The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดการศึกษาออนไลน์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peemod2000, 2021-11-08 04:16:34

คู่มือการจัดการศึกษาออนไลน์

คู่มือการจัดการศึกษาออนไลน์

Keywords: คู่ม

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งพจิ ติ ร

2

คานา

เน่อื งจากการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั Covid - 19 สง่ ผลใหท้ ุกคนตอ้ งปรับตวั ในการใชช้ วี ิตประจาวัน
สู่ชวี ิตปกตวิ ิถใี หม่ ( New Normal) การจดั การศกึ ษาของ กศน. ก็ต้องปรบั เปลีย่ นรปู แบบการจัดการเรียน
การสอนผ่าน ระบบออนไลน์ เน่ืองจากสามารถตอบโจทยก์ ารใช้ชีวติ หรอื Lifestyle ของคนในยุคท่มี กี าร
แพร่ระบาดของเช้ือไวรัส Covid - 19 ทเ่ี ราจาเปน็ ตอ้ งมรี ะยะห่างทางสงั คม หรอื Social Distancing

งานการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กศน.อาเภอเมืองพจิ ิตร จึงได้จัดทาคู่มือแนวทางการจัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
ออนไลน์เล่มนี้ขึ้น เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดการเรยี นการสอนข้ันพนื้ ฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในช่วงทีม่ กี ารแพร่ระบาดของ เชื้อไวรสั Covid - 19 เน้ือหาใน
ค่มู ือจะประกอบไปด้วย หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 การ
จัดการเรียนการสอนรปู แบบออนไลน์ การจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน และ แนวทางการปฏิบตั ปิ อ้ งกัน
เชอื้ ไวรสั Covid -19

ผจู้ ดั ทาหวังเปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื แนวทางการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานออนไลน์ของ กศน. อาเภอ
เมอื งพิจิตร เล่มนี้ จะสามารถใชเ้ ปน็ แนวทางการจัดการศกึ ษาออนไลน์ใหก้ ับ ครู กศน. ทุกคน ไดใ้ ชใ้ นสภาวะการ
แพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั Covid - 19 ได้

งานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
มกราคม 2564

3

สารบัญ

คานา หนา้

สารบัญ 1
1
บทท่ี 1 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 1
1
1. หลักการ 2
3
2. จดุ มุ่งหมาย 3
4
3. กลมุ่ เปา้ หมาย 5
9
4. โครงสรา้ งหลกั สตู ร 10
14
วธิ ีการจัดการเรียนรู้และการจัดกระบวนการเรียนรู้ 14
14
1.วธิ ีการจดั การเรยี นรู้ 14
14
2. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ 14
15
การวัดผลประเมนิ ผลการเรียน 17
19
เกณฑ์การจบหลกั สูตร 21
23
บทบาทของสถานศกึ ษาและผู้เกย่ี วข้อง 24

บทที่ 2 การจดั การเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ 27
27
ความร้ทู ัว่ ไปเก่ียวกบั Google Classroom 27

1. เกยี่ วกบั Google Classroom 30
31
2. ประโยชนข์ องการใช้งาน Google Classroom 32

3. ทาความเขา้ ใจเกีย่ วกบั งาน Google Classroom

4. ความโดดเดน่ ของ Google Classroom

ขั้นตอนการสร้างชน้ั เรยี น

การโพสตง์ าน

การโพสต์งานแบบทดสอบ

การสร้างแบบทดสอบใน Google ฟอรม์

การโพสตค์ าถาม

ขั้นตอนตรวจหรอื ดงู านผเู้ รยี น

ขน้ั ตอนการเขา้ ช้นั เรียนของนักเรยี นด้วยรหสั หอ้ งเรยี น 26

ClassStart

ความสามารถของระบบ

การสร้างห้องเรียน

การสร้างวิชา 28

การเพ่มิ เอกสารการสอน

การเพม่ิ ไฟลแ์ นบในเอกสารการสอน

การอนุมตั ิผู้เรียนเขา้ วชิ า

สารบญั (ตอ่ ) 4

การเพ่ิมผู้เรยี นในวชิ า 32
การสร้างแบบทดสอบอัตนยั 33
36
การสร้างแบบทดสอบปรนัย 34
การประมวลผลคะแนน 38
ระบบสาหรบั ผู้เรียน 37 39

บทที่ 3 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต 38 41
หลักการ 44
44
กรอบการจดั กจิ กรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น

รปู แบบของกิจกรรม 41

งบประมาณ 41

เ ง่ือนไขของการดาเนนิ งาน

บทท่ี 4 แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค Covid – 19

แนวทางการใหส้ ขุ ศกึ ษาในสถานศึกษา
อาการเบอ้ื งต้นที่สงั เกตไดจ้ ากการติดเช้ือไวรัสโคโรนา่ หรือ "COVID-19" 45

บรรณานกุ รม

ผูจ้ ัดทา

บทท่ี 1

หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

1. หลกั การ

หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กาหนดหลกั การไวด้ งั น้ี
1. เป็นหลักสูตรทม่ี โี ครงสรา้ งยืดหย่นุ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรยี น และการจัดการเรียนรู้ โดยเน้น
การบูรณาการเนอื้ หาให้สอดคล้องกับวถิ ีชีวติ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ชมุ ชน และสังคม
2. สง่ เสรมิ ให้มกี ารเทียบโอนผลการเรียนจากการศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษา
ตามอธั ยาศยั
3. สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี น ไดพ้ ฒั นาและเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยตระหนกั วา่ ผเู้ รยี นมคี วามสาคัญ
สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาตแิ ละเต็มศักยภาพ
4. สง่ เสริมให้ภาคีเครอื ขา่ ยมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา

2. จดุ มุ่งหมาย

หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา ให้ผู้เรยี นมี
คุณธรรม จริยธรรม มสี ตปิ ญั ญา มีคณุ ภาพชีวติ ที่ดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและ การเรยี นร้อู ยา่ ตง่อเนอื่ ง
ซงึ่ เป็นคุณลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ่ีต้องการ จึงกาหนดจดุ หมายดังต่อไปน้ี

1. มีคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ มทีด่ ีงามและสามารถอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งสันตสิ ขุ
2. มีความร้พู ื้นฐานสาหรับการดารงชวี ติ และการเรยี นรู้ต่อเน่ือง
3. มคี วามสามารถในการประกอบสัมมาอาชพี ให้สอดคล้องกบั ความสนใจ ความถนัดและ ตามทนั
ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื ง
4. มที ักษะการดาเนนิ ชวี ติ ทีด่ ี และสามารถจดั การกบั ชวี ิต ชมุ ชน สังคมได้อย่างมีความสขุ ตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. มีความเขา้ ใจประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเปน็ พลเมืองดี ปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา ยดึ มัน่ ในวถิ ชี ีวิตและ
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
6. มีจิตสานกึ ในการอนรุ ักษ์ และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
7. เป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถงึ แหลง่ เรยี นรู้ และบรู ณาการ
ความรู้มาใช้ในการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ

3. กลุ่มเปา้ หมาย
ประชาชนทว่ั ไปทไี่ ม่อยู่ในระบบโรงเรียน

2

4. โครงสรา้ งหลกั สูตร

เพอ่ื ให้การจัดการศึกษาเปน็ ไปตามหลกั การ จุดม่งุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ ท่กี าหนดไวใ้ ห้
สถานศึกษาและภาคเี ครอื ข่ายมีแนวปฏบิ ตั ิในการจัดทาหลกั สตู รสถานศึกษา จึงไดก้ าหนดโครงสร้างขอหงลักสตู ร
การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ดงั น้ี

4.1 ระดับการศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ 3 ระดับ คือ

4.1.1 ระดับประถมศกึ ษา

4.1.2 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

4.1.3 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

4.2 สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5 สาระ ดังน้ี

1. สาระทักษะการเรยี นรู้ เปน็ สาระเกีย่ วกับการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การใช้แหล่ง เรยี นรู้

การจดั การ ความรู้ การคดิ เปน็ และการวจิ ัยอย่างง่าย

2. สาระความร้พู น้ื ฐาน เป็นสาระเกยี่ วกบั ภาษาและการส่อื สาร คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี

3. สาระการประกอบอาชพี เป็นสาระเกย่ี วกบั การมองเห็นช่องทางและการตัดสินใจ

ประกอบอาชีพ ทกั ษะในอาชพี การจดั การอาชีพอย่างมีคุณธรรม และการพัฒนาอาชมีพั่นใหค้ง

4. สาระทักษะการดาเนินชีวิต เปน็ สาระเกย่ี วกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สขุ ภาพ อนามยั

และความปลอดภัยในการดาเนินชวี ิต ศลิ ปะและสุนทรียภาพ

5. สาระการพฒั นาสังคม เป็นสาระเก่ยี วกับภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์

การเมอื ง การปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี หน้าทีพ่ ลเมือง และการพัฒนา ตนเอง

ครอบครวั ชุมชน สังคม

4.3 กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิตเป็นกิจกรรมทจ่ี ัดข้ึนเพอ่ื ให้ผู้เรียน

พัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม

4.4 โครงสร้างหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ประกอบดว้ ย

4.4.1 วชิ าบงั คับ มสี าระการเรยี นรู้ 5 สาระ ทักษะการเรยี นรู้ ความรู้พ้นื ฐาน การประกอบ

อาชพี ทักษะการดาเนินชวี ติ การพฒั นาสังคม

4.4.2 วชิ าเลือก เป็นวชิ าท่สี ถานศกึ ษาพัฒนาขน้ึ เองโดยให้ยดึ หลกั การในการพัฒนา คือ

พฒั นาโปรแกรมการเรยี น เพ่ือเป็นการกาหนดทิศทางและเปา้ หมายการเรียนของผู้เรียน

สถานศึกษา จึงตอ้ งวิเคราะห์ความต้องการความจาเปน็ และความสนใจของผู้เรียน เพอ่ืออกแบบ

โปแกรมการเรยี น ภายในโปรแกรมการเรียนจะประกอบไปด้วยรายวชิ าตา่ ง ๆ ที่ผู้เรียน

จะตอ้ งเรยี นรู้

3

ท้ังน้ี วชิ าเลือกในแตล่ ะระดบั สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ให้ผูเ้ รียน เรยี นรจู้ ากการทาโครงงาน จานวนอย่านง้อย
3 หน่วยกติ

โครงสรา้ งหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ทม่ี า : สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั , สานักงาน, (2552).
หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 เอกสารวิชาการหมายเลข 14/2552

โครงสร้างหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย
1. สาระการเรยี นรู้ มี 5 สาระ คือ สาระทกั ษะการเรียนรู้ สาระความรพู้ ้ืนฐาน สาระการ ประกอบอาชีพ
สาระทักษะการดาเนินชวี ติ และสาระการพฒั นาสังคม
2. ระดับการศกึ ษา มี 3 ระดบั คอื ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลาย
3. วิชาบังคบั ระดับประถมศึกษา ต้องเรียนวิชาบังคับ36 หน่วยกติ ระดบั มัธยมศึกษา ตอนตน้ ตอ้ งเรียน
วชิ าบังคับ 40 หนว่ ยกิต และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตอ้ งเรียนวชิ าบงั คบั 44 หน่วยกติ
4. วิชาเลอื ก ระดับประถมศึกษา ต้องเรียนวิชาเลือก12 หนว่ ยกิต ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ต้องเรียน
วิชาเลอื ก 16 หนว่ ยกิต และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ตอ้ งเรยี นวิชาเลอื ก 32 หน่วยกติ
วิธีการจัดการเรียนรู้และการจดั กระบวนการเรยี นรู้
1.วิธกี ารจัดการเรียนรู้
การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีวธิ กี ารจัดการเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย ได้แก่
1. การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง เป็นวธิ กี ารจัดการเรยี นร้ทู ีผ่ ้เู รยี นกาหนดแผนการเรียนรขู้ องตนเอง
ตามรายวชิ า ทล่ี งทะเบียนเรยี น โดยมีครูเป็นท่ีปรกึ ษาและให้คาแนะนาในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจาก
ภูมปิ ัญญา ผรู้ ู้ และสื่อต่างๆ
2. การเรียนรู้แบบพบกล่มุ เปน็ วธิ กี ารจดั การเรยี นร้ทู ีก่ าหนดใหผ้ ู้เรยี นมาพบกันโดยมคี รเู ป็น
ผู้ดาเนนิ การใหเ้ กดิ กระบวนการกลุม่ เพอ่ื ใหม้ กี ารอภปิ รายแลกเปล่ยี นเรียนรู้และหาขอ้ สรปุ รว่ มกัน

3. การเรยี นร้แู บบทางไกลเป็นวธิ กี ารจดั การเรียนรู้จากส่ือตา่ ง ๆ โดยทผ่ี ูเ้ รียนและครจู ะ สื่อสารกนั
ทางสอ่ื อิเล็กทรอนิกสเ์ ปน็ สว่ นใหญ่ หรือถ้ามีความจาเปน็ อาจพบกันเป็นคร้ังคราว

4. การเรยี นรูแ้ บบชัน้ เรยี นเป็นวิธีการจดั การเรยี นรู้ทสี่ ถานศกึ ษากาหนดรายวชิ า เวลาเรียน และ
สถานที่ ที่ชัดเจน ซึ่งวธิ ีการจัดการเรียนรนู้ ้เี หมาะสาหรับผู้เรยี นท่มี เี วลามาเข้าชั้นเรยี น

5. การเรียนรู้ตามอัธยาศัยเป็นวิธกี ารจัดการเรียนรทู้ ี่ผเู้ รียนสามารถเรียนรไู้ ด้ตามความ ตอ้ งการ และ
ความสนใจ จากส่อื เอกสาร สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรือจากการฝึกปฏบิ ัตติ ามแหลง่ เรยี นร้ตู า่ งๆ แลว้ นาความรู้ และ
ประสบการณ์มาเทยี บโอนเข้าสู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศัก2รา5ช51

