรรมรปู แบบการจัดการเรียนรู8 CIRO MODEL กศน.อำเภอจำไอรอ8 ง

2. สรปุ แนวคดิ หลัก เค8าโครงเร่อื งโดยย?อ และรปู แบบการนำเสนอ
ความเปcนมาของรปู แบบ

เนื่องจากการแพรEระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให@สถานศึกษาไมEสามารถจัดการเรียน
การสอนแบบปกติได@ จึงจำเปiนต@องใช@รูปแบบการเรียนการสอนนแบบออนไลนC เพื่อให@นักศึกษาได@เรียนร@ู
ด@วยตนเองอยEางตEอเนื่อง ดังนั้น กศน.อำเภอเจาะไอร@อง ได@ออกแบบนวัตรกรรมรูปแบบการเรียนการสอน
CIRO MODEL มฐี านคิดมาจากทฤษฎกี ารสร@างความร@ดู @วยตนเอง (Constructivism) ทไ่ี ด@ปรับการจดั การเรียน
การสอนตามผลกระทบจากสถานการณCการแพรEระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เข@าสูEระบบการสอน
ห@องเรยี นออนไลนC

หลกั การ
วิธีการสอน CIRO MODEL เปiนรูปแบบของการสอนออนไลนCเพื่อมุEงเน@นการเรียนรู@ที่ผEานเครือขEาย

อินเทอรCเน็ตด@วยตนเอง ผู@เรียนสามารถเลือกเรียนตามความชอบของตนเอง เนื้อหาบทเรียนประกอบด@วย
ข@อความ, รูปภาพ, เสียง, VDO และ Multimedia อื่น ๆ สิ่งเหลEานี้จะสEงตรงไปยังผู@เรียนผEาน web browser
ทั้งผู@เรียน, ผู@สอน, เพื่อนรEวมชั้นทุกคนสามารถติดตEอ สื่อสาร ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยการใช@
chat, social network ทำให@เกิดความสะดวกและไมEจำเปiนต@องเดินทาง เข@าถึงได@อยEางรวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา
ตามความต@องการ และสถานที่ของตนเอง โดยมีหลักคิดการทำโมเดล CIRO MOFEL ได@มาจากการศึกษา
แนวคดิ และทฤษฎี ดงั น้ี

ทฤษฎกี ารสร@างความรด@ู @วยตนเอง (Constructivism)
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตC . (Constructivist Theory) เปiนทฤษฎีที่วEาด@วยการสร@างความรู@ของผู@เรียน
ซึ่งถ@าพิจารณาจากรากศัพทC “Construct” แปลวEา “สร@าง” โดยในที่นี้หมายถึงการสร@างความรู@โดยผู@เรียน
นั่นเองทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตC เชื่อวEา การเรียนรู@ หรือการสร@างความรู@ เปiนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของ
ผู@เรียน โดยที่ผู@เรียนเปiนผู@สร@าง ความรู@ โดยการนาประสบการณCหรือสิ่งที่พบเห็นในสิ่งแวดล@อมหรือสารสนเทศ
ใหมEที่ได@รับมาเชื่อมโยงกับ ความรู@ความเข@าใจที่มีอยูEเดิม มาสร@างเปiน ความเข@าใจของตนเอง หรือ
เรียกวEา โครงสร@างทางป„ญญา (Cognitive structure) หรือที่เรียกวEา สกีมา (Schema) ซึ่งนั่นคือ ความรู@
นั่นเอง ซึ่งอาจมิใชEเปiนเพียงการ จดจาสารสนเทศมาเทEานั้น แตEจะประกอบด@วย โดยที่แตEละบุคคลนำ

ประสบการณCเดิม หรือความรู@ความเข@าใจ เดิมที่ตนเองมีมากEอน มาสร@างเปiนความรู@ความเข@าใจที่มีความหมาย
ของตนเองเกี่ยวกับสิ่งนั้นๆ ซึ่งแตEบุคคล อาจสร@างความหมายที่แตกตEางกัน เพราะมีประสบการณC หรือ ความร@ู
ความเข@าใจเดิม ที่แตกตEางกัน กลEุมแนวคิดคอนสตรัคติวิสตC (Constructivism) เชื่อวEา การเรียนรู@ เปiน
กระบวนการสร@างมากกวEา การรับ ความรู@ ดังนั้น เปˆาหมายของการจัดการเรียนการสอนจะสนับสนุนการสร@าง
มากกวEาความพยายามในการ ถEายทอดความรู@ ดังนั้น กลุEมแนวคิดคอนสตรัคติวิสตC จะมุEงเน@นการสร@างความรู@
ใหมEอยาE งเหมาะสมของแตลE ะ บุคคล และเชื่อวาE สิ่งแวดลอ@ มมีความสำคญั ในการสรา@ งความหมายตามความเปนi
จรงิ (Duffy and Cunningham, 1996, อ@างใน อนชุ า : 2556)

ศาสตรพ< ระราชา
ศาสตรCพระราชา คือ องคCความรู@ที่เกิดจากความฉลาดร@ู ในด@านวิทยาศาสตรC ศิลปศาสตรC ชีวิต
วัฒนธรรม และนวัตกรรมตEาง ๆ ซึ่งเกิดจากการศึกษาเพื่อความ ฉลาดรู@ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
ภูมิพลอดุลยเดช องคCความรู@ที่ได@นาไปปฏิบัติ กEอประโยชนCให@กับสังคม ประเทศชาติ และความฉลาดรู@ คือ
“รู@แล@วสามารถนาไปใช@ประโยชนCจริง ๆ โดยไมEเปiนพิษเปiนโทษ..” (พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทาน
ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 22 มิถุนายน พุทธศักราช 2524 ใน ชูสิทธิ์ ชูชาติ,
2559, น.27, 27-33)

PLC
ชุมชนการเรียนรู@ทางวิชาชีพหรือ PLC มีวรรณกรรมทางการศึกษาจากการวิจัยหรือโครงการศึกษา
ตEางๆ สามารถ เรียบเรียงสรุปเปiนความหมายของ PLC คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง รEวมมือกันของครู
ผู@บริหาร และนักการศึกษาในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู@ของผู@เรียนเปiนสำคัญ ดังที่ Sergiovanni (1994)
ได@กลEาววEา PLC เปiนสถานที่สำหรับ “ปฏิสัมพันธC” ลด “ความโดดเดี่ยว” ของมวลสมาชิกวิชาชีพครูของ
โรงเรียนในการทำงาน เพื่อปรับปรุงผลการเรียนของนักเรียนหรืองานวิชาการโรงเรียน ซึ่ง Hord (1997)
มอง ในมุมมองเดียวกัน โดยมองการรวมตัวกันดังกลEาว มีนัยยะแสดงถึงการเปiนผู@น ารEวมกันของครู หรือเป”ด
โอกาส ให@ครูเปiน “ประธาน” ในการเปลย่ี นแปลง (วจิ ารณC พานิช, 2555)

ครใู นศตวรรษที่ 21
การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ครูต@องเปลี่ยนบทบาทเปiนโค@ชด@วย เนื่องจากป„จจุบัน ความรู@มีมาก
ครูจะจัดการอยEางไรเพื่อให@ผู@เรียนเรียนรู@ได@หมด ผลวิจัยแนะนำวEา ให@สอนเฉพาะที่สำคัญๆ ผู@เรียนสามารถนำ
ความรู@นั้นไปบูรณาการและตEอยอดเองได@ สEวนความรู@ที่ไมEได@สอน ผู@เรียนจะเรียนรู@ได@เอง สิ่งสำคัญในการเรียน
การสอนในศตวรรษที่ 21 คือ เปลี่ยนวิธีการของการศึกษาจากให@ความรู@ไปสูEให@ทักษะ เปลี่ยนจากครูเปiนหลัก
เปiนนกั เรยี นเปiนหลัก (วิจารณC พานิช, 2555)

PDCA
ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนของวงจร PDCA ประกอบด@วย "การวางแผน" อยEางรอบคอบเพื่อ "การปฏิบัติ"
อยEางคEอยเปiนคEอยไป แล@วจึง "ตรวจสอบ" ผลที่ เกิดขึ้น วิธีการปฏิบัติใดมีประสิทธิผลที่สุด ก็จะจัดให@เปiน
มาตรฐาน หากไมEสามารถบรรลุเปˆาหมายได@ ก็ต@องมองหาวิธีการปฏิบัติใหมEหรือใช@ความพยายามให@มากข้ึน
กวาE เดิม (ชนกิ านตC เธยี รสตู ร, 2551)

ทฤษฎีระบบ
หลักการและแนวคิดของทฤษฎีระบบ ระบบประกอบด@วยสEวนประกอบที่สำคัญ ดังตEอไปน้ี (จันทรานี
สงวนนาม, 2545, หนา@ 86-87)
1. ป„จจัยนำเข@า หมายถึง ทรัพยากรทางการบริหารทุก ๆ ด@าน ได@แกE บุคลากร (Man) งบประมาณ
(Money) วัสดุอุปกรณC (Materials) การบริหารจัดการ (Management) และแรงจูงใจ (Motivations) ท่ีเปiน
สEวนเรม่ิ ต@นและเปiนตวั จกั รสำคัญในการปฏบิ ัตงิ านขององคCการ
2. กระบวนการ คือการนำเอาป„จจัยหรือทรัพยากรทางการบริหารทุกประเภทมาใชใ@ นการ ดำเนินงาน
รEวมกันอยEางเปนระบบ เนื่องจากในกระบวนการจะมีระบบยEอย ๆ รวมกันอยูEหลายระบบ ครบวงจร ตั้งแตEการ
บริหาร การจัดการ การนิเทศ การวัดและการประเมินผล การติดตาม ตรวจสอบเปiนต@น เพื่อให@ป„จจัยทั้งหลาย
เข@าไปสกEู ระบวนการทกุ กระบวนการไดอ@ ยEางมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. ผลผลติ หรือผลลัพธC เปiนผลท ี่ เกิดจากกระบวนการของการนำพาเอาป„จจัยมาปฏิบัติเพื่อให@ เกิด
ประสทิ ธิผลตามเปาˆ หมายทีก่ ำหนดไว@
4. ผลกระทบ เปiนผลท ี่ เกิดขึ้นภายหลังจากผลลัพธCที่ได@ ซึ่งอาจเปiนส่ิงท่ีคาดไว@หรือไมEเคย คาดคิดมา
กอE นวEาจะเกดิ ขึ้นกไ็ ด@

วัตถปุ ระสงค<ของรูปแบบ
1. เพอื่ เปนi ชEองทางการจดั เรยี นการสอนของครู กศน.
2. เพอื่ สรา@ งโอกาสใหน@ ักศกึ ษาเขา@ ถงึ การจัดการเรยี นการสอนของครไู ด@สะดวกและรวดเรว็ ยง่ิ ข้นึ
3. เพื่อสร@างโอกาสใหน@ ักศกึ ษาสามารถเรียนรด@ู @วยตนเอง ไดท@ กุ ที่ ทุกเวลา
4. เพือ่ เปนi การยกระดับผลสัมฤทธ์ิของผเ@ู รยี นให@เพิม่ ขนึ้

กระบวนการจัดการเรยี นรู8
• Creativity (C) : สร@างสรรคกC จิ กรรมการเรยี นรู@
ในการจดั การเรียนการสอนออนไลนCเพ่อื ดึงดูดความสนใจ และให@นักศึกษาไดส@ นุกกบั การเรยี นรู@
• Integration (I) : บรู ณาการจดั การเรยี นรู@

บูรณาการความรู@ทอ่ี ยEใู นตัวครูแตลE ะคนเขา@ ด@วยกนั เพราะครแู ตEละคนมคี วามรูค@ วามสามารถใน
รายวชิ าแตกตEางกัน จะดึงดดู เดEนของครูแตEละคนมาใช@ในการเรียนการสอนออนไลนC
• Reflection (R) : ติดตามผล ดแู ลชEวยเหลือผเ@ู รยี น
ในด@านความพรอ@ มในการเรียนออนไลนC ความพรอ@ มเครอื ขาE ยอินเทอรCเนต็ และทำการจัดสรรตาราง
เรยี น เพือ่ ใช@ในการสลบั การเรยี น on site ท่กี ศน. ใหส@ ำหรบั ท่ีไมพE ร@อมในการเรยี นออนไลนC
• Organization (O) : การจดั การห@องเรียนออนไลนC
นำ C I R มาจดั การหอ@ งเรียนออนไลนC ถ@าไมEสามารถจดั การเรยี นการสอนได@ หรือมีขอ@ บกพรอE งหรือมี
ป„ญหา กจ็ ะกลบั สขูE ้ัน C ใหมE

วิธีการดำเนินการ
• ครูประสานนักศกึ ษาทางแอพลเิ คชน่ั Line, Facebook
• ครูจัดการเรยี นการสอนออนไลนC ผาE นแอพลเิ คชัน่ Line โดยการวดิ ิโอคอล และแชรCเนอ้ื หาผาE น
หน@าจอ
• ครูทำการสะท@อนภาพหนา@ จอการจัดการเรียนการสอนผEานไลนC ผาE นโปรแกรม AppowerMirror และ
โปรแกรม OBS Studio เพอ่ื ทำการไลฟ›สด ถEายทอดสดทางแอพลเิ คช่ัน Facebook
• ครูทำการอัดคลปิ การสอน และจัดการเก็บไว@ในแอพ Google site
• ครโู พสตลC งิ กC แบบทดสอบ, ใบงาน, ใบความร@ู, google site, และคลปิ การสอนทางแอพลเิ คชน่ั Line,
Facebook

ผลที่เกดิ ข้นึ กับผเู8 รียน
ผลโดยตรง
1. ครสู ามารถใชร@ ะบบจัดการเรียนการสอนกับนกั ศึกษาในรปู แบบออนไลนC
2. นกั ศึกษาเขา@ ถงึ การจัดการเรยี นการสอนของครไู ด@สะดวกและรวดเร็ว
3. นักศกึ ษาสามารถเรยี นรู@ไดด@ ว@ ยตนเองได@ทุกที่ ทุกเวลา
4. ผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาของผ@เู รยี นเพ่มิ ขึ้น

ผลทเี่ กิดจากการใช8รปู แบบ
นักเรียนสามารถเข@าถึงการเรยี นรไู@ ด@ทกุ ที่ ทุกเวลา ตามความสะดวกของตนเอง

กรอบแนวคดิ CIRO MODEL

.................................................. ลงช่อื ผสู@ มัคร
(นายคมกฤช สาหลัง)

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเจาะไอรอ้ ง

สงั กดั สาํ นกั งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นราธวิ าส
สงั กดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version