นทิ รรศการ
วนั ปาชมุ ชนชายเลนไทย
ธรรมชาตสิ มดลุ
ระบบนเิ วศนส์ มดลุ
คนสมดลุ
กร – สริ กิ ร ลมิ สวุ รรณ กจิ การเพอื สงั คมบา้ นรกั ษด์ นิ
ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื การศกึ ษายะลา 1
ปา ชมุ ชนชายเลนไทย
ปาชายเลนเกิดจากตะกอนท่ีมากบั แมน้าํ สะสมรวมตวั กนั เปนหาดเลนกวาง บริเวณรอยตอ
ของทะเลกบั พน้ื ดิน ซึง่ เปนท่ีอยอู าศัยของสตั วน ้ําและสัตวบ ก โดยปจ จุบนั ปาชายเลนถกู รกุ ลํา้ ทาํ ใหระบบ
นิเวศนตาง ๆ เสยี ไป จึงมกี ารกาํ หนดใหว ันท่ี 12 เมษายน ของทกุ ป เปน วันปาชุมชนชายเลนไทย เพื่อ
ใหท กุ ฝายรว มมือกันรักษาทรพั ยากรธรรมชาตนิ ไ้ี วไมใ หสญู หายไป รวมถึงสรา งจติ สาํ นกึ ในการ
อนุรกั ษธรรมชาตเิ พื่อนํามาพฒั นาใหปา ชายเลนไทย ดาํ รงอยตู อไป
ความสาํ คญั ของปา ชายเลน
ปา ชายเลน (ภาษาอังกฤษ: Mangrove Forest) เปนบรเิ วณทเ่ี ต็มไปดว ยพืชหลากชนดิ และ
หลายตระกลู โดยเฉพาะไมใบทเ่ี ขยี วตลอดป เปนศนู ยรวมของพชื ทข่ี ้นึ อยูต ามบริเวณชายฝงทะเล ปากแมน ํ้า
หรอื ปากอา ว ทะเลสาบ และเกาะ ปาชายเลน ในเมืองไทยมปี ระมาณ 78 ชนดิ เชน โกงกาง โปรง ลําพู
ตะบนู เหงือกปลาหมอ จาก ตาตมุ ทะเล หงอนไก เปนตน โดยจะมีการแบง เขตการแพรกระจายกนั อยา ง
ชดั เจน ซง่ึ กลายเปน แหลง รวมพนั ธุสัตวช นดิ ตา ง ๆ ทั้งสตั วบก สตั วป กและสตั วน ํ้า นบั วา มีความสําคัญตอ
การดาํ รงชพี ของมนุษยมากท้งั ในเขตปา ชายเลนและตามแนวชายฝง โดยเฉพาะกุง หอย ปู ปลา ท่ีมี
มากมายหลายชนดิ ที่ชาวบา นสามารถนาํ มารับประทานและขายเปน รายไดต ลอดท้งั ป ดงั นัน้ ปาชายเลน
จึงเปรยี บเสมือนตลาดสดสําหรบั ชุมชน ชุมชนชายฝง จะมชี ีวิตความเปน อยทู ีด่ ีไดน ัน้ จะตองขนึ้ อยูกบั ความ
อุดมสมบรู ณข องปา ชายเลนเปนหลกั
นอกจากนั้นปาชายเลนยงั คอยเก้อื หนุนตอทรพั ยากรทางทะเล เชน เปนแหลง อนุบาลสตั วน้าํ วัยออ นชนิด
ตา ง ๆ เปนแหลงอาหารของสตั วน ํ้านานาพันธุ ชว ยปอ งกันการพงั ทลายชายฝงจากคลื่นลมและทําหนาที่
รกั ษาสมดลุ ของระบบนิเวศชายฝง ทีเ่ กอ้ื กลู ตอ พนั ธสุ ตั วแ ละพรรณพืช รวมถงึ ลดมลภาวะทางอากาศและ
สง่ิ ปฏิกลู ตาง ๆ เปน ตน ดงั น้นั ปาชายเลนจึงถอื วามีคณุ คาอยางยิ่งตอ ชมุ ชนและประเทศชาตขิ องเรา
ปาชายเลนในประเทศไทย
ประเทศไทยมี 23 จังหวัด ทีม่ พี ้ืนท่ีปาชายเลนตามชายฝงทะเลแมน ํา้ ลาํ คลอง ทะเลสาบ