6. การเรียนรู้จากการทาโครงงานเปน็ วิธกี ารจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนกาหนดเร่อื งโดยสมคั รใจ ตามความ
สนใจ ความต้องการ หรือสภาพปัญหา ทีจ่ ะนาไปสู่การศึกษาค้นควา้ ทดลอง ลงมอื ปฏบิ ตั ิ จรงิ และมีการ
สรปุ ผลการดาเนินงานตามโครงงาน โดยมคี รเู ปน็ ผูใ้ หค้ าปรึกษา แนะนา อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้
และกระต้นุ เสรมิ แรงใหเ้ กิดการเรียนรู้

7. การเรียนรรู้ ูปแบบอืน่ ๆ สถานศึกษาสามารถออกแบบวธิ กี ารจดั การเรยี นร้ใู นรูปแบบ อ่ืนๆ ได้ตาม
ความตอ้ งการของผู้เรียน

วธิ กี ารจัดการเรียนรดู้ งั กล่าวข้างตน้ สถานศกึ ษาและผู้เรียนร่วมกนั กาหนดวิธเี รียน โดยเลือก เรยี น
วธิ ีใดวธิ หี นง่ึ หรอื หลายวิธกี ็ได้ขนึ้ อยู่กับความยากงา่ ยของเนือ้ หา และสอดคล้องกบั วถิ ีชวี ติ และการทางานของ
ผู้เรียน โดยขณะเดียวกันสถานศึกษาสามารถจดั ให้มกี ารสอนเสรมิ ไดท้ กุ วธิ ีเรียน เพอื่ เตมิ เตม็ ความรูใ้ หบ้ รรลุ
มาตรฐานการเรียนรู้

2. การจดั กระบวนการเรียนรู้

การจดั กระบวนการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช
2551 มงุ่ พัฒนาใหผ้ เู้ รียนมีความสามารถในการเรยี นรู้ ตามปรัชญาพน้ื ฐานการศกึ ษา นอกโรงเรยี น “คิดเป็น”
โดยเน้นพฒั นาทกั ษะการแสวงหาความรู้ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ และสร้างองค์ ความรูส้ าหรับตนเอง ชมุ ชน แสลงัะคม
ซ่งึ กาหนดรูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ ดงั นี้

1. กาหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการของผเู้ รยี น ชุมชน สังคม ให้เช่ือมโยงกบั ประสบการณ์และ
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นร้ขู องหลกั สูตร โดยผูเ้ รยี นทาความเข้าใจกับ สภาพปัญหาความตอ้ งการน้ัน ๆ
แล้วกาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ และวางแผนการเรยี นรู้ของตนเอง เพ่อื นาไปสกู่ ารปฏิบัตติ อ่ ไป

2. แสวงหาข้อมลู และการจดั การเรียนรทู้ เ่ี ชือ่ มโยงความรใู้ หม่กับความรเู้ ดมิ โดยศึกษา ค้นคว้า
หาความรู้ รวบรวมข้อมูลของตนเอง ชุมชน สงั คม และวิชาการ จากส่ือ และแหลง่ เรยี นร้ทู ห่ี ลากหลายมกี าร
สะทอ้ นความคดิ ระดมความคดิ เหน็ อภปิ ราย วเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ ้อมลู และสรุปเป็นความรู้

3. ปฏบิ ัติโดยใหน้ าความร้ทู ไี่ ดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ หส้ อดคล้องกบั สถานการณ์ท่ี เหมาะสมกับสังคม และ
วฒั นธรรม

4. ประเมินผลการเรียนรู้โดยใหม้ กี ารประเมนิ ทบทวนแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง และ ตรวจสอบผลการเรยี นรู้
ใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายการเรยี นรู้ท่ีวางไว้

5

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น

การวัดและประเมินผลการเรยี นตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษา ข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 มีเป้าหมายสาคัญเพือ่ นาผลการประเมนิ ไปพฒั นาผ้เู รียนใหบ้ รรลุ มาตรฐานการเรยี นรู้ของ
หลักสูตร โดยนาไปใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการปรบั ปรุงแก้ไข สง่ เสรมิ การเรียนรู้ และพฒั นาการผเู้ รยี น และนาไป
ปรับปรุงแก้ไขการจัดกระบวนการเรียนร้ใู หม้ ีประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขนึ้ รวมทั้งนาไปใชใ้ นการพจิ ารณาตัดสนิ
ความสาเร็จทางการศึกษาของผเู้ รียน

การวดั และประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน
พุทธศกั ราช 2551 มี 2 ลักษณะ ได้แก่

1. การวัดและประเมินผลการเรียน
1.1 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรายวชิ า
1.2 การประเมินกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
1.3 การประเมนิ คุณธรรม

2. การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ

การวัดและประเมนิ ผลการเรียน รายละเอียด ดงั นี้
1. การวดั และประเมนิ ผลรายวิชา
หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กาหนดสาระการ
เรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 5 สาระการเรียนรู้ คอื ทักษะการเรียนรู้ ความรู้ พ้นื ฐาน การประกอบอาชพี ทกั ษะการ
ดาเนนิ ชวี ิต และการพฒั นาสงั คม โดยแต่ละสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วยรายวิชาตา่ งๆ กาหนดให้มีการวัด
และประเมินผลเป็นรายวิชาก่อนเรียนระหว่าง ภาคเรียน และปลายภาคเรยี น เพ่อื ทราบความก้าวหนา้ ทัง้ ด้าน
ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ธรรมจริยธรรม อันเป็นผลมาจากการจดั กิจกรรม การเรียนรูข้ องสถานศกึ ษา
ในแต่ละรายวชิ าดว้ ย วิธกี ารท่ีหลากหลาย เชน่ การสังเกต การสมั ภาษณ์ ประเมนิ จากแฟ้มสะสมงานประเมนิ
การ ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ( Performance Evaluation) ประเมนิ การปฏบิ ัตจิ ริง ( Authentic
Assessment) ทดสอบยอ่ ย (Quiz) ประเมนิ จากกจิ กรรมโครงงานหรือแบบฝึกหดั เปน็ ตน้ โดยเลอื ก ใสหอ้ ดคลอ้ ง
และเหมาะสมกบั ธรรมชาติของรายวชิ าควบคู่ไปกับกิจกรรม การเรียนรขู้ องผู้เรยี น
การกาหนดคะแนนระหว่างภาคเรยี นและปลายภาคเรียนให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ที่ สานักงาน กศน.
กาหนด โดยการวดั ผลระหว่างภาคเรยี นสถานศึกษาเปน็ ผูด้ าเนนิ การ สาหรับการวัดผลปลายภาคเรยี น
ให้เป็นไปตามทีส่ านกั งาน กศน. กาหนด

6

แนวทางการวดั และประเมินผลรายวชิ า สถานศึกษาควรดาเนนิ การประเมนิ ผล รายวิชาดังนี้
1.1 การวดั และประเมนิ ผลก่อนเรยี น เปน็ การตรวจสอบความรู้ ทกั ษะ และความพร้อมต่าง ๆ ของ
ผ้เู รียน เพื่อเป็นขอ้ มูลพนื้ ฐานในการจดั กระบวนการเรียนรใู้ หเ้ หมาะสม กับสภาพความพร้อมและความรู้
พืน้ ฐานของผเู้ รยี น
1.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งภาคเรียน ( 60%) ให้สถานศึกษา ดาเนนิ การประเมินผลระหวา่ ง
ภาคเรยี น เพ่อื ทราบความกา้ วหนา้ ท้ังด้านความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และพฤติกรรมการเรียน การรว่ มกิจกรรม
และผลงาน อนั เปน็ ผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยจาแนกเป็น 2 สว่ น ดังน้ี

1) กาหนดสัดสว่ นการวัดและประเมินผลในสาระความร้พู ื้นฐาน ระหว่างภาคเรียนเป็นไปตาม
เกณฑท์ ี่สานักงาน กศน. กาหนด โดยการประเมนิ ระหว่างภาคเรียนให้มี การประเมนิ ผลดว้ ยวิธกี ารที่
หลากหลายเป็นระยะๆ อย่างตอ่ เนื่อง เพ่อื ทราบพฒั นาการของผเู้ รียน ท้งั นีส้ ถานศึกษาอาจกาหนดใหม้ ีการ
ทดสอบระหว่างภาคเรียนได้ตามความเหมาะสม และจดั ใหม้ ีการประเมินด้วยวธิ อี ื่น ๆ เชน่ ทาแบบฝกึ หัดและ
รายงานการนาเสนอผลงานการทาแฟ้ม หรือโครงงาน ฯลฯ โดยสถานศึกษาควรกาหนดคะแนนระหวา่ ง
ภาคเรียนวา่ จะประเมนิ จากกิจกรรมอะไร ในสัดสว่ นคะแนนเท่าไรตามความเหมาะสม ขอ้ มูลจากการประเมนิ
กจิ กรรมในแตล่ ะคร้ังให้สถานศึกษานาไปพฒั นาปรับปรุง การเรียนร้ขู องผู้เรยี น

2) การกาหนดสัดส่วนการวัดและประเมินผลในอีก 4 สาระ ได้แก่ สาระทักษะการเรียนรู้
สาระการประกอบอาชีพ สาระทกั ษะการดาเนินชวี ิต และสาระการพัฒนาสังคม การวัดและประเมนิ ผล อาจใช้
วธิ กี ารทหี่ ลากหลายใหส้ อดคลอ้ งกับสาระ รายวชิ า วิถีชวี ิต และกระบวนการเรยี นรู้ เช่น การประเมินความรู้
ความเขา้ ใจ การประเมนิ ทักษะ การปฏบิ ัติ ฯลฯ โดยสถานศึกษาควรกาหนดคะแนนระหวา่ งภาคเรียนวปา่ รจะเมิน

7

จากกิจกรรม อะไรในสดั ส่วนคะแนนเท่าไรตามความเหมาะสมข้อมลู จากการประเมนิ กจิ กรรมในแตล่ ะคร้ัง
ให้สถานศึกษานาไปพัฒนาปรับปรุงการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน

1.3 การวดั และประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น ( 40%) มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื ทราบผลการเรยี นรู้
โดยรวมของผูเ้ รยี นท่ไี ดเ้ รยี นตามสาระและมาตรฐานการเรียนรขู้ องแตล่ ะรายวิชา โดยอาจใช้เคร่อื งมหอื ลทา่ีกหลาย
ตามลกั ษณะของรายวิชา เชน่ แบบทดสอบปรนยั แบบทดสอบ อัตนัย แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิ เป็นต้น

1.4 การตดั สนิ ผลการเรยี นรายวชิ า การตดั สินผลการเรียนรายวิชา ใหน้ าคะแนนระหว่าง
ภาคเรียนมารว่ มกับคะแนนปลายภาคเรียน และจะตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ50 จงึ จะถือว่าผา่ นการเรยี น
ในรายวิชานนั้ แล้วนาคะแนนไปเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษา กาหนดเพอ่ื ใหค้ า่ ระดับผลการเรยี น

การให้ค่าระดับผลการเรยี นใหก้ าหนดเปน็ 8 ระดบั ดงั น้ี
ได้คะแนนรอ้ ยละ 80 - 100 ใหร้ ะดับ 4 หมายถึง ดเี ย่ียม
ได้คะแนนรอ้ ยละ 75 - 79 ใหร้ ะดับ 3.5 หมายถงึ ดมี าก
ได้คะแนนร้อยละ 70 – 74 ใหร้ ะดบั 3 หมายถึง ดี
ไดค้ ะแนนร้อยละ 65 - 69 ให้ระดับ 2.5 หมายถงึ ค่อนขา้ งดี
ได้คะแนนร้อยละ 60 - 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถึง ปานกลาง
ไดค้ ะแนนร้อยละ 55 - 59 ให้ระดบั 1.5 หมายถึง พอใช้
ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50 – 54 ใหร้ ะดบั 1 หมายถงึ ผ่านเกณฑข์ ้นั ตา่ ที่กาหนด
ได้คะแนนร้อยละ 0 – 49 ใหร้ ะดับ 0 หมายถงึ ตา่ กว่าเกณฑข์ ้นั ต่าทกี่ าหนด
กรณีผ้เู รียนมีผลการเรยี นตา่ กว่าเกณฑ์ข้นั ต่าทก่ี าหนด ให้ดาเนินการพัฒนาผู้เรยี นในรายวิชา
ท่ีได้รบั ค่าระดับผลการเรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์ด้วยวธิ กี ารที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินจาก
แฟม้ สะสมงาน ประเมินการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการเรียนรู้ P(erformance Evaluation) ประเมนิ การปฏบิ ัตจิ ริง
(Authentic Assessment) ทดสอบย่อย ( Quiz) ประเมนิ จากกิจกรรม โครงงาน หรอื แบบฝกึ หดั เป็นต้น
โดยเลอื กให้สอดคล้องและ เหมาะสมกบั ธรรมชาติของรายวิชา ควบคู่ไปกบั กิจกรรม การเรยี นรู้ของผู้เรียน
ถา้ ผู้เรยี นสามารถผา่ นเกณฑก์ ารประเมินผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั แลว้ ใหร้ ะดบั ผลการเรยี นใหม่ โดยให้คา่ ระดับ
ผลการเรียนไม่เกนิ 1 สาหรบั ผู้เรียนทปี่ รบั ปรงุ พฒั นาแล้วไม่ผ่านเกณฑ์ ขัน้ ตา่ ใหล้ งทะเบยี นในรายวชิ า เดิมหรือ
เปลี่ยนรายวิชา ทัง้ นี้ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน
พุทธศักราช 2551 และดาเนินการให้เสรจ็ สนิ้ กอ่ นปิดการลงทะเบียนเรียนในภาคเรยี น ถดั ไป
1.5 การขอเลอ่ื นสอบ ในกรณีที่ผู้เรยี นมีเหตุสดุ วิสยั หรอื มเี หตุจาเป็น ฉุกเฉนิ ไมส่ ามารถ
เข้าสอบปลายภาคเรียนตามวนั เวลา ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด ผูเ้ รียนสามารถ ยื่นคาร้องขอเลอ่ื นสอบ
ต่อสถานศึกษา โดยชแ้ี จงเหตผุ ลความจาเป็นพร้อมท้ังแสดงหลกั ฐาน ทั้งน้ี การพจิ ารณาอนมุ ตั ิให้เลอื่ นสอบ
อยู่ในดลุ พนิ จิ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
1.6 การสอบซ่อม ผ้ทู ่ีมสี ิทธิ์เขา้ รบั การสอบซ่อม คอื ผูเ้ รียนทเี่ ขา้ สอบ ปลายภาคเรียนแต่
ผลการประเมิน ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินผลรายวชิ าในสาระความร้พู น้ื ฐาน โดยให้ ผู้เรียนเข้ารับ การสอบซ่อม
ตามวนั เวลา สถานทีแ่ ละวิธที ่สี ถานศึกษาหรอื ต้นสงั กดั กาหนด ส่วนสาระอ่นื ๆ ใหอ้ ยู่ในดุลพินจิ ของสถานศึกษา

8

วิธีการวัดและประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขพั้นื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 มุง่ เน้นให้สถานศกึ ษาใชเ้ คร่ืองมอื และวิธกี ารท่หี ลากหลายในการวัด และประเมนิ ผล
รายวชิ า ซงึ่ สถานศกึ ษาอาจเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมือและวธิ กี ารต่างๆ ดงั น้ี

1. การประเมินความรคู้ วามเข้าใจในเน้อื หารายวิชา อาจดาเนนิ การโดยใช้แบบทดสอบซ่งึ มี
ทง้ั แบบปรนัย และแบบอตั นัย แบบทดสอบปรนยั ได้แก่ ข้อสอบแบบเลือกตอบ แบบเตมิ คา แบบถูกผิด
แบบจับคู่ สว่ นแบบทดสอบอตั นยั จะเป็นการทดสอบทใี่ หผ้ เู้ รยี นเขยี นตอบ จากคาถามท่ีกาหนดให้ หรอื เขียน
แสดงความคดิ เหน็ แสดงการคิดวิเคราะหจ์ ากคาถามในแบบทดสอบ

2. การประเมนิ ทักษะการสือ่ สาร อาจดาเนนิ การในรูปแบบและวิธีการตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่
2.1 การถามตอบระหว่างปฏิบตั ิกจิ กรรม
2.2 การสนทนาพบปะพูดคุยกับผเู้ รยี น
2.3 การสนทนาพบปะพดู คยุ กบั ผ้เู กย่ี วขอ้ งกบั ผู้เรียน
2.4 การสอบปากเปล่าเพอ่ื ประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจและทศั นคติ
2.5 การอ่านบนั ทึกเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ของผู้เรียน
2.6 การตรวจแบบฝึกหัดและตรวจรายงาน

3. การประเมนิ ทักษะการปฏบิ ัติ อาจดาเนินการในรูปแบบและวธิ ีการ ต่าง ๆ ไดแ้ ก่
3.1 การสังเกตพฤตกิ รรมผเู้ รียนตามรายการท่ผี เู้ รียนสามารถ ปฏบิ ัติได้
3.2 การตรวจผลงานการปฏิบตั ิว่าถูกตอ้ งสมบรู ณ์ครบถว้ น มคี ณุ ภาพตามเกณฑ์ท่ี
กาหนด
3.3 การให้ทาโครงงาน
3.4 การจัดทาแฟม้ สะสมงาน
3.5 การประเมินจากการปฏิบตั ิจรงิ ในงานอาชีพ
3.6 การประเมนิ โดยการยอมรับความรู้ประสบการณ์

2. การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
การประเมินกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) เปน็ เงือ่ นไขหนงึ่ ท่ผี ู้เรียนทุกคน จะต้องได้รบั การ

ประเมนิ ประเมินตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด โดยผเู้ รยี นจะตอ้ งทากิจกรรม พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไมน่ อ้ ยกว่า
200 ช่ัวโมง จงึ จะได้รบั การพิจารณาอนมุ ตั ใิ หจ้ บหลักสูตรในแตล่ ะ ระดับการศึกษา โดยใหผ้ ลการประเมินเป็น
ผ่านและไมผ่ ่าน (รายละเอียดใหศ้ กึ ษาในคู่มือการจัด กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ )

3. การประเมนิ คณุ ธรรม
การประเมินคุณธรรม เป็นเง่ือนไขท่ีผู้เรยี นทกุ คนจะตอ้ งไดร้ บั การประเมินตามเกณฑ์ ท่ีหลกั สูตร

กาหนด จึงจะได้รบั การพจิ ารณาให้จบหลกั สตู รในแตล่ ะระดับการศกึ ษา โดยสานักงาน กศน. ได้กาหนด
คุณธรรมเบอื้ งตน้ ไว้ สาหรับให้ผลการประเมินเปน็ 4 ระดับ คอื ดีมาก ดี พอใช้ และปรับปรงุ

9

การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ
1. หลักการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ หลกั การประเมนิ คุณภาพ

การศกึ ษานอกระบบระดับชาติ สถานศึกษาตอ้ งจัดให้ผเู้ รียนทกุ คนท่ีเรียน ในภาคเรียนสดุ ทา้ ยของทกุ ระดบั
การศกึ ษา ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เข้ารับการ
ประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติในสาระ การเรยี นรู้ ตามทสี่ านักงาน กศน. กาหนด การประเมิน
คุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติไม่มี ผลตอ่ การได้ หรอื ตกของผ้เู รียน แต่มีวตั ถุประสงค์เพ่อื นาข้อมูลท่ี
ไดจ้ ากการประเมนิ ไปใชใ้ นการ วางแผนปรับปรุง พฒั นาผู้เรียน และการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนของ
สถานศึกษา รวมทงั้ เปน็ ขอ้ มลู ในการส่งเสริมสถานศึกษาในด้านวชิ าการและดา้ นอืน่ ๆ ให้มคี ณุ ภาพใกล้เคียงกนั
สถานศกึ ษาต้องเตรียมผ้เู รยี นใหเ้ ขา้ รบั การประเมนิ ดว้ ยความเข้าใจและตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการประเมิน
คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ เพอื่ ให้ความรว่ มมอื ในการประเมนิ เตม็ ความสามารถ โดยปฏิบัตติ าม
เกณฑ์และเง่ือนไขการประเมนิ อย่างเครง่ ครัด

2. ประโยชนข์ องการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ
1) สามารถเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพระหวา่ งกล่มุ ผู้เรยี น ระดับ

สถานศกึ ษา จังหวัด และระดับภาค ตลอดจนการประเมินภายนอกไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล
2) สามารถใช้ผลการประเมินใหเ้ ป็นประโยชนท์ ้ังในระดบั ผ้เู รียน ระดบั กลมุ่ ระดับ

สถานศกึ ษา ระดบั จังหวดั และระดับภาค
3) สง่ เสรมิ และกระตุ้นสถานศกึ ษาใหเ้ กิดความสนใจอยา่ งจริงจงั ในการ พฒั นา

ผลสมั ฤทธิ์ทีส่ าคัญของหลักสตู ร
4) สรา้ งแรงจงู ใจกระต้นุ และท้าทายใหผ้ ้เู รียนทุกคนตั้งใจใฝส่ มั ฤทธิ์ ทางการเรียน

และด้านอ่นื ๆ
5) เป็นข้อมูลสรา้ งความมนั่ ใจเกี่ยวกับคณุ ภาพของผ้เู รยี น แก่ผูเ้ กีย่ วข้อง ทง้ั ภายใน

และภายนอกสถานศึกษา
6) เปน็ ขอ้ มลู ในการปรบั ปรงุ พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอนของ

สถานศึกษาใหม้ ีประสิทธิภาพมากย่ิงขึน้

เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร

ผเู้ รยี นทัง้ ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศึกษา ตอนปลาย มเี กณฑ์
การจบหลกั สูตรในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา ดังน้ี

1. ผ่านเกณฑ์การประเมินการเรยี นรูร้ ายวิชาในแต่ละระดบั การศึกษา ตามโครงสร้าง
หลกั สตู ร คือ

1.1 ระดบั ประถมศกึ ษา ไม่น้อยกวา่ 48 หนว่ ยกติ แบ่งเป็นวิชาบงั คบั 36 หนว่ ยกติ
และวชิ าเลือกไม่น้อยกว่า12 หน่วยกติ

1.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ไมน่ อ้ ยกว่า 56 หน่วยกติ แบง่ เป็นวิชา บังคับ 40
หนว่ ยกติ วิชาเลอื กไมน่ ้อยกว่า 16 หน่วยกิต

1.3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ไม่นอ้ ยกวา่ 76 หน่วยกิต แบ่งเป็น วชิ าบังคบั
44 หนว่ ยกิต วชิ าเลือกไม่นอ้ ยกวา่ 32 หน่วยกิต

2. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) ไม่น้อยกวา่ 200 ชว่ั โมง
3. ผา่ นการประเมินคุณธรรม ในระดบั พอใช้ข้นึ ไป

10

4. เข้ารบั การประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ
5. มผี ลกาสรเรยี นเฉลีย่ สะสมไม่น้อยกวา่ 2.00

บทบาทของสถานศึกษาและผู้เก่ียวข้อง

บทบาทของสถานศึกษา
1. สรา้ งความเข้าใจกบั ครูและผู้เก่ยี วข้อง ถึงความสาคัญของการประเมนิ คุณธรรมผู้เรยี น
2. สร้างความเข้าใจในความหมายของคณุ ธรรมแต่ละเรอ่ื ง ขอ้ ดขี องการปฏิบัตติ าม คุณธรรม
ทาความเข้าใจในพฤตกิ รรมบง่ ชี้ ในแต่ละคุณธรรม พจิ ารณาตรวจสอบความเหมาะสม ความเพียงพอของ
พฤติกรรมบ่งชใ้ี นคุณธรรมแต่ละเรือ่ ง
3. ดาเนนิ การให้เกิดการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ใหเ้ ตม็ ศักยภาพของผู้เรียน
4. จดั กจิ กรรมต่างๆ ที่หลากหลายท้งั ภายในสถานศึกษาและชมุ ชนหรือสังคม
5. บรู ณาการการพฒั นาคุณธรรม ในการจดั กระบวนการเรียนรู้
6. กระตนุ้ ให้ผ้เู รียนไดเ้ ข้าร่วมกิจกรรมหรือสร้างสรรคก์ จิ กรรมอย่างหลากหลาย
7. เชอื่ มโยงกิจกรรมตา่ ง ๆ ขยายใหก้ วา้ งขวางส่ชู มุ ชนและสงั คมโดยประสานความ รว่ มมือ
กบั ชมุ ชนและสังคมในการทากจิ กรรม คณุ ธรรม และให้ขอ้ มูลผ้ทู ี่มกี ารปฏิบตั ติ ามคณุ ธรรม เปน็ แบบอยา่ งท่ีดี
รวมท้งั รว่ มสง่ เสรมิ ใหม้ ีการปฏิบัติอย่างยงั่ ยืน
8. จดั ทาแนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รยี นในสถานศึกษาและให้ผูเ้ ก่ียวข้อง ปฏิบตั ิ
เปน็ แนวเดียวกนั
บทบาทของครู
1. สรา้ งความเขา้ ใจ ให้ผูเ้ รียนเห็นความสาคัญของคณุ ธรรม คุณธรรมเบ้อื งต้น 9 ประการ
และพฤตกิ รรมบ่งช้ที ่ผี เู้ รียนจะตอ้ งปฏิบัติ
2. ช้ีแจงวิธีการและเกณฑก์ ารประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ให้ผเู้ รยี นทราบ
3. แนะนาผเู้ รยี นในการรวบรวมเอกสารหลักฐาน ทผ่ี เู้ รยี นสามารถนามาเปน็ หลักฐานเพื่อ
ประกอบการประเมนิ
4. บนั ทึกผลการประเมิน รวบรวมรอ่ งรอย หลกั ฐาน ทสี่ ะท้อนการปฏบิ ัติคุณธรรม แตล่ เะร่อื ง
ของผเู้ รยี น
5. สรุปผลการประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมทกุ ภาคเรยี น และแจง้ ผลการประเมนิ ให้ ผเู้ รยี นทราบ
เพอ่ื นาไปพฒั นาตนเอง
6. ครูและผู้เรียนรว่ มวิเคราะหผ์ ลการประเมิน และกาหนดรูปแบบ/กจิ กรรมในการ พัฒนา
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมโดยสอดแทรกในกระบวนการเรียนรู้
ภารกิจของสถานศึกษาในการวดั และประเมินผลการเรียน
สถานศึกษามีภารกิจในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น ดงั น้ี
1. การวัดและประเมินผลผเู้ รยี น สถานศึกษาตอ้ งดาเนินการวดั และประเมินผล ผูเ้ รยี น ดงั นี้

1.1 การวัดและประเมนิ ผลเป็นรายวชิ า ประกอบดว้ ย
1) การวัดและประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น
2) การวดั และประเมินผลระหว่างภาคเรียน
3) การวดั และประเมนิ ผลปลายภาคเรียน

1.2 การประเมินกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต (กพช.)

11

1.3 การประเมินคุณธรรมเบอ้ื งต้น
1.4 การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ
2. การจดั ทาระเบยี บและแนวปฏิบตั ใิ นการวัดและประเมนิ ผลการเรียน
สถานศกึ ษาต้องจัดทาระเบยี บการวดั และประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษา สาหรบั ให้
ผเู้ กี่ยวขอ้ งรับรู้และถือปฏบิ ัติเปน็ แนวเดียวกัน เพื่อใหก้ ารประเมนิ ผลการเรียนของสถานศกึ ษามี ความถูกตอ้ ง
ยุตธิ รรม และมผี ลการดาเนินงานทนี่ า่ เช่อื ถอื เปน็ ทีย่ อมรับของสงั คม
3. การรายงานการประเมนิ ผลการเรียน
สถานศึกษาจะตอ้ งจัดทารายงานการประเมนิ ผลการเรยี นของผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล รายกลุม่
เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนทราบความกา้ วหน้าในการเรยี นรูข้ องตนเอง ครูใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการบริหารจัด การศกึ ษาของ
สถานศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ลตามจุดหมายของ หลกั สตู ร
4. การจดั สอบซ่อม
สถานศกึ ษาต้องจดั ใหม้ ีการพัฒนาผูเ้ รียนทไ่ี ม่ผ่านการประเมนิ รายวิชา โดยวิธกี าร
ทีเ่ หมาะสม เช่น การสอนเสรมิ มอบหมายใหท้ ารายงานเพ่มิ เติม การเข้ารว่ มกจิ กรรม หรืออ่นื ๆ แลว้ จดั ให้
ผเู้ รียนเข้ารบั การสอบซ่อมตามท่สี ถานศึกษากาหนด
5. การเทียบโอนผลการเรยี น
สถานศกึ ษาจะตอ้ งจดั ทาระเบียบหรือแนวปฏิบตั ิในการเทยี บโอนผลการเรียน ใหเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ
ของผลการเรยี นตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตามที่
สานกั งาน กศน. กาหนด
6. การอนมุ ตั กิ ารจบหลกั สูตร
สถานศกึ ษาตรวจสอบคุณสมบตั ขิ องผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การจบหลกั สูตร การศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และอนุมัติการจบหลักสตู ร
7. การจดั ทาเอกสารหลักฐานการศึกษา
สถานศกึ ษาจะตอ้ งจดั ทาเอกสารแสดงข้อมูลและสถานภาพทางการศกึ ษาของผู้เรยี น เพื่อใช้
สาหรับตรวจสอบ สอื่ สาร ส่งตอ่ และรับรองผลการเรียนของผู้เรยี น หลักฐานการศกึ ษา ท่ีสถานศึกษาจะจตัดอ้ ทงา
แบ่งเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื
1. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาควบคุมและบงั คับแบบ ประกอบดว้ ย

1) ระเบยี นแสดงผลการเรียน (กศน.1)
2) ประกาศนยี บัตร (กศน.2)
3) แบบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา (กศน.3)
4) แบบบนั ทกึ ผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น (กศน.4)
2. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาที่สถานศึกษาดาเนนิ การเอง เช่น แบบอนุมตั ผิ ล การจบ
หลักสูตร แบบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลG่ยี PA ของนกั ศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอน ปลายและอๆน่ื
8. การกากับ ตดิ ตาม และประเมินผลการเรียน
สถานศึกษาจะต้องมกี ารวางแผน กากบั ติดตามและตรวจสอบการดาเนินการ ประเมนิ ผล
การเรียน เพอ่ื ให้การดาเนนิ การเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและสามารถปรบั ปรุงแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ งท่ีเกิดขึ้นได้
ทันเหตกุ ารณ์ โดยใหม้ ผี รู้ ับผดิ ชอบดาเนินการกากบั ตดิ ตามในเรือ่ งตา่ ง ๆ เช่น

12

1. มกี ารประเมนิ ผลการเรียนให้สอดคลอ้ งกบั ผลการเรยี นรูท้ ีค่ าดหวงั ในแตล่ ะรายวชิ า
2. มีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ และบันทึกผลหลงั การเรยี นทจี่ บเนอ้ื หาในแต่ละเรือ่ ง ทุกครัง้
แล้วนาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงพัฒนาผู้เรียนให้เป็นปัจจบุ นั
3. มีการตรวจผลงานผู้เรียนพรอ้ มใหข้ ้อเสนอแนะ เพอ่ื การปรบั ปรุงผลงานผเู้ รียน
บทบาทหน้าทข่ี องผเู้ กี่ยวขอ้ งในการวัดและประเมินผลการเรียน
การวดั และประเมินผลการเรยี นของผู้เรยี น สถานศกึ ษาจะตอ้ งเปิดโอกาสใหบ้ คุ คลท่ี
เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ท้งั ผเู้ รยี น ชุมชนเข้ามามสี ว่ นร่วมกับผสู้ อนและบคุ ลากรฝ่ายต่าง ๆ ของ
สถานศึกษา เพอ่ื ให้การดาเนนิ การวัดและประเมินผลการเรยี นของสถานศกึ ษา เป็นไปตามระเบยี บหรือ
แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลของสถานศึกษา จงึ ควรกาหนดภารกิจการวัดและ ประเมินผลการเรียนให้
บุคลากรฝ่ายตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษารับผดิ ชอบ

บทที่ 2
การจดั การเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์

การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสCovid-19 ในปจั จุบัน ส่งผลให้ทกุ คนตอ้ งปรบั ตวั ในการใชช้ วี ติ ประจาวนั

สู่ชีวิตปกติวถิ ใี หม่ (New Normal) การจัดการศกึ ษาของ กศน.อาเภอเมืองพิจิตร ก็ตอ้ งปรับเปล่ียนรูปแบบการ
จดั การเรยี นการสอน จากเดมิ เป็นผ่านระบบ ออนไลน์ เพื่อให้สามารถตอบโจทยก์ ารใช้ชวี ติ ของคนในยุคท่ี
จาเป็นต้องมีระยะห่างทางสังคม หรือSocial Distancing และเพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถ “เรียนรู้ไดต้ ลอดชีวิต ทกุ ที่
และทุกเวลา” (Lifelong Learning Anywhere and Anytime) โดยใช้ Google Classroom และ
ClassStart ซ่งึ มีวิธีการดงั นี้

1.Google Classroom

Google Classroom เปิดใหบ้ ริการสาหรบั ทกุ คนที่ใช้ Google Apps for Education ปัจจุบัน
เปลยี่ นชือ่ เป็น Google G Suite for Education ซึ่งเปน็ ชุดเครอื่ งมือเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการ ทางานทใี่ ห้บรกิ ารฟรี
ประกอบดว้ ย Gmail เอกสารและไดรฟ์

ไดร้ ับการออกแบบมาเพือ่ ช่วยใหผ้ ้สู อนสามารถสรา้ งและเกบ็ งานไดโ้ ดยไม่ต้องสนิ้ เปลือง กระดาษ
ประหยดั เวลา เช่น สามารถทาสาเนาของ Google เอกสารสาหรับผ้เู รียนแต่ละคนได้ โดยอัตโนมัติ ซึง่ ระบบจะ
สรา้ งโฟลเดอร์ของไดรฟ์สาหรับแต่ละงาน และผูเ้ รียนแตล่ ะคนเพ่ือช่วยจัดระเบยี บให้ทกุ คนผู้เรยี น สามารถ
ตดิ ตามว่ามงี านใดครบกาหนดส่งบา้ งในหน้างาน และเริ่มทางานไดด้ ้วยการคลิกเพยี งคร้งั เดยี ว ผสู้ อนสามารถไดดู ้
อยา่ งรวดเรว็ ว่าผเู้ รยี นคนใดทางานเสรจ็ หรือไม่เสร็จ บา้ ง ตลอดจนสามารถ แสดงความคดิ เห็นและให้คะแนน
โดยตรงได้แบบเรยี ลไทมใ์ น Classroom

2. ประโยชนข์ องการใชง้ าน Google Classroom

1. ตง้ั ค่าไดง้ า่ ยดาย ครสู ามารถเพมิ่ ผู้เรียนไดโ้ ดยตรง หรือแชร์รหสั เพอ่ื ให้ผู้เรียนเข้า ช้นั เรียไนด้
การตั้งคา่ ใช้เวลาเพยี งนิดเดียว

2. ประหยดั เวลา กระบวนการของงานเรยี บง่าย ไมส่ ิ้นเปลอื งกระดาษ ทาใหค้รูสร้าง ตรวจและ
ให้คะแนนงานได้อย่างรวดเร็วในทีเ่ ดยี วกัน

3. ชว่ ยจัดระเบียบ ผเู้ รยี นสามารถดงู านทั้งหมดของตนเองไดใ้ นหนา้ งาน และเนอื้ หาสาหรบั
ชนั้ เรยี นทัง้ หมดจะถกู จดั เกบ็ ในโฟลเดอร์ภายใน Google drive โดยอัตโนมตั ิ

4. ส่ือสารกนั ได้ดียงิ่ ข้นึ Google Classroom ทาให้ครูสามารถสง่ ประกาศและเรมิ่ การ
พูดคยุ ใน ช้นั เรยี นได้ทันที ครสู ามารถแชรแ์ หล่งข้อมูลกนั หรือตอบคาถามในสตรมี ได้

5. ประหยดั และปลอดภยั เชน่ เดยี วกบั บรกิ ารอนื่ ๆ ของ Google Apps for Education คือ
Google Classroom จะไมแ่ สดงโฆษณา ไม่ใช้เนื้อหาหรือข้อมูลของผู้เรยี นในการโฆษณา และให้บรกิ ารฟรี
สาหรับโรงเรียน หรอื สถานศกึ ษา

14

3. ทาความเข้าใจเกีย่ วกบั งาน Google Classroom

Classroom ผสานรวม Google เอกสาร drive และ Gmail ไวด้ ้วยกนั เพ่ือให้ครู สามารถ สร้างและ
รวบรวมงานโดยไม่ตอ้ งสน้ิ เปลืองกระดาษ ภายใน Classroom ครูสามารถ สร้างงาน ใชง้ านน้ันใน ชั้นเรยี น
ต่างๆ และเลอื กว่าจะให้ผเู้ รยี นทางานอยา่ งไร (เช่น ผ้เู รียนแตล่ ะคน จะไดร้ บั สาเนาของตนเอง หรอื ผู้เรียนทุกคน
จะทางานในสาเนาเดยี วกนั ) ครูสามารถตดิ ตามวา่ ผเู้ รยี นคนใดทางานเสร็จแลว้ บา้ ง และใครยังทางานไม่เสรจ็
ตลอดจนแสดงความคิดเหน็ กบั ผเู้ รียนแต่ละคนได้ ตัวอยา่ งการรับสง่ งานระหว่างครกู บั ผเู้ รยี น

4. ความโดดเด่นของ Google Classroom

1. ครูเลือกตวั เลอื กเพ่อื สร้างสาเนาของ Google เอกสารสาหรบั ผูเ้ รยี นแตล่ ะคน และ สง่ งาน ให้กับ
ชนั้ เรียน

2. หลังจากส่งงานแลว้ ผู้เรียนจะไม่มีสทิ ธแ์ิ กไ้ ขเอกสาร แตย่ ังคงดเู อกสารได้
3. ครแู กไ้ ขเอกสารเพอื่ ให้คะแนนงาน แล้วจงึ สง่ งานคนื ให้ผูเ้ รียน จากน้นั ผูเ้ รยี นจะมสี ทิ ธ์ิ ในการแกไ้ ข
งานอกี คร้งั
ทงั้ ครูและผู้เรยี นสามารถดรู ายการงานของชัน้ เรียนทีก่ าลังทาอยแู่ ละทาเสร็จแล้ว โดย ครูสามารถดู
คะแนนทงั้ หมดของงาน สว่ นผู้เรียนสามารถดูคะแนนของตนเองสาหรบั งานทที่ าเสรจ็ แลว้
การสร้างชั้นเรยี น สาหรับการใชง้ านGoogle Classroom ในบทบาทของครนู ้ันสามารถดาเนนิ การไดค้ อื
1. สร้างช้ันเรียนออนไลนส์ าหรับรายวชิ านน้ั ๆ ได้
2. เพมิ่ รายชอื่ ผู้เรยี นจากบัญชขี อง Google เขา้ มาอยู่ในชั้นเรยี น
3. สามารถกาหนดรหัสผ่านใหผ้ ู้เรียนนาไปใชเ้ พื่อเข้าชัน้ เรียนเองได้
4. สามารถตง้ั โจทย์ มอบหมายการบ้านให้ผู้เรียนทาโดยสามารถแนบไฟล์และกาหนดวนั ส่ง
5. ผเู้ รยี นเข้ามาทาการบ้านใน Google Docs และส่งเขา้ Google Drive ของครู โดยจัดเก็บไฟล์งาน
อย่างเป็นระบบ ภายใต้ Folder “Classroom”
6. สามารถเข้ามาดูจานวนผู้เรียนท่สี ่งการบ้านภายในกาหนดและยังไม่ได้สง่ ได้
7. ตรวจการบ้านของผเู้ รียนแต่ละคน พร้อมทง้ั ใหค้ ะแนนและคาแนะนา
8. สามารถคัดลอกคะแนนจากช้นั เรียนไปใชง้ านไดอ้ ยา่ งสะดวก
9. สามารถเชิญผสู้ อนท่านอ่นื เขา้ ร่วมในชัน้ เรียนเพ่ือร่วมจัดการเรยี นการสอน
10. ปรับแตง่ รปู แบบของชน้ั เรียนตามธมี หรือ จากภาพส่วนตัวได้
11. สามารถใชง้ านบนโทรศัพทม์ อื ถือ ท้ังระบบปฏิบตั ิการ Android และ IOS สาหรับ Google
Classroom ครูไมจ่ าเปน็ ต้องรวู้ ธิ ีการเขียนโค้ด หรอื สรา้ งเวบ็ ไซต์ และไม่ต้อง สับสนกบั ข้นั ตอนมากมายทต่ี ้อง
ใช้ในการสร้างชน้ั เรียน สาหรบั Google Classroom เปน็ เรือ่ งง่าย ในการสร้างชั้นเรยี นเพียงแคค่ ลกิ ที่ปุม่ และ
การเพิ่มข้อความบางสว่ นเทา่ นัน้

15
ขนั้ ตอนการสรา้ งชัน้ เรียน

1. เข้าสู่ระบบของ Google Classroom ท่ี http://classroom.google.com/ โดยใช้ชอื่ บัญชีตามทค่ี รู
กศน.ตาบลแต่ละแห่งกาหนดไว้

2.จะปรากฏหนา้ ตา่ งการให้บริการอเี มล์ จากน้ันคลกิ เลือก แอบ google และคลกิ เลือก Classroom

3. สาหรับการใชง้ าน Google Classroom ในครงั้ แรก เม่ือเข้าสู่ระบบแล้ว จาเป็นตอ้ งเลือกบทบาท
ในการใช้งาน Google Classroom “ฉนั เป็นครู”

16

4. คลิกเครือ่ งหมาย + ที่บรเิ วณด้านมมุ ขวา เลือก “สรา้ งชนั้ เรยี น”

5.กรอก ข้อมูล ในการสร้างชั้นเรียน ชื่อชน้ั เรยี น รายละเอยี ดส้ัน ๆ เชน่ ช่อื กลุ่ม กรอกช่ือวชิ า หรือ
ชอ่ื เร่อื ง แลว้ กดปุม่ สรา้ ง

6.จะปรากฏชนั้ เรียนออนไลนข์ น้ึ ดงั ตัวอยา่ ง 17
หมายเลข 1 : เมนกู ารใชง้ านของผสู้ อนและผเู้ รียน
(กรณีมมุ มองของผู้เรยี นจะมองไม่เห็นแท็บ คะแนน) 5
หมายเลข 2 : ระดบั ช้ัน 6
หมายเลข 3 : ชอ่ื หอ้ งเรยี น
หมายเลข 4 : รหสั ของช้ันเรยี น
หมายเลข 5 : การจดั การลักษณะหนา้ ตา หรอื หัวของชน้ั เรยี น
หมายเลข 6 : สว่ นของการประกาศและมอบหมายงาน
หมายะลข 7 : การแจง้ เตอื นงานใกลห้ มดเวลาสง่
1

2
3
4

7

การโพสต์งาน
ครูสามารถโพสตง์ านในแทบ็ “งานของช้นั เรยี น” แนบเอกสารประกอบ มอบหมายงาน ใหก้ ับผู้เรยี น

ผา่ นชัน้ เรยี น ตลอดจนให้คะแนนและสง่ คนื ใหก้ ับผูเ้ รียน หลังจากที่ ครูสร้างงานแลว้ ผเู้ รยี นทกุ คนในช้ันเรียน
จะไดร้ ับการแจ้งเตอื นทางอีเมล (ถ้าผเู้ รยี นไม่ได้ปิดการแจง้ เตอื นไว้) และจะเหน็ งานในงานของช้นั เรยี น งานท่ี
โพสต์ขน้ึ ท่ีนี่ครตู อ้ งเปน็ ผูต้ รวจให้คะแนน

ขนั้ ตอนการโพสต์งาน
1. ลงช่ือเขา้ ใช้ Classroom ท่ี classroom.google.com
2. เลือกชัน้ เรียน
3. เลือกแท็บ “งานของชน้ั เรยี น”

18

4.คลกิ เคร่ืองหมาย “ + สร้าง” แล้ว คลกิ “งาน”

5. ปอ้ นชือ่ ของงาน ในการเริ่มตน้ ให้เพิม่ ช่ือสั้น ๆ พรอ้ มกบั คาอธบิ ายทจ่ี ะระบุหรือไมก่ ็ได้
6. ป้อนคาอธบิ ายของงานหรอื คาแนะนาเพิ่มเติมหากจาเป็น
7. เราสามารถแนบไฟล์ รายการของGoogle ไดรฟ์ วิดีโอYouTube หรือลงิ ก์ ให้คลกิ ไอคอนทีต่ ้องการ
ค้นหาและเลอื กรายการที่เก่ยี วขอ้ ง และคลิก “เพมิ่ ”

19
8. คลกิ เพ่มิ วนั ทเ่ี พื่อกาหนดวนั ส่งงานจากปฏทิ นิ หากไม่กาหนดงานจะครบกาหนดส่งในวันถดั ไป
เวลา 23.59 น. (ไม่บังคับ)

ตัวอย่างการโพสตใ์ บงาน

การโพสต์งานแบบทดสอบ
งานแบบทดสอบ คือ แบบทดสอบท่ีสร้างขน้ึ จาก Google Forms อาจเปน็ แบบทดสอบ ที่ครสู รา้ งไว้

ก่อนหน้า หรือ สามารถสรา้ งจากหนา้ โพสต์แบบทดสอบก็ได้ มีวธิ ีการโพสต์ ดังนี้
ขัน้ ตอนการโพสต์งานแบบทดสอบ
1. ลงช่ือเข้าใช้ Classroom ที่ classroom.google.com
2. เลือกชน้ั เรียน

20

3. เลอื กแท็บ “งานของช้นั เรียน”
4. คลิก “4 สร้าง”
5. คลิก “งานแบบทดสอบ”

6. พมิ พ์ชื่อเร่ืองทจี่ ะโพสต์ เชน่ แบบทดสอบหลังเรยี น
7. พิมพ์คาอธบิ ายเพิ่มเตมิ (พมิ พห์ รือไมพ่ ิมพ์ก็ได)้ เชน่ แบบทดสอบนี้มี 2 ตอน แบง่ เปน็ ตอนที่ 1
แบบปรนยั จานวน 5 ข้อ ตอนท่ี 2 แบบอัตนัย จานวน 2 ข้อ
8. พมิ พค์ ่าคะแนนเตม็
9. ต้ังคา่ กาหนดวนั สง่ วันสดุ ทา้ ย
10. เลือกหัวขอ้ ทต่ี ้องการใหโ้ พสต์ปรากฏ (เทมเพลต)
11. เลอื กแบบทดสอบในกรณที ี่สร้างแบบทดสอบไวแ้ ล้ว

21
การสร้างแบบทดสอบใน Google ฟอรม์

ครสู ามารถสรา้ งแบบทดสอบ สาหรับวดั ผลการเรียนร้ตู ามตัวชว้ี ัดท่กี าหนดในแผนจดั กระบวนการ
เรยี นรู้ในแต่ละครง้ั ได้ ดงั น้ี

1.เขา้ ไดรฟ์ ของฉนั แล้วคลกิ ขวาเลอื ก Google ฟอรม์ เลือก แบบฟอร์มเปลา่

2.พมิ พช์ ่อื แบบทดสอบ และคาอธิบายแบบทดสอบ
หมายเลข 1 : คลิกเพม่ิ ขอ้ สอบ
หมายเลข 2 : ปอ้ นคาถามขอ้ ท่ี 1
หมายเลข 3 : ปอ้ นตวั เลอื กตวั ที่ 1
หมายเลข 4 : คลกิ เพิ่มตวั เลอื ก และป้อนตวั เลือกทีเ่ หลอื

1
2
3
4

3. คลิกทร่ี ูปฟันเพอื ง ด้านบนขวา เพ่อื ต้งั คา่ แบบทดสอบ

22

4.เลอื ก แบบทดสอบ และกาหนดคา่ ดงั ตัวอยา่ ง จากน้ันกด บันทึก

5.กลบั มาท่ีหน้าแบบทดสอบ คลิก เฉลยคาตอบ ด้านล่างซ้าย

6.จะปรากฏส่วนการจัดการแบบทดสอบดงั ตวั อย่าง
หมายเลข 1 : เลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้อง
หมายเลข 2 : เลอื กกาหนดคะแนนที่จะให้ในแตล่ ะข้อ
หมายเลข 3 : คลกิ เสรจ็ สิน้

12

3

23

7.เพ่มิ คาถาม และกาหนดรายละเอยี ดแบบทดสอบเสรจ็ สนิ้ ทกุ อย่างจนครบตามจานวนข้อทต่ี อ้ งการ
จากน้นั กลบั ไปท่ี Google Classroom เลอื กสรา้ งงานแบบทดสอบ

หมายเลข 1 : ป้อนชื่องานแบบทดสอบ
หมายเลข 2 : ปอ้ นคาแนะนาของแบบทดสอบ
หมายเลข 3 : กาหนดคะแนนของงานแบบทดสอบ
หมายเลข 4 : คลิกเลือกวันทีค่ รบกาหนด
หมายเลข 5 : คลิกเลอื กหวั ขอ้ หรือสรา้ งหัวข้อ ของงานแบบทดสอบ
หมายเลข 6 : คลกิ เลอื กเกณฑ์การใหค้ ะแนน
หมายเลข 7 : คลิกเพม่ิ ข้อสอบจาก Google ฟอรม์ ทเ่ี ซฟไวแ้ ล้ว

1
23

4
5
76

การโพสต์คาถาม
การโพสตค์ าถามสาหรบั งานของชน้ั เรยี น จะโพสตไ์ ดท้ ้ังแบบให้ผู้เรยี นพมิ พค์ าตอบ และเลอื กคาตอบ

เปน็ การสรา้ งคาถามคลา้ ยกบั Google Forms แต่จะโพสต์ไดท้ ลี ะ 1 คาถามเท่านน้ั และครจู ะต้องเปน็ ผตู้ รวจ
ใหค้ ะแนน วิธโี พสต์ทาได้ ดงั นี้

1. ลงช่ือเข้าใช้ Classroom ที่ classroom.google.com
2. เลอื กช้นั เรียน
3. เลือกแทบ็ “งานของชั้นเรียน”
4. คลิก “ สร้าง”
5. เลือก “คาถาม”

24

6. พิมพ์คาถามในชอ่ ง “คาถาม”
7. พมิ พค์ าอธบิ ายเพิ่มเติม (พิมพ์หรอื ไม่พมิ พก์ ็ได)้
8. กรอกคะแนนเตม็ ช่อง “คะแนน”
9. กาหนดวันเวลาสง่ ชอ่ ง “ครบกาหนด”
10. เลอื กหวั ข้อท่ตี อ้ งการใหค้ าถามปรากฏ ช่อง “หวั ข้อ”
11. เลือกชนดิ ของคาตอบ คาตอบส้ัน ๆ และ ปรนยั )
12. กาหนดให้ผเู้ รียนสามารถตอบกลบั ระหว่างกนั ได้
13. กาหนดให้ผู้เรยี นสามารถแก้ไขคาตอบได้
14.เมอ่ื ครตู รวจใหค้ ะแนนเรยี บร้อยแลว้ คะแนนจะถูกนาเข้าในแทบ็ “คะแนน”โดยแยกตาม
กิจกรรม แบบทดสอบ หรือใบงาน ในแต่ละช้ิน

ขัน้ ตอนตรวจหรือดูงานผเู้ รียน
ครูสามารถดูผลงานของ ผู้เรียนทมี่ อบหมายไป รวมถึงคะแนน และความคิดเห็นกอ่ นหนา้ น้ี ไดแ้ ละครู

ยงั สามารถดูวา่ จะตอ้ งตรวจงานใดบา้ ง และมงี านใดบา้ งที่ตรวจเสรจ็ แล้ว ซง่ึ สามารถจัดระเบยี บงานแยก
หรือดงู านท่ีไดม้ อบหมายในชน้ั เรียนทง้ั หมด โดยมีขัน้ ตอนดังน้ี

1. เลือกชั้นเรียนทตี่ ้องการตรวจหรอื ดงู านผ้เู รยี น และเลอื ก รอการตรวจ
2. คลิก ตรงบริเวณมุมซา้ ยของหน้าจอ ดา้ นบน

3.คลกิ เลอื ก ชอ่ื งาน ทตี่ ้องการตรวจให้คะแนน

25

4.จากน้ันจะปรากฏหน้างานของผู้เรียน ซง่ึ มรี ายละเอียดดงั นี้
หมายเลข 1 : สง่ แลว้ คอื สถานะแสดงบอกวา่ ผเู้ รยี นสง่ งานเสรจ็ แล้วก่คี น
หมายเลข 2 : มอบหมายแลว้ คือ สถานะแสดงบอกวา่ ผู้เรยี นส่งงานยังไมเ่ สร็จกีค่ น

12

หมายเลข 3 : สามารถใสค่ ะแนนที่ผู้เรียนจะไดห้ ลังจากตรวจงานแลว้
หมายเลข 4 : ปุ่มส่งคืน คอื การแจ้งคะแนนและข้อเสนอแนะใหก้ บั ผเู้ รียน หลงั จากให้คะแนน
เรยี บร้อยแลว้ เพ่ือยนื ยนั ส่งคะแนน และขอ้ เสนอแนะให้ผู้เรยี นได้รบั รู้

5.คลกิ เลอื ก ช่อื ผเู้ รียนทีต่ ้องการใหค้ ะแนนและขอ้ เสนอแนะ ของงาน อาจเพิม่ ความคิดเหน็ สว่ นตัว...
(ถ้ามี) และคลกิ ปมุ่ โพสต์

6.เมื่อส่งคนื คะแนนไปใหน้ ักศึกษาแล้ว ระบบจะเปลีย่ นสถานการณส์ ง่ งานเป็น “ให้คะแนนแลว้ ”

26
7.เราสามารถส่งออกคะแนนไปท่ี Google ชีต ไดโ้ ดย คลกิ เลอื ก ทางด้านขวามือ และคลิกเลือก
คดั ลอกคะแนนท้ังหมดไปท่ี Google ชีต

8.จากนน้ั ระบบจะเปิดหน้าต่างGoogle Sheet พรอ้ มท้ังดึงคะแนนของงานทั้งหมดออกมาจดั เก็บไวใน้
Google Drive (แตถ่ า้ ตอ้ งการดาวนโ์ หลดไฟล์ดังกลา่ วออกมาในรปู แบบ MS-Excel เพือ่ จดั เกบ็ ไวใ้ นเครอื่ ง
คอมพวิ เตอร์ ให้คลกิ เลอื กเมนู ไฟล์ และเลอื ก ดาวน์โหลดเปน็ จากน้นั คลิกเลอื ก Microsoft Excel (.xlsx))

ข้ันตอนการเข้าชัน้ เรยี นของนักเรยี นดว้ ยรหัสห้องเรียน
1. เขา้ สรู่ ะบบของ Google Classroom ทเ่ี ว็บไซต์ https://classroom.google.com/
2. คลิกเครอ่ื งหมาย + เพื่อเข้าร่วมชนั้ เรียน
3. กรอก รหสั ช้ันเรยี น หมายเลข 1 ทีต่ ้องการเขา้ ร่วม และคลิก เขา้ ร่วม เพือ่ เขา้ ร่วมช้ันเรยี น

27

2.ClassStart

เปน็ ระบบจดั การห้องเรียนออนไลน์ ทจ่ี ัดการเรียนการสอนไดง้ า่ ย โดยคลกิ สร้างวิชา ชวนผู้เรยี นเข้าวชิ า
แล้วก็เรมิ่ จัดการการเรียนรู้ระหวา่ งครกู ับผู้เรียนไดท้ ันที บริการฟรี ไมจ่ ากัดปริมาณการใชง้ าน
ความสามารถของระบบ

สรา้ งวชิ าได้ไมจ่ ากดั แตล่ ะวิชามีผเู้ รยี นและผชู้ ่วยสอนได้เท่าทต่ี อ้ งการ สง่ ขา่ วประกาศถึงผเู้ รียนทุกคน
อัปโหลดเอกสารการสอน ให้แบบฝกึ หัดท้งั รายบุคคลและรายกลมุ่ ตรวจและใหค้ ะแนนแบบฝึกหัดออนไลน์
ออกขอ้ สอบและจดั สอบออนไลน์ บนั ทกึ และประกาศคะแนนเกบ็ สอื่ สารระหว่าง ครูและผูเ้ รยี นผา่ นระบบ
สนทนาสดหรือระบบเวบ็ บอร์ด ตรวจการเขา้ เรียนผ่านระบบใบลงเวลาเรยี นออนไลน์
การสร้างหอ้ งเรยี น

ครู สามารถสร้างห้องเรยี นออนไลน์ classstart ได้ดว้ ยวิธกี ารดังนี้
1.เขา้ ใชง้ าน ท่ี https://www.classstart.org/ คลิก เรม่ิ ต้นใชง้ าน (เขา้ ระบบ, สมคั รสมาชกิ )

2.สามารถเลอื กเข้าระบบได้ 4 ช่องทาง คอื เข้าระบบได้เลยโดยไม่ต้องสมัครสมาชกิ เข้าระบบด้วย
Google เขา้ ระบบดว้ ย Facebook c]tเขา้ ระบบด้วย Microsoft ดงั ภาพตวั อยา่ ง

28
3.เมอื่ เขา้ ระบบแล้วจะพบหน้าจอดังภาพตัวอย่าง ซ่งึ ครูสามารถบนั ทึกขอ้ มลู เชน่ ชื่อ - สกลุ
สถานศกึ ษา E-mail และเปล่ียนรูปประจาตวั ได้ในตัวเลือก ข้อมลู ของฉัน

การสร้างวิชา
1. ในหน้าแรกทาการเลอื กเมนู “วิชาทฉ่ี นั สอน”

29
2.กดปุ่ม กรอกขอ้ มลู ของวิชาท่สี อนลงไป หลงั จากน้นั กดปมุ่ “สรา้ ง” ก็จะปรากฎรายวิชาท่ี
สร้างดา้ นซา้ ยมอื

3.คลกิ เลอื กรายวิชา จะพบข้อมูลรายละเอียดการสื่อสาร และเอกสารการสอนดังภาพตวั อยา่ ง ซ่งึ ครู
สามารถเขา้ ไปแก้ไขรายละเอยี ดวชิ า โดย คลิก “ข้อมูลวชิ า” แล้วแก่ไขรายละเอียดต่าง ๆ

30

4.จากน้นั คลกิ ป่มุ แก้ไขขอ้ มลู ข้อมูลกจ็ ะถกู บนั ทกึ ไวใ้ นระบบ

การเพม่ิ เอกสารการสอน
1.ไปยังหนา้ วชิ าท่ตี ้องการจะเพิ่มเอกสารการสอน จากนั้นเลือกเมนู “เอกสารการสอน”

2.กดปมุ่ เพอ่ื เพ่มิ เอกสารการสอน พิมพ์ “หัวขอ้ เอกสาร” และ “เนอ้ื หา” จากนนั้ กดปุ่ม
“สร้าง”

31

การเพม่ิ ไฟลแ์ นบในเอกสารการสอน
1.ไปยงั เมนูเอกสารการสอนของวชิ า และเลอื กเอกสารการสอนที่ตอ้ งการจะเพ่ิมไฟลแ์ นบ

2.กดป่มุ “เพิ่มไฟลแ์ นบ” แลว้ เลือกไฟลแ์ นบท่ตี ้องการ

32

การอนุมตั ผิ ูเ้ รยี นเขา้ วชิ า
1.การอนุมตั ิผเู้ รยี นเข้าวชิ า ในหน้าแรกทาการเลอื กเมนู “รายการรออนมุ ตั ิเขา้ วิชา”

2. เลอื กรายช่ือผเู้ รยี นท่ขี อเข้ารว่ มวชิ า จากนั้นเลือกเมนู “Accept” เพ่อื อนุมัตผิ ้เู รียนเขา้ วชิ า

การเพ่ิมผเู้ รยี นในวชิ า
1.การเพม่ิ ผู้เรยี นโดยการบอกหมายเลขของวชิ าC(lass ID)ในหนา้ แรกทาการเลอื กเมน“ู วชิ าทีฉ่ ันสอน”
2.เลอื กวชิ าทีต่ อ้ งการจะใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ไปขอเข้าร่วมวชิ า
3.เลือกเมนู “ข้อมลู วิชา”

33
4.นาหมายเลขของวิชา (Class ID) ไปบอกกบั ผเู้ รยี น เพื่อท่ีผ้เู รยี นจะไดเ้ ข้าไปทาการขอเข้ารว่ มวิชาได้

การสร้างแบบทดสอบอัตนัย
1.เขา้ ไปยังหน้าวชิ าทตี่ อ้ งการจะสรา้ งแบบฝกึ หัดใหม่ จากน้นั เลอื กเมนู “แบบฝกึ หดั (อัตนัย)”

2.กดปุม่ เพ่อื เพิ่มแบบฝึกหดั ใหม่ สรา้ งแบบฝึกหดั โดยกรอกรายละเอียดแบบฝกึ หดั ลงไป
และเลือกประเภทแบบฝกึ หดั เปน็ งานเด่ยี ว จากนั้นคลกิ “สร้าง”

34

การสร้างแบบทดสอบปรนัย
1.เข้าไปยงั หนา้ ของวิชาทต่ี ้องการจะสร้างแบบทดสอบ จากน้นั เลือกเมนู “แบบทดสอบ (ปรนยั )”

2.กดป่มุ เพื่อเพิ่มแบบทดสอบใหม่ โดยกรอกรายละเอียดแบบ ทดสอบลงไป และเลือกประเภท

เป็น “เรียงคาถามแบบส่มุ เมือ่ ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบ” กาหนดวันเริม่ ต้น และวนั สิน้ สดุ การทาแบบทดสอบ

จากนั้นคลิก “สร้าง” ดงั ภาพตวั อย่าง

3.กดปุม่ ระบบกจ็ ะแสดงเมนมู าให้ จากน้ันเลอื กเมนู “รายการคาถาม”

35

4.กดปุ่ม เพ่อื สรา้ งคาถามใหม่ พิมพ์ โจทย์ จากน้ันกดปมุ่ “เพ่มิ คาตอบใหม่”

5.ใส่ตวั เลือกคาตอบ โดยใสท่ ลี ะ 1 ตวั เลือก จากนน้ั กดป่มุ “เพ่ิมคาตอบใหม่” เพอื่ ทาการเพิม่
ตวั เลอื กคาตอบถดั ไป ทาการเพม่ิ ไปเร่อื ย ๆ จนครบจานวนตัวเลอื กคาตอบ

6.เพิม่ ตัวเลือกคาตอบไปเร่ือยๆ จนครบทั้งหมด พรอ้ มกบั เลือกเฉลยหรือขอ้ ที่ถกู ตอ้ ง โดยกดปุม่
“คาตอบที่ถูกต้อง” ของรายการคาตอบน้นั จากน้นั กดปมุ่ “สรา้ ง” โดยเฉลยจะแสดงใหผ้ เู้ รยี นเห็น
เม่อื หมดเวลาสอบเทา่ นน้ั

36

7.แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตวั เลือก พรอ้ มเฉยจะปรากฎดงั ภาพตวั อย่าง

การประมวลผลคะแนน
การประมวลผลคะแนนทงั้ หมด
1.เขา้ ไปยงั หนา้ วชิ าท่ีตอ้ งการประมวลผลคะแนน จากนน้ั เลอื กเมนู “ดาวน์โหลดขอ้ มูล”

2. .กดปุม่ เพอื่ ประมวลผลขอ้ มลู คะแนน เลอื ก “ชื่องาน” และ “ชนดิ ของไฟล์” โดยสามารถ
เลือก Format ออกมาใหอ้ ยูใ่ นรปู แบบไฟล์ .XLS หรือ .CVS ได้ จากน้ันกดปมุ่ “สรา้ ง”

3.กดเลอื กไฟล์ลา่ สุด จากนัน้ ข้อมูลคะแนนก็จะดาวนโ์ หลดออกมาตาม Format ทเ่ี ลอื ก

37
ระบบสาหรับผ้เู รียน

การขอเข้ารว่ มวิชาเรียน
1.ครจู ะตอ้ งบอกหมายเลขของวชิ า (Class ID) ให้แก่ผูเ้ รยี น จากนน้ั ผู้เรยี นนาหมายเลขดงั กล่าวไป
ค้นหาเพื่อทาการขอเขา้ ร่วมวชิ า โดยในหนา้ แรกเลอื กเมนู “วชิ าทฉี่ นั เรยี น”

2. ใสห่ มายเลขของวิชา (Class ID) ในชอ่ งคน้ หา จากน้ันกดปมุ่ “ค้นหา”

3.กดปุ่ม “ขอเข้ารว่ มวิชา” และเมื่อผ้เู รยี นทาการขอเข้าร่วมวชิ าเรียบรอ้ ยแลว้ ระบบกจ็ ะทาการสง่
คาขอไปยงั ผสู้ อนทันที หลังจากนั้นผสู้ อนก็จะทาการอนุมัตใิ หผ้ ้เู รยี นสามารถเขา้ เรยี นวิชานั้นได้

สบื คน้ จาก https://www.classstart.org/ เมอื่ 12 มกราคม 2564

38

บทที่ 3
กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน และกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ

การจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน ตามนโยบายการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้
พ้นื ฐาน สานักงาน กศน.

๑. หลักการ
รัฐบาลไดก้ าหนดยุทธศาสตรช์ าติ ๒ ปี (๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) โดยมวี ัตถุประสงค์เพอ่ื แก้ไขจดุ อ่อน
และเสรมิ จดุ แข็งให้เออ้ื ตอ่ การพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมาย การสรา้ งรักษาไวซ้ ึ่งผลประโยชน์
แห่งชาติ ในการทจี่ ะให้ประเทศไทยมคี วามม่นั คงในทกุ ด้าน คนในชาตมิ คี ุณภาพชวี ติ ท่ีดีและมนั่ คง และ
ประเทศสามารถพัฒนาไปได้อย่างย่งั ยนื จานวน ๖ ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ (๑) ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง (๒)
ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสมารถในกรแขง่ ขนั (๓) ยทุ ธศาสตร์การพฒั น าและเสริมสรา้ งศกั ยภาพ
ทรัพยากรมนษุ ย์ (๔) ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (๕) ยุทธศาสตร์ด้านการ
สร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ( 6) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั
ซึง่ สอดคล้องจุดเน้นในการพัฒนาคณุ ภาพคนในสังคมไทยทุกชว่ งวัยให้เปน็ คนดี มสี ุขภาวะทดี่ ี มีคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ยั มีจิตสานึกทีด่ ตี อ่ สังคมส่วน รวม มที ักษะความร้แู ละความสามารถปรบั ตวั เทา่ ทันกบั
การเปล่ียนแปลงรอบตวั ทร่ี วดเรว็
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.be๖o - ๒๕๗๙ ไดก้ าหนดวัตถุประสงค์ในการจดั การศกึ ษา ๔ ประการ
ได้แก่ (๑) เพอ่ื พัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศกึ ษาที่มีคณุ ภาพและมปี ระสิทธิภาพ (๒) เพื่อ
พัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มคี ุณลักษณะทกั ษ ะและสมรรถนะทสี่ อดคลอ้ งกบั บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่ชาตแิ ละยุทธศาสต ร์ชาติ (๓) เพือ่ พฒั นาสังคมไทยใหเ้ ปน็
สงั คมแหง่ การเรยี นรู้และมีคุณธรรม จรยิ ธรรม รรู้ ักสามัคคี และร่วมมอื ผนึกกาลังม่งุ สกู่ ารพัฒนาประเทศอยา่ ง
ยง่ั ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิ จพอเพยี ง และ ๔) เพือ่ นาประเทศไทยกา้ วข้ามกบั ดกั ประเทศทมี่ ีรายได้
ปานกลาง และความเหลอ่ื มลา้ ภายในประเทศลดลง จงึ กาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศกึ ษาภายใต้ ๖
ยุทธศาสตรห์ ลกั ท่ีสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสต ร์ชาติ ๒ o ปี เพื่อให้แผนการศกึ ษาแหช่ าติบรรลุปา้ หมายตาม
จุดมุ่งหมาย วิสยั ทัศน์ และแนวคดิ การจดั การศกึ ษา ดังนี้ (๑) ยทุ ธศาสตรก์ รจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมั่นคงของ
สงั คมและประเทศชาติ (๒) ยุทธศาสตร์การผลิตและพฒั นากาลังคน การวิจยั และนวตั กรรม เพอ่ื สรา้ งขดี
ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ (a) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสรา้ งสังคม
แห่งการเรียนรู้ (๔) ยทุ ธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาพ และความเทเ่ ทียมทางการศึกษา (๕)
ยุทธศาสตรก์ ารจัดการศึกษาเพ่อื สรา้ งเสรมิ สุขภาพชวี ิตทเ่ี ป็น มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม (๖) ยุทธศาสตรก์ าพัฒนา
ประสิทธภิ าพของระบบบริหารจัดการศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดป้ ระกาศใช้หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕ด ที่มงุ่ จดั การศึษเพอ่ื ตอบสนองอุดมการณก์ ารจัดการศึกษาตลอดชีวติ และการสร้าง
สงั คมไทยใหเ้ ป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้ ตามปรชั ญา "คดิ เปน็ " เพ่ือสรา้ งคุณภาพชวี ิตและสงั คม มกี ารบูรณาการ
อย่างสมดลุ ระหวา่ งปัญญาธรรม ศลี ธรม และวฒั นธรม มุ่งสรา้ งพ้นื ฐานการเป็นสมาชกิ ที่ดขี องครอบครัว
ชมุ ชน สงั คม และพัฒนาความสามารถเพคื่ ารทางานที่มีคณุ ภาพ โดยให้ภาคเี ครือขา่ ยมสี ว่ นร่วมจัดการศกึ ษา
ให้ตรงตามความตอ้ งการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเปน็ กระบวนการของ
การพฒั นาชวี ิตและสงั คม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และรเู้ ทท่ นั การเปลยี่ นแปลง เป็นหลกั สูตรทีม่ ีความ
เหมาะสมสอดคลอ้ งกับสภาพปญั หา ความตอ้ งการของบุคคลท่อี ยูน่ อกระบบโรงเรยี น ซ่ึงเป็นผ้มู คี วามรู้

39

ประสบการณ์จากการทางานและการประกอบอาชีพ โดยการกาหนดสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ การ
จดั การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล ให้ความสาคัญกบั การพัฒนากลุ่มปา้ หมายดา้ นจติ ใจ ใหม้ คี ณุ ธรรมควบคู่
ไปกบั การพฒั นาการเรียนรู้สรา้ งภูมิคุ้มกนั สามารถจดั การกับองคค์ วามรู้ ท้งั ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินและเทคโนโลยี
เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถปรบั ตัวอยใู่ นสังคมทีม่ ีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา สร้างภมู ิคุ้มกนั ตามแนวปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง รวมทง้ั คานึงถึงธรรมชาติการเรยี นรูข้ องผู้ทีอ่ ยู่นอกระบบ และสอดคลอ้ งกบั สภาพ เศรษฐกิจ
สังคม การเมอื ง การปกครอง ความเจรญิ ก้าวหน้า ของเทคโนโลยแี ละการส่ือสาร

สานกั งาน กศน. จงึ กาหนดกรอบการจดั กกิ รรมเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนทส่ี อดคล้องกับจุดมงุ่ หมาย
ของหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาช้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕ด ซึ่งเปน็ กจิ กรรมทใ่ี ห้
สถานศึกษาจัดเพิ่มเตมิ จากการเรียนปกติใหก้ ับผูเ้ รยี น เพ่ือพัฒนาผเู้ รียนให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีสตปิ ัญญา มี
คณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี มศี กั ยภาพในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนือ่ งซ่ึงเปน็ คณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงคส์ อดคล้องกับทักษะการเรยี นรู้ใน ศตวรรษท่ี ๒๑ ตมจดุ งหมายของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนการศกึ ษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปขี นึ้

๒. กรอบการจัดกจิ กรมพฒนาคณุ ภาพผู้เรียน
เพ่ือใหส้ ถานศึกษได้จัดกจิ กรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น เปน็ ไปในแนวทางเตยี วกนั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ประสิทธผิ ล คมุ้ คา่ เกิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ ผ้เู รยี น ดงั น้ี
๒.๑ กิจกรรมพฒั นาวิชาการ
เปน็ การจดั กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาใหผ้ ู้เรียนมีพนื้ ฐานความรเู้ พียงพอกบั การศกึ ษาในแตล่ ะระดับและ
พัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี วามรู้ ความสมารถทางด้านวชิ าการเพ่มิ มากข้ึนในรายวิชาตามหลกั สตู รการศกึ ษานอก
ระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์หรอื วิชาอื่ น ๆ ตามความตอ้ งการของนักศกึ ษา กศน. ซึง่ วทิ ยากรหรือผู้สอนควรเปน็ ผ้ทู ่ีมีความรู้
หรือประสบการณใ์ นการสอนวิชานัน้ ๆ โดยตรง อาจจะเปน็ บคุ คลภายนอกหรือครู กศน. ไดต้ ามความ
เหมาะสม ส่วนจานวนนักศึกษา กศน. ทร่ี ว่ มกจิ กรรมใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิของผู้บริหารสถานศึกษา
๒.๒ กจิ กรรมพฒั นาทักษะชวี ติ
เปน็ การจดั กิกรมเสรมิ เพิม่ เตมิ จากการเรียนปกติในสาระทักษะการดาเนินชีวติ หลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธ ศักราช ๒๕๕๑ เนื่องจากสงั คมปัจจบุ นั มกี ารเปล่ียนแปลงอย่าง
รวดเร็ว ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยี มีการแขง่ ขนั และความขัดแยง้ มากข้ึน จึงมี
ความจาเปน็ ท่ีสถานศึ กษาต้องจัดกิจกรมพฒั นาทกั ษะชีวิตใหก้ บั ผู้เรยี น เพื่อใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ มีเจตคติ
คา่ นิยมทถ่ี ูกตอ้ งและมที กั ษะหรือความสมารถพื้นฐานท่ีจาเปน็ ในการเผชิญปญั หาทเ่ี กิดข้ึนในชีวิต อาทเิ ชน่
ปญั หายาเสพตดิ การตัง้ ครรภไ์ ม่พึงประสงค์ เพศสมั พนั ธ์ ทะเลาะววิ าท ครอบครัวแตกแยก ความรุนแรง
ความเครียด ภยั พบิ ัตเิ ป็นตัน รวมทงั้ มคี ณุ สมบตั ทิ ี่พึงประสงคใ์ นการอยูร่ ่วมกับผ้อู ืน่ ในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ
และสามารถนาความรจู้ ากการเข้าร่วมกจิ กรรมไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวันได้อยา่ งเหมาะสม
๒.3 กจิ กรรมทแ่ี สดงออกถงึ ความจงรักภกั ดตี อ่ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์
เปน็ การจัด กิกรรมเพ่ือพัฒนาและสง่ เสริมสนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รยี น มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ มีทศั นคติทีด่ ี มี
ความรักและภาคภูมิใ จในชาติไทย และแสดงออกถึ งความจงรักภกั ดีตอ่ สถาบันชาติ ศ าสนา และ
พระมหากษัตรยิ ์ ตลอดจนทะนบุ ารุงและปฏิบัติตามหลกั ธรรมทางศาสนาที่นับถอื การส่งเสรมิ โครงการอนั
เน่ืองมาจากพระราชดาริ การเทิดทูนและปกปอ้ งสถาบนั พระมหากษตั ริยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์

40

๒.๔ กิจกรรมการเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เปน็ การจดั กจิ กรมเพอ่ื พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โดยสามารถนาไปประยกุ ต์ใหเ้ กดิ ผลในทางปฏิบัติในการดารงชวี ิตประจาวนั ท้ังต่อตนเอง ครอบครัวทุมชน
สงั คมและประเทศชาติ
๒.๕ กจิ กรมลกู เสือ และกจิ กรรมอาสายุวกาชาด
เปน็ กิจกรมเพื่อพัฒนาและส่งเสรมิ สนับสนุนใหผ้ เู้ รียนเปน็ ผู้ที่มีระเบียบวนิ ยั มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มี
จติ อาสา มคี วามเสยี สละในการชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน บาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ สังคมและชุมชน โดยดาเนนิ การจัดกจิ กรรม
ลกู เสือ กศน. และกิกรรมอาสายวุ กชาด หรืออาจดาเนนิ การร่วมกับสานักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ สานกั การลูกเสือ
ยวุ กาชาดและกจิ กรรมนกั เรยี น กระทรวงศึกษาธิการ สานกั งานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย เป็นต้น
2.6 กจิ กรรมกฬี าและส่งเสรมิ สขุ ภาพ
เปน็ การจดั กกิ รรมเพ่ือพฒั น าผ้เู รยี นได้มีโอกาสออกกาลงั กายและเลน่ กฬี าเพือ่ สขุ ภาพ พลานามัยที่ดี
สร้างนิสยั ความมีน้าใจเปน็ นกั กีฬาและใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ เป็นการสร้างความรกั ความสามคั คี ในหมู่
คณะใหร้ จู้ ักรู้แพ้ รูช้ นะ รู้อภยั และเปน็ การสร้างสมั พันธภาพอันดรี ะหว่างนักศกึ ษา กศน.
๒.๗ กิจกรรมเพือ่ พัฒนาความรูค้ วามสามารถดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT)
เป็นกจิ กรรมเพือ่ พัฒนาผู้เรียนให้มีความร้แู ละทกั ษะในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ( ICT) เช่น การจดั
อบรมความรใู้ นด้านต่างๆ ทเี่ กย่ี วกบั CT เปน็ ตัน
๒.8 กิจกรรมเพ่อื พัฒนาความรู้สปู่ ระชาคมโลก
เปน็ การจดั กิจกรมเพื่ อพัฒนาความรูใ้ หก้ บั ผเู้ รียน ในดา้ นการศึกษา เศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม
ความมั่นคง และการเมอื ง เพื่อเขา้ สู่ประชาคมโลก เชน่ การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรไปสู่สงั คมสูงวัย
ทกั ษะของประชากรในศตว รรษที่ ๒1 ทีท่ ่ัวโลกต่างต้องเผชญิ กบั ความท้าทายและมุ่งพฒั นาประเทศไปสกู่ าร
พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมยดุ ๔.0 เป็นตัน
๒.๙ กจิ กรรมจติ อาสา กศน. "เราทาความดดี ้วยหัวใจ"
เปน็ กจิ กรรมที่หนว่ ยงาน/สถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. จัดข้นึ หรือร่วมกับหนว่ ยงานอน่ื ๆ
และรว่ มกบั ประชาชนทุกหมเู่ หลา่ ท่มี ีจติ อาสาบาเพญ็ สาธารณประโยชน์ในพืน้ ท่ตี า่ ง ๆ เพ่ือบรรเทาความ
เดอื ดรอ้ น และแก้ไขปัญหาใหแ้ กป่ ระชาชน ไมว่ า่ จะเปน็ ปญั หานา้ ทว่ มในเขตชมุ ชน ปัญหาการจราจรและอ่ืน ๆ
เพ่ือสบื สานพระราชปณธิ านพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงห่วงใย
ปญั หาน้าท่วมและปัญหาการจราจรในเขตพน้ื ที่รุงเทพมหานครและจงั หวดั ตา่ ง ๆ และสอดคล้องกับพระบรม
ราโชบายของสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ว้ รชั กาลที่ ๑ 0 เปน็ การพฒั นาสภาพแวดลอ้ มและความเปน็ อยู่ในชุมชนให้มี
สภาพทีด่ ขี น้ึ
๒.๑๐ กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น และพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้
เป็นกจิ กรรมท่สี ่งเสริมให้ผูเ้ รยี นมีทักษะการอา่ น การเรียนรู้ เสริมสร้างนิสยั รักการอา่ น และการเรียนรู้
เพ่ือนาไปใช้ในการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คม อันจะนาไปสู่สังคมแหง่ การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ
๒.11 กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาทักษะอาชพี
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนได้ศกึ ษา เรียนรู้ ฝึกทกั ษะและฝึกปฏบิ ตั ิดา้ นอาชพี ทีต่ นเองสนใจ เพื่อ
เป็นทางเลอื ก และวางแผนการประกอบอาชพี และการศกึ ษาตอ่ ในอนาคต

41

๒.1๒ กจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม

เป็นกิจกรรมท่ีสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้ ด้วยการปลกู ฝงั คณุ ธ รรม จรยิ ธรรม วฒั นธรรม

ขนบธรรมเนียม ประเพณี และเอกลักษณ์ของชาติ ใหเ้ กดิ ความรกั และความภาคภมู ิใจ สืบสานวฒั นธรรมและ

ประเพณที อ้ งถ่นิ อยูร่ ่วมกนั ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

๒.1๓ กิจกรรการเรยี นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ และ

กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งในชวี ิตประจาวัน

เปน็ กจิ กรมเพ่อื พัฒน าผเู้ รยี น ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจทถี่ ูกต้องเกยี่ วกบั การปกครองระบอบ

ประชาธิปไตย gระมขุ และกฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องในชีวติ ประจาวนั เช่น กฎหมายรฐั ธรรมนูญ กฎหมายการ

เลือกตั้ง สิทธิหน้าท่ีพลเมอื ง กฎหมายทเี่ กีย่ วข้องกบั การค้มุ ครองผู้บรโิ ภค เป็นต้น

๒.๑๔ กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามารถพิเศษ

เปน็ กจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียนทมี่ ีความสามารถพิเศษ หรอื มพี รสวรรคใ์ นดา้ นต่าง ๆ ให้มีโอกาสและ

กลา้ แสดงออกถึ งทักษะ ความรู้ ความสมารถ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และจนิ ตนาการ ในแนวทางท่ถี กู ตอ้ ง

เหมาะสม และพัฒนาความสามารถพิศษหรพื รสวรรค์ไปใช้ประโยชน์ต่อการดารงชวี ิตของตนเอง เป็นการ

สง่ เสริมสนบั สนนุ การศึกษาตลอดชีวิต โดยการจดั ตั้งชมรมตา่ ง ๆ เชน่ ชมรม TO BE NUMBER ONE การ

จดั ตั้งศูนย์เพ่ือนใจวยั รุ่น เปน็ ต้น

3. รปู แบบของกจิ กรรม

3.1 แบบการจดั คา่ ยวชิ าการ ค่ายกิกรรม ทงั้ ไป - กลับ และค้างคนื

3.2 แบบชัน้ เรยี น โดยครู กศน. หรอื วทิ ยากรทีม่ คี วามรู้หรอื ประสบการณในการสอนวชิ านน้ั ๆ เป็นผู้

จดั กิจกรรมหรือรว่ มกบั เครอื ขา่ ย

3.3 แบบศกึ ษาดูงาน

๓.๔ อืน่ ๆ ตามความเหมาะสม (โดยใหพ้ ิจารณารปู แบบของกจิ กรรมข้อที่ ๓.๑ - ๓. ก่อน แล้วจงึ

ดาเนนิ การ ในข้อ ๓.๕)

หมายเหตุ : ในกรณที พี่ านักศกึ ษาออกนอกสถานทีใ่ หป้ ฏิบัตติ ามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ ว่า

ด้วยการพานักเรยี นและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘

๔. งบประมาณ

การเบิกจ่ายใหเ้ ป็นไปตามระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง โดยยืดหลกั ความถกู ตอ้ ง โปรง่ ใส

ตรวจสอบได้

๕. เงื่อนไขของการดาเนนิ งาน

๕.๑ ผรู้ บั บรกิ ารตอ้ งเปน็ นักศึกษา กศน. ท่ีลงทะเบียนเรยี นในหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับ

การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕1 ในภาคเรยี นนั้น ๆ

๕.๒ สถานศกึ ษาจดั ทาแผ นการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ตามกรอบการจัดกิจกรรมเพ่ือ

พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น

๕.3 สถานศกึ ษาจดั สง่ แผนการจดั กิกรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น เพ่อื ขอความเห็นชอบจากสานกั งาน

กศน.จังหวัด /กทม.

5.4 สถานศึกษาดาเนินการตามแผนการจดั กิจกรรมเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น ตรวจสอบ ประเมนิ ผล

การจดั กจิ กรรม พร้อมเบกิ จา่ ยเงนิ ตามระเบยี บทก่ี าหนดให้แลว้ เสร็ จภายในแต่ละภาคเรียน และรายงานผลให้

สานกั งาน กศน. จงั หวัด/กทม. ทราบ

42

5.๕ สานักง าน กศน. จงั หวัดกทม. นเิ ทศ ติดตม การจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นของ
สถานศกึ ษา

5.๖ ใหใ้ ช้ "กรอบการจดั กจิ กรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สานักงาน กศน." ตงั้ แตภ่ าคเรยี นที่ ๒/25๕๖1 เปน็ ตนั ไป

หมายเหตุ : กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาคุณภาพผู้เรยี นท่ใี ช้เงินงบประมาณในการจดั กิจกรรมไมน่ บั เปน็ ชวั่ โมง
กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต (กพช) ตามหลกั สตู การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช
๒๕๕1

(เอกสารแนบท้ายหนงั สอื สานักงาน กศน. ดว่ นทส่ี ดุ ที่ ศร ๐๑๐.๐๔/ว ๓๗๘๐ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม
๒๕๖๑)

โดยในชว่ งสภาวะการแพร่ระบาดของ เช้ือไวรสั Covid-19 สถานศึกษาสามารถจดั กิจกรรมพฒั นา

ผเู้ รยี นได้ในสถานการณ์ปจั จุบัน ดว้ ยการไม่ตอ้ งพบกลมุ่ หรอื เขา้ ชนั้ เรียน สานักงาน กศน. จงึ ไดก้ าหนดรูปแบบ
การจัดกจิ กรรม (เพม่ิ เติม) ดงั น้ี

๑. แบบการจดั คา่ ยวิชาการ ค่ายกิจกรรม ทัง้ ไป - กลบั และค้างคืน
๒. แบบชัน้ เรียน โดยครู กศน. หรอื วิทยากรทม่ี คี วามรู้หรือประสบการณใ์ นการสอนวิชานัน้ ๆ เปน็ ผู้จัด
กจิ กรรมหรือร่วมกบั เครอื ข่าย
๓. แบบศึกษาดูงาน
๔ แบบออนไลน์
กศน.อาเภอเมอื งพจิ ิตร จงึ ได้ออกแบบการจดั เนื้อหากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นท้งั แบบออนไลน์
และออฟไลน์ กจิ กรรมแบบออนไลน์ จานวน 5 กิจกรรม และ กจิ กรรมการพบกลุ่ม จานวน 7 กิจกรรมใหผ้ เู้ รยี น
เลอื กตามความสนใจ แตต่ ้องเปน็ ไปตามเงอ่ื นไขทก่ี าหนด คอื
1.กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นรูปแบบ "ออนไลน์" (ผู้เรยี นตอ้ งรว่ มกจิ กรรมอย่างน้อย 3 กจิ กรรม)
2.กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนรูปแบบ "การพบกลุม่ กจิ กรรม" (ผเู้ รียนต้องร่วมกจิ กรรมอย่างนอ้ ย 4 กิจกรรม)
สว่ นระยะเวลา และสถานทจี่ ัดกิจกรรมนัน้ กาหนดรายละเอียดดงั ตาราง

43

โดยครูและผเู้ รียนสามารถศกึ ษาคู่มือการทากจิ กรรมไดจ้ าก QR Code

40

บทท่ี 4
แนวทางการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรค Covid - 19

สถานศึกษา เปน็ สถานทซี่ ง่ึ มคี รู ผู้เรียนและผปู้ ฏิบตั ิงานจานวนมากอยรู่ วมกัน จึงมโี อกาสเสี่ยง
ตอ่ การแพร่กระจายของเชื้อโรคได้งา่ ย การใหค้ วามร่วมมอื ปฏบิ ัติตามหลกั การพ้นื ฐานอย่างเครง่ คดั สามารถ
ชว่ ยให้ครู และผเู้ รยี น หยดุ ยง้ั การแพรก่ ระจายของโรCคovid – 19 ได้ โดยแนวทางปฏิบัติเพอ่ื ปอ้ งกัน และควบคุม

การแพร่ระบาดของโรค Covid – 19 สามารถดาเนนิ การ ดงั นี้

- จัดจุดบริการอา่ งล้างมือให้อย่ใู นสภาพดี พรอ้ มใชง้ าน รวมถึงมสี บู่ล้างมอื เจลแอลกอฮอล์สาหรบั
ล้างมอื เพียงพอสาหรบั ผเู้ รียน และผมู้ ารับบรกิ ารได้ลา้ งมืออยา่ งถูกวิธี

- จัดใหม้ ีจดุ คดั กรองนกั ศึกษา และผรู้ บั บริการ โดยมีเครอ่ื งตรวจวัดอณุ หภมู ิกายแบบใช้จ่อหนา้ ผาก
หรือจอ่ หู จดั ไว้ทีด่ ้านหนา้ กศน.ตาบล เพอื่ ตรวจวัด อุณหภูมินักศึกษา และผรู้ ับบริการ

- สวมใสห่ น้ากากผา้ ทกุ ครง้ั และ ปฏบิ ัตติ ามแนวทางป้องกนั การแพรร่ ะบาดอยา่ งเคร่งครัด
- จดั สถานท่เี พือ่ เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล เชน่ การจัดท่ีน่ังเรียนหรือทากจิ กรรมการเรียนการสอน

การจัดทน่ี ่งั เรยี น ตามมาตรการเวน้ ระยะห่างทางกายภาPพh(ysical Distancing) อย่างน้อย1 เมตร
- จดั หาสือ่ ประชาสมั พันธท์ ี่จาเป็นเพื่อปอ้ งกันและการลดความเสย่ี งตอ่ การแพร่กระจายเชือ้ Covid

-19 ตามจุดต่างๆ ภายในหรือบริเวณสถานท่ี

- เปิดประตู หนา้ ต่าง กศน.ตาบล เพือ่ ระบายอากาศ
- งดการจัดกจิ กรรมที่มกี ารรวมตวั กนั ทัง้ นี้ หากมคี วามจาเปน็ จะต้องจัดกิจกรรม ใหส้ ถานศกึ ษา

จัดเตรยี มความพร้อมในการคดั กรองผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมและมีมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรค
ทีเ่ ข้มงวด
- ทาความสะอาดพนื้ พน้ื ผวิ สมั ผสั รว่ มบอ่ ยๆ ทง้ั กอ่ นและหลังการเรยี นการสอน รวมถงึ หอ้ งสขุ า
และใหก้ าจดั ขยะมูลฝอยทุกวนั
- ลดเวลาทากิจกรรมเทา่ ที่จาเป็น โดยถือหลักหลีกเลย่ี งการตดิ ต่อสมั ผัสระหวา่ งกนั
- หากพบผเู้ รยี น ทีม่ อี าการเจ็บป่วย เชน่ มไี ข้ ไอ จาม มนี ้ามกู หายใจเหนือ่ ยหอบ หรอื กลับจาก
พน้ื ท่ี เสย่ี งและอย่ใู นช่วงกักกนั ให้ไปพบแพทยท์ นั ที

แนวทางการให้สขุ ศึกษาในสถานศกึ ษา ควรแนะนาให้ผเู้ รยี นปฏบิ ตั ติ นดังนี้
- แนะนาแนวคดิ การรกั ษาระยะห่างทางกายระหว่างบคุ คล เชน่ ยนื หา่ งจากเพ่อื น หลีกเล่ยี งฝงู ชน
- ย้าถงึ พฤตกิ รรมสุขอนามยั ทดี่ เี ช่น การไอหรอื จาม ด้วยการงอขอ้ ศอก และการล้างมอื เว้นการ
สัมผสั มอื และใบหน้า
- สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของ การป้องกนั และควบคมุ โรค
- หลีกเลยี่ งการใชม้ ือสัมผัสใบหนา้ ตา ปาก จมกู โดยไม่จาเปน็ สวมหนา้ กากอนามยั ทกุ คร้งั
- ไมอ่ ยใู่ กล้ชดิ ผู้ทมี่ ีอาการหวัด มไี ข้ ไอ จาม มนี ้ามูก
- ใหเ้ ลือกรบั ประทานอาหารปรงุ สุกใหม่ โดยใช้อุปกรณ์ส่วนตัว เช่น แก้วน้า ชอ้ น สอ้ ม
- มอี ปุ กรณ์เคร่อื งใชส้ ว่ นตวั เฉพาะบุคคล เชน่ ผา้ เช็ดหนา้ ผา้ เชด็ ตวั แปรงสีฟนั ฯลฯ
- ลีกเลีย่ งการเขา้ ไปในสถานทแ่ี ออดั หรอื สถานท่ที ม่ี กี ารรวมกันของคนจานวนมาก หากจาเปน็
ควรสวมหนา้ กากอนามัย

41
- ดแู ลสขุ ภาพใหแ้ ขง็ แรง ด้วยการกินอาหาร ครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ 5 สี เสริมสร้างภมู คิ ุม้ กนั
ออกกาลงั กายอยา่ งนอ้ ย 60 นาทที ุกวัน และนอนหลบั ใหเ้ พยี งพอ 9 - 11 ช่ัวโมง/วัน
- บรู ณาการเน้ือหาสุขศกึ ษา ร่วมกบั วิชาอืน่ ๆ เช่น วทิ ยาศาสตร์ เน้ือหาของเชอื้ ไวรัสต่างๆ การ
แพรก่ ระจายของโรคและการ ป้องกนั สารอาหารที่มีประโยชนเ์ สรมิ ภมู ิคุม้ กันโร และทกั ษะการใช้ชีวติ
อาการของโรค Covid – 19 จะมอี าการไอหรือมีไขค้ ลา้ ยกับไขห้ วัดใหญห่ รือโรคไขห้ วดั ท่วั ไป ซึ่งเปน็
เร่ือง ธรรมดามาก หากพบว่ามีผเู้ รยี นป่วยควรใหก้ ลบั บ้าน หากไมส่ ามารถกลบั ได้ในทันทีควรจดั ใหพ้ ักในห้องท่ี
มอี ากาศถา่ ยเทไดด้ ี อยหู่ ่างจากคนอืน่ ๆ ป้องกนั การแพรเ่ ช้ือไปยังผอู้ นื่ ให้สวมหนา้ กากอนามยั ลา้ งมอื บอ่ ยๆ
และผู้ดูแลต้องสวมหนา้ กากอนามยั และมวี ิธีปอ้ งกันตนเอง เฝา้ สังเกตอาการ แจ้งใหร้ พ.สต. หรอื โรงพยาบาล
ในพนื้ ทีท่ ราบ
อาการเบ้ืองตน้ ท่ีสงั เกตได้จากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา่ หรอื "COVID-19" มีดังนี้
1. มีไข้สงู > 37.5 องศา
2. ไอแหง้ ๆ ไอแบบมเี สมหะ
3. เจ็บคอ
4. ครั่นเนอ้ื ครนั่ ตัว
5. หายใจเหนอ่ื ยหอบ หายใจลาบาก
หากมีอาการดังกล่าว รบี ไปพบแพทย์ทนั ที

(https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/info.php เมอ่ื 9 มกราคม 2564)

42

บรรณานกุ รม

เวบ็ ไซต์

ปยิ ะวัฒนาจากดั (ม.ป.ป.) คมู่ ือการใชง้ าน ClassStart แพลตฟอรม์ การจดั การการเรยี นรู้ (Thailand
Learning Management System) สืบค้นเมอ่ื 4 มกราคม 2564 จาก
https://www.classstart.org/

สานกั งาน กศน.จงั หวัดระยอง (2563) ค่มู ือแนวทางการจดั การศึกษาออนไลน์ (ไฟล์ PDF)

โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19), ม.ป.ป. : สบื คน้ เมื่อ 9 มกราคม 2564 จาก
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/info.php

โรงพยาบาลศคิ รนิ ทร์, (ม.ป.ป.) วิธีการป้องกนั -รบั มอื -ไวรัส-covid-19 สบื ค้นเม่อื 9 มกราคม 2564 จาก
https://www.sikarin.com/content/detail/408/วธิ กี ารปอ้ งกนั -รบั มือ-ไวรัส-covid-19

หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุธศกั ราช 2551, ม.ป.ป. : สืบคน้ เม่ือ
8 มกราคม 2564 จาก http://lib.edu.chula.ac.th/FILEROOM/CABCU_PAMPHELT/
DRAWER01/GENERAL/DATA0000/00000469.PDF


Click to View FlipBook Version