และเกาะตางๆ ตั้งแตภ าคกลางตอนลาง ภาคตะวนั ออกตลอดไปจนถงึ ภาคใตท้ังสองฝง จากการสาํ รวจ
พื้นทป่ี าชายเลนของประเทศไทยในป 2504 พบวา มีพืน้ ทร่ี วมทัง้ สิน้ 2,299,375 ไร หรอื รอ ยละ 0.72
ของพ้นื ทีป่ ระเทศ ในระยะ 25 ปต อมาพนื้ ทปี่ า ชายเลนไดลดลงอยา งรวดเรว็
จากการสํารวจเมือ่ 2529 ปรากฏวามีพนื้ ทีป่ า ชายเลนประมาณ 1,220,000 ไร หรอื ลดลงเกือบคร่งึ หนึ่ง
ตอมาปาชายเลนยังคงลดลงอยา งตอ เนอื่ งและมแี นวโนม อตั ราการบุกรกุ เพม่ิ มากยง่ิ ขนึ้ โดยในป 2534
พืน้ ท่ปี า ชายเลนคงเหลือเพยี ง 1,076,250 ไร หรอื รอ ยละ 0.33 ของพืน้ ท่ปี ระเทศ
ถกู ทาํ ลาย 1,223,125 ไร หรือประมาณรอ ยละ 54 เม่อื เทยี บกับป 2504 และลดลงเหลือ
ประมาณ 1,047,781.25 ไร ในป 2539 แตห ลงั จากป 2539 มีพืน้ ทป่ี า ชายเลนเพิ่มขน้ึ เนอื่ งจากไดมนี โย
บายการฟนฟูปา ชายเลน เชน การปลูกปาทดแทนและการลดการบกุ รุกทาํ ลายปา สง ผลใหใ นป 2543
พ้นื ท่ปี า ชายเลนเพม่ิ ข้นึ 1,578,750 ไร และเปน 2,384 ไร ในป 2547 โดยมพี นื้ ที่เพม่ิ ขึ้นมากกวาแผน
พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 9 (ป 2545–2549) ไดต ้ังเปา หมายไวว า ควรมีปา ชายเลนท้ัง
ประเทศประมาณ 1,250,000 ไร
หากเทียบอัตราการเปล่ียนแปลงพื้นทีป่ า ชายเลนรายจังหวดั ในชวงป 2518-2536 พบวา จังหวดั ชลบุรี
มอี ตั ราลดลงเฉล่ยี ตอปมากทีส่ ุดถงึ รอยละ 5.42 เนอ่ื งจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการ
พัฒนาพ้ืนท่ชี ายฝง ทะเลและการพฒั นาแหลง ทอ งเทีย่ ว
ระบบนเิ วศปา ชายเลน
ระบบนเิ วศวทิ ยาทีเ่ กดิ ขึน้ ในปา ชายเลนนั้น เปน เรื่องทีเ่ กี่ยวของกับความสมั พันธท ีม่ ีตอ กันระหวางส่งิ มชี วี ิตกับ
สิ่งแวดลอ มพชื พรรณธรรมชาติชนิดตา ง ๆ เมือ่ ไดรบั แสงจากดวงอาทติ ย เพอ่ื ใชใ นการสงั เคราะหแสงจะทําให
เกิดอนิ ทรยี วัตถแุ ละการเจรญิ เตบิ โต กลายเปนผูผ ลติ (producers) ของระบบสว นตาง ๆ ของตนไม
นอกเหนือจากมนษุ ยน ําไปใชป ระโยชนจ ะรว งหลนทับถมในน้าํ และในดนิ ในทส่ี ุดก็จะกลายเปน แรธ าตขุ องพวก
จลุ ชวี ัน เชน แบคทเี รีย เช้อื รา แพลงกต อน ตลอดจนสัตวเ ล็ก ๆ
หนาดนิ ทเ่ี รียกกลุมน้ีวา ผบู รโิ ภคของระบบ (detritus consumers) พวกจุลชีวันเหลา นี้
จะเจริญเติบโตกลายเปน แหลง อาหารของสัตวน้าํ เลก็ ๆ อ่นื ๆ และสตั วเ ล็ก ๆ เหลา นี้ จะเจริญเติบโตเปน
อาหารของพวกกงุ ปู และปลาขนาดใหญข ้ึนตามลําดับของอาหาร (tropic levels) นอกจากนี้ ใบไมท ี่
ตกหลนโคนตน อาจเปน อาหารโดยตรงของสัตวนํ้า (litter feeding) กไ็ ด ซง่ึ ทั้งหมด จะเกดิ เปน หวงโซ
อาหารข้ึน ในระบบนิเวศปาชายเลน และโดยธรรมชาติแลว จะมีความ สมดุลในตัวของมันเอง แตถามกี าร
เปล่ยี นแปลงเกดิ ข้ึนในขน้ั ตอนใดขัน้ ตอนหนึ่งกจ็ ะเปนผลทําใหระบบความสมั พันธนถี้ กู ทาํ ลายลง จนเกดิ เปน
ผล เสียขึน้ ได เชน ถา หากพนื้ ท่ีปาชายเลนถกู บกุ รุกทาํ ลาย จํานวนสตั วน ํ้ากจ็ ะลดลงตามไปดว ยตลอดจน
อาจเกิดการเนาเสยี ของนํา้
ประเภทของปา ชายเลน
1.Basin forest เปนปาชายเลนท่ีพบติดกับแผน ดินใหญต ามลํานํ้าและไดอิทธพิ ลจากน้าํ ทะเลนอยมาก
นํ้าทะเลจะทวมถงึ เฉพาะเวลาที่นาํ้ ทะเลขึ้นสูงสุด
2. Riren forest เปน ปาชายเลนทพี่ บบริเวณชายฝง แมนํ้าใหญท่ตี ิดกบั ทะเล ทะเลสาบ มนี ํ้าทะเลทวม
ถงึ ทกุ วัน
3. Fringe forest เปนปา ชายเลนทีพ่ บบรเิ วณชายฝงทะเลทีต่ ดิ กบั แผนดนิ หรอื รอบเกาะทเี่ ปน เกาะ
ใหญ น้ําทะเลทว มถงึ เสมอเปน ประจําทกุ วัน ยกเวน ชายฝง ทะเลของเกาะใหญ นา้ํ ทะเลทว มถงึ เมอื่ นํา้ ทะเล
ขึน้ สงู สุด
4. Overwash forest เปน ปาชายเลนทพ่ี บตามเกาะเล็กๆ เมอ่ื น้าํ ทะเลข้ึนสูงสดุ จะทว มตนไมห มด
พรรณไมท ี่จะเต้ียกวาปกติ มอี ัตราการเตบิ โตต่ํา
แนวทางการอนุรักษป าชายเลน
-ใหช ุมชนมามีสวนรว มตัง้ แตเริม่ ตน ของการฟนฟู
-นําองคค วามรดู ้ังเดิมและวถิ ีชวี ติ ของชมุ ชนมาประยกุ ตใ ชใ นการฟนฟูและจดั การทรพั ยากรปา ชาเลน
-สรา งจิตสํานกึ และเสรมิ สรา งแรงจูงใจตาง ๆ ใหก ับชุมชน
-ใหค วามรูและประสบการณต าง ๆ แกชุมชนในการฟน ฟูและจดั การทรัพยากรปาชายเลน
-สรา งผนู ําและเครอื ขายเพอื่ ใหอ งคก รชุมชนมีความเขมแข็ง
-จดั กจิ กรรมเกยี่ วกบั ปา ชายเลน เชน การปลกู ปา ชายเลน การอนรุ กั ษระบบนิเวศปาชายเลน
แหลง ขอ มูลอา งอิงเนื้อหาและรูปภาพ
https://www.nanitalk.com/interesting-story/important-day/4416
https://www.shutterstock.com/th/image-photo/riren-forest-mangrove-forestthailand-1154448754
https://www.flickr.com/photos/catorg/2345462694
https://www.google.com/url?sa=i&url=https%3A%2F%2Fwww.dreamstime.com%2Froyalty-free-stock-
photography-bog-reflection-fringe-forest-i
ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือการศึกษายะลา