สมถหาบานั วว�จท� ัยยปราะชลายักรมแลหะสดิ งั คลม
¼Ê¶ÊÙŒ ÒÙ§¹Í¡ÒÒÂóäØ · Â
¾.È. òõöó
SITUATION OF
THE THAI ELDERLY 2020
˹ŒÒ»¡
¼ÙŒÊÙ§ÍÒÂáØ Ë‹§ªÒµÔ »ÃШӻ‚
2550 2551 2552 2553
2554 2555 2556 2557
2558 2559 2560
2561 2562
¼ÙŒÊ§Ù ÍÒÂØáË‹§ªÒµÔ
»ÃШӻ‚ 2563
¼ŒÊÙ §Ù ÍÒÂáØ Ë§‹ ªÒµÔ »ÃШӻ‚
¾.È. 2550 ¾ÃоÃËÁÁѧ¤ÅÒ¨Òà(»˜ÞÞÒ¹¹Ñ ·À¡Ô ¢)Ø
¾.È. 2551 ÈÒʵÃÒ¨ÒùÒÂá¾·ÂàÊÁ ¾ÃÔ§é ¾Ç§á¡ÇŒ
¾.È. 2552 ·‹Ò¹¼ËÙŒ Þ§Ô ¾¹Ù ·ÃѾ ¹¾Ç§È
¾.È. 2553 ÈÒʵÃÒ¨ÒÃÂÃÐ¾Õ ÊҤáÔ
¾.È. 2554 ·Ò‹ ¹¼ŒËÙ ÞÔ§ÊÁØ ÒÅÕ ¨Òµ¡Ô ǹԪ
¾.È. 2555 ¹Ò§ÊÒÂÊÃØ Õ ¨ØµÔ¡ØÅ
¾.È. 2556 ÈÒʵÃÒ¨Òà´Ã.»ÃÐàÊÃ°Ô ³ ¹¤Ã
¾.È. 2557 ¹Ò¾Òó ÍÈÔ ÃàÊ¹Ò ³ ÍÂ¸Ø ÂÒ
¾.È. 2558 ਌Ҵǧà´Í× ¹ ³ àªÂÕ §ãËÁ‹
¾.È. 2559 ¹ÒÂàʹÒР͹٠ҡÅÙ
¾.È. 2560 ÊÁà´ç¨¾Ãо·Ø ¸â¦ÉÒ¨Òà(».Í. »ÂµØ âµ)
¾.È. 2561 ´Ã.ÊØàÁ¸ µ¹Ñ µàÔ Çª¡ØÅ
¾.È. 2562 ¹ÒÂᾷºÃÃÅØ ÈÃÔ ¾Ô Ò¹ªÔ
¾.È. 2563 ¹ÒÂà¹ÒÇÃµÑ ¹ ¾§Éä ¾ºÅÙ Â
พ.ศ. ๒๕๖๓
1
คำ�นำ�
รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย เป็นรายงานประจำ�ปีท่ีคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ (กผส.)
มหี นา้ ทจ่ี ดั ท�ำ ขน้ึ ตามทพี่ ระราชบญั ญตั ผิ สู้ งู อายุ พ.ศ. 2546 ไดก้ �ำ หนดไวใ้ นมาตรา 9 (10) เพอ่ื เสนอ
รายงานสถานการณ์เก่ียวกบั ผู้สูงอายขุ องประเทศตอ่ คณะรฐั มนตรีเปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี คณะกรรมการ
ผู้สงู อายุแห่งชาติ ได้มอบหมายให้มลู นธิ ิสถาบนั วิจัยและพฒั นาผสู้ ูงอายไุ ทย (มส.ผส.) ด�ำ เนินการ
จัดทำ�รายงานสถานการณผ์ สู้ งู อายไุ ทยประจำ�ปี นับตัง้ แต่ปี 2549 เปน็ ตน้ มา รายงานสถานการณ์
ผสู้ งู อายไุ ทยประจ�ำ ปี 2563 ฉบบั น้ี ไดร้ วบรวมสถติ ขิ อ้ มลู สถานการณก์ ารสงู อายขุ องประชากรไทย
ในปจั จบุ นั และแนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งอายขุ องประชากรทเ่ี กดิ ขน้ึ ในอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั
ท้ังน้เี พอื่ ฉายภาพสถานการณ์ผสู้ ูงอายุไทยท่ีคาดว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต
รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยประจำ�ปีท่ีผ่านมา แต่ละฉบับจะมีประเด็นหรืออรรถบทที่เน้น
เป็นพิเศษ เช่น ฉบับประจำ�ปี 2556 มีอรรถบทเน้นเรื่องหลักประกันรายได้ของผู้สูงอายุไทย
ฉบับประจำ�ปี 2557 เน้นเร่ืองผู้สูงอายุกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ฉบับประจำ�ปี 2558 เน้นเร่ือง
การอยู่อาศัยของผู้สูงอายุไทย ฉบับประจำ�ปี 2559 เน้นเรื่องสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุไทย
ฉบบั ประจำ�ปี 2560 เนน้ เร่อื งการสูงวัยอย่างมีพลงั ฉบบั ประจำ�ปี 2561 เน้นเรอ่ื งการท�ำ งานของ
ผสู้ งู อายไุ ทย ฉบบั ประจ�ำ ปี 2562 เนน้ เรอื่ งสวสั ดกิ ารสงั คมส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ ส�ำ หรบั รายงานประจ�ำ ปี
2563 ฉบบั นี้ มอี รรถบททเ่ี นน้ เรอื่ งผลกระทบของโควดิ -19 ตอ่ ผสู้ ูงอายุในประเทศไทย
2
การจัดทำ�รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยประจำ�ปีน้ีและปีก่อนๆ ได้รับความอนุเคราะห์จาก
หนว่ ยงาน ทง้ั ภาครฐั และเอกชน ในการใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั ทส่ี ดุ ในนามของ มส.ผส. ขอขอบคณุ
หนว่ ยงานตา่ งๆ ทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื ไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบคณุ กองทนุ ผสู้ งู อายุ และกรมกจิ การผสู้ งู อายุ
ทส่ี นบั สนนุ งบประมาณในการจดั ท�ำ รายงานประจ�ำ ปมี าโดยตลอด
ขอ้ มลู และขอ้ เสนอแนะในประเดน็ ตา่ งๆ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การตดั สนิ ใจเชงิ นโยบายของหนว่ ยงาน
ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยเฉพาะคณะกรรมการผสู้ งู อายแุ หง่ ชาติ (กผส.) และรฐั บาล สถาบนั การศกึ ษา
รวมทง้ั หนว่ ยงานระดบั กระทรวงทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงแรงงาน ในการกำ�หนดวิสัยทัศน์ และ
นโยบายในประเดน็ ส�ำ คญั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของผสู้ งู อายุ ซง่ึ จะสง่ ผลใหส้ งั คมไทย
ทส่ี งู อายเุ พม่ิ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ เปน็ สงั คมคณุ ภาพ ทส่ี ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรทางปญั ญาทม่ี อี ยไู่ ด้
อยา่ งเตม็ ท่ี และปรบั เปลย่ี นไปตามสงั คมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็
(นายแพทย์สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์)
ประธานมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.)
3
บทสรปุ
สำ�หรบั ผบู้ ริหาร
และขอ้ เสนอแนะ
4
01
ประชากรสงู อายใุ นโลก
การสงู วยั ของประชากรเปน็ ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ทว่ั โลกในตน้ สหสั วรรษน้ี ประชากรโลก
มอี ายสุ งู ขน้ึ เนอ่ื งมาจากอตั ราเกดิ ทล่ี ดลงและผคู้ นมอี ายยุ นื ยาวขน้ึ
ประชากรโลกกำ�ลังมีอายุสูงข้ึนอย่างรวดเร็วในปี 2020 โลกของเรามีประชากรรวม
ทง้ั หมด 7,795 ลา้ นคน โดยมี “ผสู้ งู อาย”ุ ทม่ี อี ายุ 60 ปขี น้ึ ไป 1,050 ลา้ นคน หรอื
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14 ของประชากรทง้ั หมด
“ผู้สูงอายุวัยปลาย” ที่มีอายุ 80 ปีขึ้นไปมีจำ�นวนมากถึง 146 ล้านคน หรือคิดเป็น
ร้อยละ 2 ของประชากรทั้งหมด
ในปี 2020 ทวีปที่มีอัตราผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ยุโรป
ร้อยละ 26 อเมริกาเหนือ ร้อยละ 23 และภาคพื้นมหาสมุทร ร้อยละ 18 โดยประเทศ
ที่มีอัตราผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ญี่ปุ่น ร้อยละ 34 อิตาลี
ร้อยละ 30 และโปรตุเกส ฟินแลนด์ กรีซ ร้อยละ 29
02
ประชากรสงู อายุในอาเซียน
ในปี 2020 อาเซยี นมปี ระชากรรวมท้งั หมด 664 ล้านคน
อาเซยี นมผี สู้ งู อายุทีม่ ีอายุ 60 ปขี ้ึนไปเปน็ จ�ำ นวน 73 ลา้ นคน หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 11
ของประชากรทงั้ หมด
“ผสู้ งู อายวุ ยั ปลาย” ทม่ี อี ายุ 80 ปขี น้ึ ไป มจี �ำ นวน 7.6 ลา้ นคน หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1
ของประชากรทง้ั หมด
ในปี 2020 ประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ เป็นสังคมสูงอายุแล้ว คือมีอัตรา
ผูส้ ูงอายุ 60 ปีข้นึ ไปถงึ ร้อยละ 10 แลว้ ไดแ้ ก่ สงิ คโปร์ (รอ้ ยละ 21) ไทย (ร้อยละ 18)
เวยี ดนาม (รอ้ ยละ 12) มาเลเซยี (รอ้ ยละ 11) อนิ โดนเี ซีย (รอ้ ยละ 10) และเมยี นมา
(รอ้ ยละ 10)
5
03
ประชากรสูงอายใุ นประเทศไทย
ในปี 2563 ประเทศไทยมีประชากรรวม 66.5 ล้านคน ประชากรสูงอายุของ
ประเทศไทยได้เพิ่มจำ�นวนข้ึนอย่างเร็วมาก กล่าวคือ เม่ือ 50 ปีก่อน ผู้สูงอายุ
(60 ปีขึ้นไป) มีจำ�นวนไม่ถึง 2 ล้านคน แต่ในปี 2563 ผู้สูงอายุได้เพ่ิมจำ�นวนเป็น
12 ล้านคน คิดเปน็ ร้อยละ 18 ของประชากรทง้ั หมด
ประเทศไทยก�ำ ลงั จะกลายเป็น “สังคมสงู อายอุ ย่างสมบูรณ์” ภายในปี 2565 น้ี
“ประชากรรุ่นเกิดล้าน” ท่ีเกิดระหว่างปี 2506-2526 ซึ่งเป็นสึนามิประชากรของ
ประเทศไทยกำ�ลังจะกลายเป็น กล่มุ ประชากรสงู อายุกลมุ่ ใหญ่มาก
ในอีก 20 ปีข้างหน้า ประชากรรวมของประเทศไทยจะเพ่ิมช้ามาก อัตราเพ่ิมจะ
ลดตำ่�ลงจนถึงขั้นติดลบ แต่ประชากรสูงอายุจะเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว ผู้สูงอายุ
(60 ปีขึน้ ไป) จะเพมิ่ เฉล่ยี ร้อยละ 4 ตอ่ ปี ผสู้ ูงอายุวัยปลาย (80 ปีขึ้นไป) จะเพ่ิมดว้ ย
อัตราเฉลี่ยรอ้ ยละ 7 ตอ่ ปี
6
04
ขอ้ มลู สถติ ิท่ีสำ�คญั เก่ยี วกับ
ผู้สูงอายุ ปี 2563
ประชากร1
66.532.1 34.4
ล้านคน
48.3% 51.7%
อัตราส่วนเพศ: ผชู้ าย 93 คนตอ่ ผหู้ ญงิ 100 คน
ผ้สู งู อายุ
(อายุ 60 ปีขน้ึ ไป)
12.05.1 6.9
42.5% 57.5%
ล้านคน
ของผู้สงู อายทุ ้ังหมด 18.0% ของผสู้ งู อายทุ ้งั หมด
ของประชากรท้ังหมด
อัตราสว่ นเพศ: ผู้ชาย 73 คนต่อผู้หญงิ 100 คน
7
ผสู้ ูงอายุ
ผสู้ งู อายุวยั ตน้ (อายุ 60-69 ป)ี
3.3 7.3 4.0
ล้านคน
อัตราสว่ นเพศ: ผ้ชู าย 82 คนตอ่ ผู้หญิง 100 คน
ผสู้ ูงอายุ
ผู้สงู อายวุ ัยกลาง (อายุ 70-79 ปี)
1.4 3.4 2.0
ล้านคน
อตั ราส่วนเพศ: ผชู้ าย 67 คนตอ่ ผหู้ ญิง 100 คน
ผ้สู ูงอายุ
1.4ผูส้ ูงอายุวยั ปลาย (อายุ 80 ปขี นึ้ ไป)
0.5 ล้านคน 0.9
อตั ราส่วนเพศ: ผชู้ าย 48 คนต่อผหู้ ญิง 100 คน
อายุคาดเฉลี่ย2
เม่อื แรกเกดิ เม่อื อายุ 60 ปี
76.5 20.1ปี ท้ังสองเพศ ปี
8 73.2 ปี 80.3 ปี 17.2 ปี 23.0 ปี
การอยอู่ าศัยของผสู้ งู อายไุ ทย
ทอี่ ยู่อาศัยของผสู้ งู อายุ1
(อายุ 60 ปขี ้ึนไป)
6.6อยใู่ นเขตเทศบาล 5.4 อยู่นอกเขตเทศบาล
55.2% ลา้ นคน ล้านคน 44.8%
ผ้สู ูงอายุ 2.5 ผสู้ งู อายทุ อ่ี ยู่
ลำ�พงั กับคูส่ มรส3
1.3ทอี่ ยู่คนเดียว
11.0% ลา้ นคน ลา้ นคน 21.0%
ครวั เรือน ครวั เรือนท่ีผสู้ งู อายุ 1.3 (6.0%)
ทง้ั หมด4 อยู่ลำ�พังคนเดยี ว5 ล้านครัวเรอื น
ครวั เรอื นทม่ี ีเฉพาะ
21.9 ผู้สูงอายุอย่ดู ้วยกัน5 1.4 (6.2%)
ครวั เรือนผู้สงู อายุ ลา้ นครัวเรอื น
ล้านครวั เรือน (ครัวเรือนทีม่ ีผสู้ ูงอายุ
อาศัยอย)ู่ 5 9.3 (42.6%)
ลา้ นครัวเรือน
9
ผสู้ งู อายทุ อ่ี ยใู่ นศนู ยพ์ ฒั นาการจดั สวสั ดกิ าร
สังคมผสู้ ูงอายุ/สถานสงเคราะห์
ภายใต้การดูแลของ
อปท.6 พม.7
965 คน 1,293 คน
ผู้ดูแลผู้สูงอายทุ เ่ี ป็นสวัสดกิ ารของรัฐ
อาสาสมคั รสาธารณสุข (อสม.)8 1,027,036 คน
อาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
(ผู้เชี่ยวชาญดา้ นผสู้ งู อายุ)7 24,293 คน
ผดู้ ูแลผ้สู งู อายุ (Caregiver)9 86,829 คน
ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager)9 13,615 คน
อาสาสมคั รบรบิ าลทอ้ งถ่นิ (อสบ.)10 13,190 คน
10
สวัสดกิ ารดา้ นการเงินของรัฐ
สำ�หรบั ผู้สูงอายุ
ผสู้ งู อายุทไ่ี ด้รบั เบ้ยี ยังชพี 11 งบประมาณ
9,663,169 76,280
คน ลา้ นบาท
ผู้สูงอายทุ ี่ไดร้ บั บำ�เหนจ็ งบประมาณ
บำ�นาญขา้ ราชการ12
267,012
803,293
ลา้ นบาท
คน
ผสู้ งู อายุทีไ่ ดร้ ับประโยชนท์ ดแทนกรณี งบประมาณ
ชราภาพจากกองทุนประกันสงั คม
20,203
598,550
ลา้ นบาท
คน
การทำ�งานของผูส้ งู อายุ
ผ้มู อี ายุ 60-64 ป1ี 4 ผู้มอี ายุ 65-69 ปี14
55.5% 41.4%
ของประชากรกลุม่ อายนุ ี้ ของประชากรกลุ่มอายนุ ี้
4.7กำ�ลังทำ�งาน กำ�ลงั ทำ�งาน
ลา้ นคน
ผสู้ ูงอายทุ ลี่ งทะเบยี น
และได้รบั บตั รสวัสดกิ ารแหง่ รัฐ15
(31 ธันวาคม 2563)
11
สถานะสุขภาพของผ้สู ูงอายุ
ผู้สงู อายทุ เ่ี ปน็ โรคสมองเส่อื ม16
191,295 รวม 460,655
คน 651,950 คน
คน
ผสู้ งู อายุทอ่ี ยู่ในภาวะติดเตียง9
43,520
คน
ผสู้ งู อายุท่ปี ระเมนิ ตนเองวา่
มสี ุขภาพดีและดมี าก3
2.4 3.2
ลา้ นคน ล้านคน
(46.5%) (37.8%)
12
การรวมกลุ่มของผู้สูงอายุ
ชมรมผู้สูงอายุ17
29,276 ชมรม
โรงเรียนผู้สูงอายุ18 (30 กันยายน 2563)
2,049 แห่ง
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.)18
1,589 แห่ง
เอกสารอ้างอิง
1 การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 (ฉบับปรับปรุง), สศช.
2 สารประชากร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2563, สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.
3 คาดประมาณปี 2563 จากการสำ�รวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560, สสช.
4 การสำ�รวจข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน พ.ศ. 2563, สสช.
5 การสำ�รวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2561, สสช.
6 รายงานประจำ�ปีสถานสงเคราะห์คนชราบ้านเขาบ่อแก้ว, 2563
7 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
8 กรมสนับสนุนบริการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
9 สำ�นักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
10 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
11 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา
12 กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
13 กองวิจัยและพัฒนา สำ�นักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน
14 สถานการณ์และแนวโน้มสภาพการทำ�งานของผู้สูงอายุไทย: การวิเคราะห์จากข้อมูลการสำ�รวจ
ระดับประเทศ โดย เฉลิมพล แจ่มจันทร์ และสุภรต์ จรัสสิทธิ์
15 กระทรวงการคลัง
16 คำ�นวณโดย ปราโมทย์ ประสาทกุล และ กาญจนา เทียนลาย
17 สมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
18 กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
13
05
ผู้สูงอายกุ ับสถานการณโ์ ควิด-19
การระบาดของโควดิ -19 เรม่ิ ขน้ึ ในประเทศไทยตง้ั แตต่ น้ ปี 2563 โดยในชว่ งระยะแรก
ประเทศไทยสามารถควบคมุ สถานการณก์ ารระบาดของโรคนไ้ี ดเ้ ปน็ อยา่ งดี โดยระบบ
การควบคุมและป้องกันโรคของประเทศมีพัฒนาการอย่างต่อเน่ืองและยาวนานจน
เขม้ แขง็ และมมี าตรการตา่ งๆ ทภ่ี าครฐั ทยอยออกมาตามชว่ งเวลา เชน่ มาตรการปดิ
เมอื ง ปดิ สถานบรกิ ารและสนามกฬี าบางประเภท ก�ำ หนดเวลาเปดิ ปดิ รา้ นอาหารและ
ห้างสรรพสินค้า ส่งเสริมให้ประชาชนสวมหน้ากากอนามัยและรักษาระยะห่างทาง
สังคม ขอความร่วมมือให้บุคลากรของหน่วยงานท้งั ภาครัฐและเอกชนทำ�งานท่บี ้าน
มาตรการเหล่าน้ชี ว่ ยทำ�ให้อตั ราการติดเชอ้ื โควดิ -19 ของประเทศไทยอยใู่ นระดับตำ�่
เปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก
ตลอดปี 2563 ประเทศไทยมจี �ำ นวนผตู้ ดิ เชอ้ื โควดิ -19 สะสมไมถ่ งึ 7 พนั ราย ซง่ึ นบั
ว่าไม่มากนักเม่อื เปรียบเทียบกับประเทศตะวันตก ในจำ�นวนน้ผี ้ตู ิดเช้อื เป็นผ้สู ูงอายุ
ไมถ่ งึ รอ้ ยละ 10 และมผี ปู้ ว่ ยสงู อายทุ เ่ี สยี ชวี ติ ดว้ ยโควดิ -19 นบั ถงึ สน้ิ ปี 2563 เพยี ง
29 ราย ซง่ึ นบั วา่ นอ้ ยมาก
อยา่ งไรกต็ าม การระบาดของโควดิ -19 ระลอกท่ี 2 ซง่ึ เกดิ ขน้ึ ตอนปลายปี 2563 ท�ำ ให้
เกดิ ผลกระทบในทางลบตอ่ ระบบเศรษฐกจิ และสงั คมโดยรวม ตลอดทง้ั ชวี ติ ความเปน็
อยขู่ องคนไทยเปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะประชากรสงู อายใุ นเวลาตอ่ มา
14
ขอ้ เสนอแนะ 15
เชิงนโยบาย
ด้านเศรษฐกจิ
• สรา้ งหลกั ประกนั ทางเศรษฐกจิ ทเ่ี ปน็ “มาตรการระยะยาว” ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ โดย
พิจารณาศึกษาการปรับเพ่มิ เบ้ยี ยังชีพผ้สู ูงอายุ ให้เพียงพอต่อการดำ�รงชีวิตของ
ผสู้ งู อายุ
• บูรณาการฐานข้อมูลด้านสวัสดิการทุกประเภทและทุกโครงการของภาครัฐ
เขา้ ดว้ ยกนั และเปดิ ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ
ดา้ นสขุ ภาพ
• เร่งจัดหาวัคซีนป้องกันการติดเช้อื โควิด-19 ท่มี ีคุณภาพและความปลอดภัยให้มี
ปรมิ าณทเ่ี พยี งพอกบั ประชากรในประเทศ จดั สรรชนดิ ของวคั ซนี ใหส้ อดคลอ้ งกบั
สภาพรา่ งกายและเงอ่ื นไขทางสขุ ภาพของประชากรกลมุ่ วยั ตา่ งๆ และกระจายการ
ฉดี วคั ซนี ใหค้ รอบคลมุ ประชากรทกุ เพศทกุ วยั อยา่ งเหมาะสม ทว่ั ถงึ และเปน็ ธรรม
• พฒั นาระบบการสง่ ยาทางไปรษณยี ใ์ หม้ คี วามตอ่ เนอ่ื งส�ำ หรบั ผสู้ งู อายใุ นทกุ สทิ ธิ
สขุ ภาพ รวมถงึ ตอ่ ยอดไปสรู่ ะบบการรกั ษาทางไกลใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การสง่ เสรมิ
การสงู วยั อยา่ งมพี ลงั และมสี ขุ ภาวะ ทง้ั นร้ี ะบบดงั กลา่ วควรน�ำ มาใชเ้ พอ่ื เพม่ิ ความ
สะดวกในการเขา้ ถงึ บรกิ าร แตต่ อ้ งไมท่ �ำ ใหค้ ณุ ภาพการรกั ษาลดลง
ด้านข้อมูลขา่ วสาร
• ปรบั ปรงุ วธิ กี ารในการเขา้ ถงึ สวสั ดกิ ารและความชว่ ยเหลอื ตา่ งๆ ของภาครฐั เพอ่ื ให้
ผสู้ งู อายไุ ดร้ บั การดแู ลอยา่ งเหมาะสมและทว่ั ถงึ เปน็ พเิ ศษ (เชน่ วธิ กี ารลงทะเบยี น)
• สง่ เสรมิ ใหก้ ารเขา้ ถงึ ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ สทิ ธขิ น้ั พน้ื ฐานทป่ี ระชาชนทกุ คนและ
ผสู้ งู อายคุ วรไดร้ บั
ด้านท่อี ยูอ่ าศยั
• ผลักดันให้การปรับปรุงซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัยและการจัดบริการในระดับชุมชน
สำ�หรับผู้สูงอายุ เป็นนโยบายหลักในการจัดการท่ีอยู่อาศัยสำ�หรับผู้สูงอายุ
เพอ่ื สง่ เสรมิ แนวทาง “การสงู วยั ในทอ่ี ยอู่ าศยั เดมิ ” (Ageing in place)
ด้านบริการทางสังคมท่วั ไป
• พจิ ารณาเพม่ิ ก�ำ ลงั คนในระบบอาสาสมคั ร จดั ท�ำ ระบบขอ้ มลู และน�ำ ระบบรางวลั
หรอื คา่ ตอบแทนมาใชใ้ นทางปฏบิ ตั แิ กอ่ าสาสมคั รหรอื ผดู้ แู ล ทง้ั ในรปู แบบการดแู ล
ทเ่ี ปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ
ประเทศไทยควรเตรียมรับมือ
กบั การระบาดของโควิด-19
ระลอกใหมท่ จ่ี ะตามมา
ซงึ่ อาจรนุ แรงมากกว่า
สถานการณท์ ่เี กิดข้ึนในปี 2563
หลายเทา่
16
แหล่งข้อมูล สถิติที่ใช้ใน
รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563
United Nations, 2019. World Population Prospects The 2019 Revision จัดทำ�โดยสหประชาชาติ ทำ�การคาดประมาณประชากร
ตามกลุ่มอายุและเพศ ของประเทศต่างๆ ทั่วโลก โดยใช้ข้อมูลสำ�มะโนประชากรของประเทศต่างๆ เป็นฐาน
ส�ำ มะโนประชากรและเคหะ ด�ำ เนนิ การโดยส�ำ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ (สสช.) ท�ำ การแจงนบั ประชากรทกุ คน ทัว่ ประเทศ ทกุ 10 ปี ในปพี ทุ ธศกั ราช
ที่ลงท้ายด้วยเลข 3 ประเทศไทยทำ�สำ�มะโนประชากรและเคหะครั้งล่าสุด เมื่อ พ.ศ. 2553
ทะเบียนราษฎร ดำ�เนินการโดยสำ�นักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซึ่งจะรายงานจำ�นวนราษฎร จำ�นวนคนเกิด
และคนตาย ที่จดทะเบียนในแต่ละปี รายงานข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคมของปีนั้น
การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 (ฉบับปรับปรุง) จัดทำ�โดยสำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ (สศช.) ใช้ประชากรจากสำ�มะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 เป็นฐานเริ่มต้น ทำ�การคาดประมาณประชากรตามกลุ่มอายุและเพศ
ตามเงื่อนไขแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง อัตราเจริญพันธุ์ การรอดชีพ และการย้ายถิ่นที่ตั้งขึ้นเป็นข้อสมมุติ
การสำ�รวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560 ดำ�เนินการโดยสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) เริ่มสำ�รวจครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2537
การสำ�รวจ พ.ศ. 2560 เป็นการสำ�รวจครั้งที่ 6 ซึ่งเป็นการสำ�รวจตัวอย่างของประชากรอายุ 50 ปีขึ้นไป ใน 83,880 ครัวเรือน กลุ่มตัวอย่าง
เป็นตัวแทนประชากรสูงอายุในระดับประเทศ รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563 นำ�เสนอเฉพาะข้อมูลของตัวอย่างอายุ 60 ปีขึ้นไป
การสำ�รวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน พ.ศ. 2562 ดำ�เนินการโดยสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ได้จัดทำ�เป็นประจำ�ทุกปีตั้งแต่
ปี 2549 เป็นต้นมา เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างของสมาชิกในครัวเรือน รายได้ ค่าใช้จ่าย ภาวะหนี้สิน และทรัพย์สินของครัวเรือน
ตลอดจนลักษณะที่อยู่อาศัย โดยทําการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกเดือน (มกราคม - ธันวาคม 2562) จากครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศ
ข้อมูลด้านรายได้จะทำ�การสำ�รวจทุก 2 ปี เฉพาะปีที่ลงท้ายด้วยเลขคู่
การสำ�รวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2561 ไตรมาส 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2561) ดำ�เนินการโดย
สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) เริ่มสำ�รวจครั้งแรกใน พ.ศ. 2544 และตั้งแต่ พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา ได้ทำ�การสำ�รวจต่อเนื่องเป็นประจำ�ทุกปี
และนำ�เสนอการสำ�รวจเป็นรายไตรมาส เพื่อให้ทราบจำ�นวนประชากรที่ใช้คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ลักษณะและพฤติกรรม ในการใช้
อุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งจำ�นวนครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เช่น โทรศัพท์พื้นฐาน เครื่องโทรสาร เครื่อง
คอมพิวเตอร์ และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในครัวเรือน เป็นต้น
17
สารบัญ
คำ�นำ� 02
บทสรุปสำ�หรับผู้บริหารและข้อเสนอแนะ 04
แหล่งข้อมูล สถิติที่ใช้ในรายงานสถานการณ์
ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563 17
คำ�นิยามของ “ผู้สูงอายุ” 20
คำ�นิยามของสังคมสูงอายุ และสังคมสูงวัย 22
บทที่ 1 23
สถานการณ์ทั่วไป
1.1 การสูงวัยของประชากรโลก 24
1.1.1 การเปลี่ยนแปลงประชากรโลก อดีต จนถึงปัจจุบัน 25
1.1.2 ประชากรโลกในปี 2020
26
1.1.3 ประชากรสูงอายุในโลก 28 บทที่ 2
ผลกระทบของโควิด-19
1.1.4 วันผู้สูงอายุสากล 31 ต่อผู้สูงอายุในประเทศไทย
1.1.5 โรคระบาดของโลก 32 55
1.1.6 การระบาดของโควิด-19 ในปี 2020 34
1.17 กรณีศึกษาโควิด-19 กับผู้สูงอายุ 36 2.1 สถิติจำ�นวนผู้สูงอายุที่ติดเชื้อและเสียชีวิตจากโควิด-19
ในประเทศไทย
1.1.7.1 โควิด-19 กับผู้สูงอายุในสหรัฐอเมริกา 36 56
1.1.7.2 โควิด-19 กับผู้สูงอายุในอิตาลี 2.2 ผลกระทบของโควิด-19 ต่อผู้สูงอายุในประเทศไทย 57
38 2.2.1 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 57
2.2.2 ผลกระทบด้านสุขภาพ 61
1.1.7.3 โควิด-19 กับผู้สูงอายุในญี่ปุ่น 39 2.2.3 ผลกระทบด้านสังคม 65
1.2 การสูงวัยของประชากรอาเซียน 41 2.3 มาตรการความช่วยเหลือจากภาครัฐต่อ 68
ผู้สูงอายุที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 68
1.2.1 ขนาด และโครงสร้างอายุของ 2.3.1 มาตรการด้านเศรษฐกิจ 70
ประชากรอาเซียนในปี 2020 2.3.2 มาตรการด้านสุขภาพ 72
42 2.3.3 มาตรการด้านสังคม 74
1.2.2 ประชากรอาเซียนในอนาคต 46 2.4 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
1.3 การสูงวัยของประชากรไทย 47
1.3.1 ขนาด และโครงสร้างของประชากรไทย 48
1.3.2 ประชากรรุ่นเกิดล้านกำ�ลังจะเป็นผู้สูงอายุ 50
1.3.3 ประชากรสูงอายุไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า 52
18
บทที่ 3 บทที่ 5 113
สถานการณ์การดำ�เนินงาน งานวิจัยเพื่อสังคมผู้สูงอายุ
ด้านผู้สูงอายุในประเทศไทย
77
5.1 ผลกระทบของ COVID-19 ต่อผู้สูงอายุไทย 114
3.1 สุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุ 78 5.2 การสำ�รวจความเป็นอยู่และความต้องการด้านบริการ
3.2 รายได้เพื่อยังชีพของผู้สูงอายุ 80 และการดูแลสำ�หรับผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อย ในช่วงระหว่าง
3.3 การทำ�งานของผู้สูงอายุ 82 และหลังการใช้มาตรการปิดเมืองอันเนื่องมาจากการแพร่
3.4 ที่อยู่อาศัย 83 ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย 116
3.5 กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และแผนเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 84 5.3 การจัดบริการสังคมทางเลือกสำ�หรับผู้สูงอายุในสถานการณ์
3.6 การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การกีฬา และนันทนาการ วิกฤต: กรณีศึกษาช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 118
สำ�หรับผู้สูงอายุ 5.4 โครงการการพัฒนาแนวทางการดำ�เนินงานเพื่อให้เกิด
85
3.7 การอำ�นวยความสะดวกด้านต่างๆ แก่ผู้สูงอายุ 86 การจัดการชุดข้อมูลทางสังคมและสุขภาพของประชาชน
3.8 การสำ�รวจและเก็บข้อมูลด้านผู้สูงอายุ 87 รายเขตกรุงเทพมหานคร 120
3.9 มาตรการรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 สำ�หรับผู้สูงอายุ 88 5.5 โครงการติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์และแนวโน้มด้าน
ผู้สูงอายุ (Ageing Watch) ภายใต้โครงการ “จุฬาอารี” 122
บทที่ 4 บทที่ 6
สถานการณ์เด่นในรอบปี 2563 89 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับ
ผู้สูงอายุในด้านต่างๆ
4.1 ผู้สูงอายุแห่งชาติ ประจำ�ปี 2563 90 125
4.2 ศิลปินแห่งชาติประจำ�ปี พ.ศ. 2563 92
4.3 กฎกระทรวงเกี่ยวกับธุรกิจดูแลผู้สูงอายุ 96 บรรณานุกรม 132
4.4 โครงการบั๊ดดี้โฮมแคร์ ได้รับรางวัลใหญ่ประเภท คณะทำ�งาน 134
เทคโนโลยีและนวัตกรรม จาก HAPI 98
4.5 การสาธารณสุขทางไกลเบ่งบานในสถานการณ์โควิด-19
เพื่อประโยชน์ของผู้สูงอายุ 101
4.6 ในปี 2563 ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
ได้เริ่มพัฒนาขึ้นอย่างจริงจัง 103
4.7 นวัตกรรมเพื่อผู้สูงอายุ 107
4.8 สื่อรายการทีวีเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 109
19
คำ�นยิ ามของ ปัจจุบัน สหประชาชาติ (United Nations)
ยังไม่มีนิยามที่แน่นอน ว่าอายุเท่าไรจึงจะเรียก
ผู้สูงอายุ ว่าเป็น “ผู้สูงอายุ” (Older/ Elderly person)
แต่สหประชาชาติใช้อายุ 60 ปีขึ้นไปในการนำ�เสนอ
สถิติ ข้อมูล และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
ในขณะที่ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่ใช้อายุ 65 ปี
ขึ้นไป เป็นเกณฑ์ในการเรียก “ผู้สูงอายุ”
สำ�หรับประเทศไทย กำ�หนดนิยาม “ผู้สูงอายุ” ไว้ในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ ประเทศพัฒนาแล้ว�
พ.ศ. 2546 มาตรา 3 “ผู้สูงอายุ” หมายความว่า “บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปี ส่วนใหญ่ใช้
บริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย”
ในรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563 อายุ 65 ปีขึ้นไป
“ผู้สูงอายุ” หมายถึงผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์
• ผู้สูงอายุวัยต้น หมายถึง ผู้มีอายุ 60-69 ปี
• ผู้สูงอายุวัยกลาง หมายถึง ผู้มีอายุ 70-79 ปี ในการเรียก
• ผู้สูงอายุวัยปลาย หมายถึง ผู้มีอายุ 80 ปีขึ้นไป “ผู้สูงอายุ”
“ประชากรสูงอายุ” หมายถึงประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป
“อัตราผู้สูงอายุ” หมายถึง ร้อยละของผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งหมด
“การสูงวัยของประชากร” (Population ageing)
เป็นปรากฏการณ์ทางประชากรที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ทั่วโลกในช่วงทศวรรษ
ที่ผ่านมานี้ เมื่อประชากรในแต่ละพื้นที่ ตั้งแต่ชุมชน เขตปกครองระดับต่างๆ
ประเทศ ภูมิภาค ฯลฯ มีอายุสูงขึ้น โดยสังเกตได้จากสัดส่วนของประชากร
สงู อายุ หรอื อายมุ ธั ยฐานของประชากรทีเ่ พิม่ สงู ขึน้ ในประชากรปดิ หรอื ประชากร
ที่เปลี่ยนไปโดยไม่นับรวมการย้ายถิ่น การสูงวัยของประชากร มีสาเหตุมาจากการ
เกิดที่ลดลง และอายุของผู้คนยืนยาวขึ้น
20
“พฤฒิพลัง” (Active elderly)
เป็นคุณค่าทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของผู้สูงอายุ
ที่จะเป็นกำ�ลังให้กับสังคม เกิดขึ้นได้จากการมีนโยบาย ยุทธศาสตร์
และมาตรการต่างๆ ที่จะเอื้อให้สังคมสูงวัยอย่างมีพลัง
“วยาคติ” (Ageism) “การสูงวัยอย่างมีพลัง” (Active ageing)
วยาคติ (วย + อคติ) เปน็ แนวคดิ ทีแ่ สดงกระบวนการทีเ่ ราจะสรา้ งโอกาสใหก้ บั ตนเอง หรอื
มาจากคำ�ว่า วย (วัย หรืออายุ) ประชากรทุกเพศทุกวัยที่จะเติบโตเจริญวัยขึ้นอย่างมีสุขภาพดี
สนธิกับคำ�ว่า อคติ มีส่วนร่วมในทางเศรษฐกิจและสังคม และมีความมั่นคงในชีวิต
(ความลำ�เอียง หรือมีทัศนคติในทางลบ) เพอ่ื เปน็ การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของแตล่ ะบคุ คล หรอื ของกลมุ่ ประชากร
“วยาคต”ิ หมายถงึ อคตหิ รอื การเลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ บคุ คล หรอื กลมุ่ ให้สูงขึ้นตั้งแต่เกิดจนตาย
บคุ คลดว้ ยเหตแุ หง่ อายหุ รอื วยั อคตเิ ชน่ นอ้ี าจเกดิ ขน้ึ จากความเชอ่ื “การสูงวัยที่ยังประโยชน์” (Productive ageing)
ทัศนคติ ค่านิยม หรือบรรทัดฐานในทางลบที่มีต่อคนบาง เป็นกระบวนการดึงเอาศักยภาพของประชากรทุกเพศทุกวัยให้มี
กลุ่มอายุ ซึ่งนำ�ไปสู่ความลำ�เอียงหรือการเลือกปฏิบัติ เช่น การ ความสามารถในการผลิตหรือบริการที่เป็นประโยชน์และมีคุณค่า
ไม่รับฟังความเห็นของวัยรุ่น เพราะเห็นว่าเด็กเกินไป หรือการ ไมว่ า่ ผลผลติ หรอื บรกิ ารนัน้ จะใหผ้ ลตอบแทนเปน็ ตวั เงนิ หรอื ไมก่ ต็ าม
ไม่ยอมรับพฤติกรรมบางอย่างของผู้สูงวัย เพราะมีทัศนคติว่า “การสูงวัยอย่างมีสุขภาวะ” (Healthy ageing)
ผู้สูงอายุไม่ควรทำ�อย่างนั้น เป็นกระบวนการในการพัฒนาและรักษาไว้ซึ่งความสามารถในการ
โดยทั่วไป จะใช้คำ�ว่า “วยาคติ” ที่มีความหมายถึง อคติ หรือ ปฏิบัติภารกิจประจำ�วันที่ช่วยให้เกิดการอยู่ดีมีสุขในผู้สูงอายุ ซึ่งจะ
ทัศนคติเชิงลบ หรือการเลือกปฏิบัติต่อผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเฉพาะ เป็นไปได้ด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมและโอกาสที่จะช่วยให้ผู้คนได้
เช่น การมองว่าผู้สูงอายุเป็นภาระของครอบครัวและสังคม เป็นและได้ทำ�ในสิ่งที่ตนเห็นว่ามีคุณค่าตลอดช่วงชีวิต
ผู้สูงอายุเป็นผู้ต้องพึ่งพิงคนวัยแรงงาน ผู้สูงอายุมีภาพลักษณ์
ของความทรุดโทรมของสังขาร จนไม่สามารถเป็นผู้มีผลผลิต สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
อีกต่อไป (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2558) ได้ประกาศเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2020
วันผู้สูงอายุสากลปี 2016 มีคำ�ขวัญว่า “ร่วมกันยืนหยัดต่อต้าน ให้ปี 2021- 2030
วยาคติ” (Take a stand against ageism)
“เป็นทศวรรษแห่ง
การสูงวัยอย่างมีสุขภาวะ
(Decade of
healthy ageing)”
21
คำ�นิยามของ
สังคมสูงอายุ
และสังคมสูงวัย
คำ�ว่า “สังคมสูงอายุ” และ “สังคมสูงวัย” มีความหมายเหมือนกัน และใช้แทนกันได้
นายแพทย์บรรลุ ศิริพานิช ผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ได้อ้างถึงข้อเขียนของ
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ในหนังสือเรื่อง “สูงอายุเป็น ก็น่าเป็นผู้สูงอายุ”
ที่กล่าวว่า “อายุ” เป็นภาษาบาลี หมายถึง “พลังส่งต่อหล่อเลี้ยงชีวิต” และ “วัย” หมายถึง
“ความเสื่อม ความโทรม” จึงเสนอให้ใช้คำ�ว่า “สังคมสูงอายุ” เพื่อหมายถึง “สังคมที่
สูงด้วยพลังสืบต่อหล่อเลี้ยงชีวิต” ไม่ใช้คำ�ว่า “สังคมสูงวัย” เพราะมีความหมายสื่อไปใน
ทางลบว่าเป็นสังคมที่สูงด้วยความเสื่อมโทรม
ในรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563 นี้ จะใช้คำ�ว่า “สังคมสูงอายุ” โดยตลอด
“สังคมสูงอายุ” (Aged society)
หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด
(หรือประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 7)
“สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” (Complete-aged society)
หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด
(หรือประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 14)
“สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” (Super-aged society)
หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด
(หรือประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20)
“สังคมสูงอายุ” (Ageing society)
มีความหมายอีกอย่างหนึ่งคือ หมายถึง สังคมที่ประชากรกำ�ลังมีอายุสูงขึ้น สังเกตได้จาก
อัตราส่วนร้อยของประชากรสูงอายุเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ
22
สถานการณ์ท่วั ไป
01
23
1.1
สถานการณ์สงู วัย
ของประชากรโลก
24
1.1.1
การเปลี่ยนแปลงประชากรโลก
อดีตจนถึงปัจจุบัน
เ5มื่อพันปีก่อน คริสต(ค์ศเร.ักศิ่มร.ตา1้นช) ก่อนคริส3ต,0์ศ0ัก0ราปชี
ปี 1850
โลกของเรามีประชากรไม่ถึง 60 ล้านคน ปี 1928
ในสมัยนั้นมนุษย์เรามี
อายุคาดเฉลี่ย
ไม่ถึง 30 ปี
ปี 1960
จำ�นวนประชากรโลก
ปัจจุบันอายุคาดเฉลี่ยของมนุษย์ยืนยาวกว่า ปี 1974 (ล้านคน)
70 ปี ประชากรที่อาศัยในแอฟริกากลาง มีอายุ
คาดเฉลี่ยสั้นที่สุดเพียง 53 ปี ในขณะที่ชาวญี่ปุ่น ปี 1987 ปี 2020
มีอายุคาดเฉลี่ยสูงที่สุดในโลก คือ 85 ปี
ประชากรโลกเพิ่งเพิ่มจนถึงหลัก 100 ล้านคน แหล่งข้อมูล: UN, 2019 ในปี 2020
เมื่อประมาณ 2 พันปีที่ผ่านมา และเพิ่มขึ้นมา ประชากรโลก
ถึงพันล้านคนในราวต้นศตวรรษที่ 19 และถึง
2 พันล้านคนในต้นศตวรรษที่ 20 ได้เพิ่มเป็น
สหประชาชาติได้ประมาณว่า ประชากรของโลก
เพิ่มขึ้นถึง 5 พันล้านคน เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 7,795
1987 และได้ประกาศให้วันที่ 11 กรกฎาคมของ ล้านคน
ทุกปี เป็น “วันประชากรโลก” ตั้งแต่นั้นมา
25
1.1.2 อเมริกาเหนือ
ประชากรโลกในปี 2020 85ประชากรอายุ ล้านคน
โลกของเราไดก้ ลายเปน็ “สงั คมสงู อาย”ุ มาตง้ั แตป่ ี 2001 60 ปีขึ้นไป
เมอื่ ประชากรอายุ 60 ปขี น้ึ ไปมสี ดั สว่ นสงู ขนึ้ รอ้ ยละ 10 หรือคิดเป็น 23.1 %
ของประชากรทั้งหมด และประชากรโลกยังคงมีอายุ
สูงขึ้นเรื่อยๆ 15ประชากรอายุ ล้านคน
ในปี 80 ปีข้ึนไป
หรือคิดเป็น 4.0 %
2020
ประชากรทั้งหมด
โลกมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป
จำ�นวน 1,050 ล้านคน หรือคิดเป็น 369 ล้านคน
ร้อยละ13.5 การกระจายตัวตามภูมิภาค
ของประชากรทั้งหมด 60+ 8.1%
80+ 10.2%
ลาตินอเมริกา
และคาริบเบียน
85ประชากรอายุ ล้านคน
60 ปีขึ้นไป
หรือคิดเป็น 13.0 %
12ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีข้ึนไป
หรือคิดเป็น 1.9 %
0-14 ปี (25.4%) ประชากรทั้งหมด
654 ล้านคน
1,984 ล้านคน
15-59 ปี (61.1%) ประชากรสูงอายุวัยปลาย หรือผู้ที่มีอายุ
80 ปีขึ้นไปได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมาก
4,761 ล้านคน เมื่อ 10 ปีก่อน โลกของเรามีผู้สูงอายุ
วัยปลายมีอยู่เพียง 100 ล้านคน หรือ
ผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 1.5
แต่ในปี 2020 ผู้สูงอายุวัยปลายมีจำ�นวน
60 ปีขึ้นไป (13.5%) เพิ่มขึ้นเป็น 146 ล้านคน หรือคิดเป็น
ร้อยละ 1.9 ของประชากรทั้งหมด
1,050 ล้านคน
แหล่งข้อมูล: UN, 2019
26
ยุโรป
192ประชากรอายุ ล้านคน
60 ปีข้ึนไป
หรือคิดเป็น 25.7 %
40ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีข้ึนไป
หรือคิดเป็น 5.3 % เอเชีย
ประชากรท้ังหมด 607ประชากรอายุ ล้านคน
748 ล้านคน 60 ปีขึ้นไป
หรือคิดเป็น 13.1 %
72ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีข้ึนไป
หรือคิดเป็น 1.5 %
ประชากรทั้งหมด
4,641 ล้านคน
แอฟริกา ภาคพื้นมหาสมุทร
74ประชากรอายุ ล้านคน 7ประชากรอายุ ล้านคน
60 ปีข้ึนไป 60 ปีขึ้นไป
หรือคิดเป็น 17.5 %
หรือคิดเป็น 5.5 %
1ประชากรอายุ ล้านคน
6ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีข้ึนไป
80 ปีข้ึนไป หรือคิดเป็น 3.0 %
หรือคิดเป็น 0.4 %
ประชากรท้ังหมด
ประชากรท้ังหมด
43 ล้านคน
1,341 ล้านคน
แหล่งข้อมูล: UN, 2019
ทวีปเอเชียมีประชากรสูงอายุ (60 ปีข้ึนไป) มากถึง 607 การเพ่ิมข้ึนของผู้สูงอายุวัยปลาย (80 ปีข้ึนไป) เป็นเรื่องที่
ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 57.8 ของผู้สูงอายุของ นา่ สนใจ ในปี 2020 ผสู้ งู อายวุ ยั ปลายในทวปี เอเชยี มจี �ำนวน
ท่ัวโลก ผู้สูงอายุวัยปลาย (80 ปีขึ้นไป) ชาวเอเชียก็มีมาก มากถึง 72 ล้านคน คิดเป็นอัตราผู้สูงอายุวัยปลาย
ท่ีสุดเช่นกันคือมีจ�ำนวนมากถึง 72 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ร้อยละ 1.5 ของประชากรทุกวัยในทวีปนี้ ทวีปที่มีอัตรา
49.1 ของผู้สูงอายุวัยปลายทั่วโลก 146 ล้านคน ผสู้ งู อายวุ ยั ปลายสงู ทสี่ ดุ ในโลกไดแ้ ก่ ยโุ รป รอ้ ยละ 5.3 และ
หากวัดระดับความสูงวัยของประชากรด้วยอัตราสูงอายุ รองลงมาเป็นอเมริกาเหนือ ร้อยละ 4.0 ทวีปที่มีอัตรา
ทวีปยุโรปมีอัตราผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) สูงท่ีสุดในโลกคือ ผู้สูงอายุวัยปลายต่�ำสุด ได้แก่ แอฟริกา ซึ่งมีเพียงร้อยละ
ร้อยละ 25.7 รองลงมาคือ ทวีปอเมริกาเหนือที่มีอัตรา 0.4 เท่าน้ัน
ผสู้ งู อายรุ อ้ ยละ 23.1 ทวปี ทมี่ ปี ระชากรเยาวว์ ยั ทส่ี ดุ ไดแ้ ก่
แอฟริกาที่มีอัตราผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 5.5 27
1.1.3
ประชากรสูงอายุในโลก
ประเทศที่มีจำ�นวนผู้สูงอายุ
มากที่สุด 10 ลำ�ดับแรกของโลก
จีน ลำ�ดับ ประเทศ ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุวัยปลาย
60 ปีขึ้นไป 80 ปีข้ึนไป
เป็นประเทศ (ล้านคน)
ที่มีจำ�นวนประชากร (ล้านคน)
มากที่สุดในโลก
และยังมีผู้สูงอายุ 1 จีน 250 27
จำ�นวนมากที่สุด 2 อินเดยี 140 13
ในโลกอีกด้วย 3 สหรฐั อเมริกา 76 13
4 ญป่ี ุ่น 43 11
ในปี 5 รัสเซีย 33 6
6 บราซลิ 30 4
2020 7 อนิ โดนเี ซยี 28 2
8 เยอรมนี 24 6
จีนมีประชากรจำ�นวน 1,439 ล้านคน 9 อิตาลี 18 5
และมีผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 10 ฝร่งั เศส 18 4
250 ล้านคน แหล่งข้อมูล: UN, 2019
ตามมาด้วยอินเดียที่มีประชากรจำ�นวน
1,380 ลา้ นคน และมผี ูส้ งู อายุ (60 ปขี ึน้ ไป)
มากเป็นอันดับ 2 ของโลก มี 140 ล้านคน
จีนมีผู้สูงอายุวัยปลาย (80 ปีขึ้นไป)
27 ล้านคน ซึ่งมากกว่าจำ�นวนประชากร
ของออสเตรเลยี ทัง้ ประเทศ (25.5 ลา้ นคน)
28
ญี่ปุ่น ทั้ง 10 ประเทศนี้
ล้วนเป็นประเทศ
เป็นประเทศที่มี ที่เป็นสังคมสูงอายุ
อัตราผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ระดับสุดยอดแล้ว
มากที่สุดในโลก
ร้อยละ 34.3
ประชากร 1 ใน 4 ของ
ประชากรญี่ปุ่นเป็นผู้สูงอายุ
65 ปีขึ้นไป (ร้อยละ 28.4)
ประเทศที่มีอัตราผู้สูงอายุมากที่สุดในโลก 10 อันดับแรก
ประเทศ จำ�นวน จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวน ร้อยละ ร้อยละ
ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร
1 ญป่ี ่นุ ท้ังหมด 60 ปีขึ้นไป 60 ปีขึ้นไป 80 ปีข้ึนไป 80 ปีขึ้นไป 65 ปีขึ้นไป
2 อติ าลี (ล้านคน) (ล้านคน) (ล้านคน)
3 โปรตเุ กส
4 ฟนิ แสนด์ 126.5 43.4 34.3 11.4 9.0 28.4
5 กรีซ 60.5 18.0 7.5 23.3
6 เยอรมนี 10.2 29.8 4.5 6.7 22.8
7 โครเอเชยี 3.0 5.6 22.6
8 บลั แกเรยี 5.5 1.6 29.4 0.7 7.5 22.3
9 มอลตา 10.4 3.0 7.0 21.7
10 สโลวเี นยี 83.8 24.0 29.0 0.3 5.7 21.3
1.2 4.7 21.5
4.1 2.0 28.8 0.8 4.9 21.3
6.9 0.1 5.5 20.7
0.4 0.6 28.6 5.9
2.1
28.3 0.2
28.2 0.3
28.1 0.0
27.7 0.1
แหล่งข้อมูล: UN, 2019
29
สหรัฐอาหรับ
เอมิเรตส์
มีอัตราผู้สูงอายุ
ต่ำ�ที่สุดในโลก
ร้อยละ
3.1
ประเทศที่มีอัตราผู้สูงอายุ
เท่านั้น ต่ำ�สุด 10 อันดับแรกของโลก
ทุกประเทศ ยกเว้นสหรัฐอาหรับ จำ�นวน จำ�นวน ร้อยละ
เอมิเรตส์ ล้วนอยู่ในทวีปแอฟริกา ลำ�ดับ ประเทศ ประชากร ประชากร ประชากร
ทั้งหมด 60 ปีขึ้นไป 60 ปีข้ึนไป
(ล้านคน) (ล้านคน)
3.1
1 สหรฐั อาหรับ 9.9 0.3 3.2
เอมิเรตส์ 1.5 3.4
0.6 3.6
2 ยูกนั ดา 45.7 0.1 3.7
1.2 3.8
3 แซมเบยี 18.4 0.1 3.9
0.8 3.9
4 กาตาร์ 2.9 0.8 3.9
0.6 3.9
5 แองโกลา 32.9 0.1
6 อเิ ควทอเรยี ลกนิ ี 1.4
7 มาลี 20.3
8 บูรก์ ินาฟาโซ 20.9
9 ชาด 16.4
10 แกมเบีย 2.4
แหล่งข้อมูล: UN, 2019
30
1.1.4 Pandemics:
Do They Change
วันผู้สูงอายุสากล How We Address
International Day Age and Ageing?
of Older Persons - IDOP
1 ตุลาคมของทุกปี การแพร่ระบาดใหญ่ของโควิด-19
ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
สมชั ชาใหญแ่ หง่ สหประชาชาตไิ ดม้ มี ตเิ มอื่ วนั ที่ 14 ธนั วาคม
1990 ให้ถือเอาวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปี เป็น “วันผู้สูงอายุ การจัดการแก้ปัญหาของผู้สูงอายุ
สากล” (International Day of Older Persons) เพื่อ และการสูงวัยอย่างไร หรือไม่
ปลุกให้ชาวโลกตื่นตัว ตระหนักรู้ และหันมาสนใจต่อความ
ต้องการ โอกาส และความท้าทายที่กำ�ลังเกิดขึ้นกับกลุ่ม คำ�ขวัญวันผู้สูงอายุสากล
ประชากรสูงอายุ โดยเฉพาะเรื่องการตระหนักถึงคุณูปการ ปี 2020
ของผู้สูงอายุที่มีต่อสังคม การคำ�นึงถึงสิทธิและคุณค่าของ
ความเป็นมนุษย์ ตลอดจนการหาวิธีป้องกันการกระทำ�ที่ การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปี 2563 ส่งผลกระทบ
รุนแรงต่อผู้สูงอายุ1 ต่อการดำ�เนินชีวิต และผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยง
ต่อการเสียชีวิตสูงที่สุด ทำ�ให้มาตรการต่างๆ มุ่งเป้าเพื่อ
วันผู้สูงอายุสากลในปี 2020 สร้างความตระหนักถึงความต้องการของผู้สูงอายุ และ
มีจุดมุ่งหมาย การทำ�ประโยชน์ของผู้สูงอายุเพื่อสุขภาพของตนเองและ
• เ พื่อเผยแพร่เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ “ทศวรรษแห่ง บทบาทอื่นๆ เพื่อเตรียมรับมือการแพร่ระบาดครั้งนี้หรือ
ที่กำ�ลังจะเกิดขึ้นในอนาคต
การสูงอายุอย่างมีสุขภาวะ”
• เพื่อสร้างความตระหนักถึงความต้องการพิเศษของ 31
สุขภาพผู้สูงอายุ และการทำ�ประโยชน์เพื่อสุขภาพของ
ตนเองและหน้าที่อื่นๆ ในชุมชนที่อาศัยอยู่
• เพื่อสร้างความตระหนักและการรับรู้คุณค่าของ
บุคลากรทางด้านสุขภาพในการดูแลและส่งเสริม
สุขภาพของผู้สูงอายุ ร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์
• เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ�ทางสุขภาพของผู้สูงอายุใน
ประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำ�ลังพัฒนาโดยไม่ทิ้ง
ใครไว้ข้างหลัง (Leave no one behind)
• เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการแพร่
ระบาดของโควิด-19 ต่อผู้สูงอายุ รวมทั้งผลกระทบที่มี
ต่อนโยบายและการวางแผนด้านสุขภาพ และทัศนคติ
ของผู้คน
1.1.5 จากเชอื้ แบคทเี รยี มกี ารระบาดจากอนิ เดยี ไปยงั
อเมริกาเหนือ ตะวันออกกลาง ยุโรปตะวันออก
โรคระบาดในโลก และรัสเซีย และการระบาดใหม่เกิดขึ้น
อีกหลายครั้ง เช่น ในปี 1961 เรียกว่า เป็นการ
โลกของเราเผชิญการระบาดของโรคมาหลายครั้ง ระดับ ระบาดใหญ่ครั้งที่ 7 การระบาดเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ความรนุ แรงมตี งั้ แตก่ ารระบาดของโรคประจ�ำ ถิน่ ไปจนถงึ นำ�ไปสู่การประกาศ The Global Roadmap
การระบาดที่กระจายไปหลายทวีป โดยเฉพาะเมื่อการ to 2030
เดินทางระหว่างประเทศเป็นไปได้สะดวก การระบาดไป
หลายประเทศทั่วโลกอย่างรวดเร็วจึงยังคงเกิดขึ้น อหิวาตกโรค
1910-1911
รกชุน่วางรแทรระี่เงกบิดาด
1347 - 1351 กลางศตวรรษที่ 18 1918 - 1920
โรคฝีดาษหรือไข้ทรพิษ
กาฬโรค ไข้หวัดใหญ่สเปน
ระบาดในหลายประเทศแถบยุโรป
มีการเจ็บป่วยและการตายจำ�นวน ในช่วงปี 1500 และระบาดรุนแรง ระบาดไปหลายประเทศทั่วโลก
มากในหลายประเทศแถบยุโรป อีกครั้งในช่วงศตวรรษที่ 18 อัตรา มผี เู้ สยี ชวี ติ ราว 20 – 100 ลา้ นคน
ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษามีอัตรา การเสียชีวิตจากโรคนี้สูงถึง 30%
การเสียชีวิต 30% - 100% พบ ความพยายามที่จะกำ�จัดโรคนี้ให้
ผู้เสียชีวิตมากถึง 200 ล้านคน ใน หายไปจากโลกสำ�เร็จ เมื่อองค์การ
ชว่ งปี 2010-2015 ยงั พบผูเ้ สยี ชวี ติ อนามัยโลกได้ประกาศว่าฝีดาษได้
จากกาฬโรค 584 ราย แม้ว่า ถูกกำ�จัดไปจากโลกของเราแล้วใน
ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยจากกาฬโรค ปี 1980
บ้างแต่ก็สามารถรักษาให้หายได้
ด้วยยาปฏิชีวนะเนื่องจากเป็นการ
ติดจากเชื้อแบคทีเรีย
32
ในระยะ 20 ปี ที่ผ่านมา พบการระบาดในหลายประเทศ พบในปี 1976 และเริ่มระบาด
ได้แก่ การ์ตา จอร์แดน ฝรั่งเศส รุนแรงครั้งแรกในประเทศแถบ
โรคไข้หวัดใหญ่ อิตาลี และตูนิเซีย แอฟริกาในปี 2014-2016
สายพันธุ์ใหม่ และไวรัส มีผู้เสียชีวิตกว่า 10,000 ราย
โคโรนา ระบาดในหลาย โรคทางเดินหายใจ หลังจากนั้นมีการระบาดภายใน
ประเทศ ตะวันออกกลาง บางประเทศต่อเนื่องมาจนถึง
(Middle East ปี 2021
พบการระบาดใน Respiratory
Syndrome: MERS) การระบาดจาก
29 2012 เชื้อไวรัสอีโบล่า
2014 - 2016
ประเทศทั่วโลก
2002-2003
ในปี 2003 มีอัตรา
ป่วยตายร้อยละ 9.7
1956 - 1958 2005 - 2012 2019
ไข้หวัดใหญ่เอเชีย โรคเอดส์
จากไวรัส H2N2 โควิด-19
พบผู้ป่วยติดเชื้อครั้งแรกในปี
เ ป็ น ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย จ า ก ไ ข้ ห วั ด ใ ห ญ่ 1981 ในประเทศสหรัฐอเมริกา ล่าสุดโควิด-19
ทรี่ นุ แรงจนระบาดในจนี ฮอ่ งกง สงิ คโปร์ ความพยายามหยุดยั้งการแพร่ กำ�ลังระบาด
และสหรัฐอเมริกา มีจำ�นวนผู้เสียชีวิต เชื้อไวรัส HIV โดย UNAIDS ตั้ง ครั้งใหญ่ใน
จากการประมาณโดยองคก์ ารอนามยั โลก เป้าหมายยุติปัญหาเอดส์ทั่วโลก
จำ�นวน 2 ล้านคน ในปี 2030 122
ประเทศทั่วโลก
33
1.1.6
การระบาดของโควิด-19 ในปี 2020
ตั้งแต่ต้นปีจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 20202
ทั่วโลก มีผู้เสียชีวิต อัตราผู้เสียชีวิต
มีผู้ติดเชื้อโควิด-19 เพราะการติดเชื้อโควิด-19 จากโควิด-19 เท่ากับ
เปน็ จ�ำ นวน 83.5 ลา้ นคน คดิ เปน็ 1.8 234
อัตราผู้ติดเชื้อโควิด-19 เท่ากับ ล้านคน
คนต่อประชากรล้านคน
10,715
อัตราผู้เสียชีวิต
คนตอ่ ประชากรลา้ นคน
คิดเป็นอัตราผู้เสียชีวิต
ในเอเชีย จากโควิด-19 ในเอเชีย เท่ากับ
จำ�นวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในเอเชียจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2563 มีจำ�นวน 73
20,695,037 คน และมีผู้เสียชีวิต 337,412 คน อัตราผู้ติดเชื้อในเอเชีย
ต่อล้านคนเท่ากับ 4,460 คน อัตราผู้เสียชีวิตต่อล้านคนเท่ากับ 72.7 คน คนต่อประชากรล้านคน
มีผู้ติดเชื้อโควิด-19 มีผู้เสียชีวิต
เปน็ จ�ำ นวน 20.7 ลา้ นคน คดิ เปน็ เพราะการติดเชื้อโควิด-19
อัตราผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในเอเชีย ในเอเชีย
เท่ากับ
3.4
4,460 แสนคน
คนต่อประชากรล้านคน
34
ประเทศ
ที่มีผู้ติดเชื้อโควิด-19
มากที่สุด คือ
สหรัฐอเมริกา
10 ประเทศที่มีผู้ติดเชื้อโควิด-19 มากที่สุด
ลำ�ดับ ประเทศ จำ�นวน จำ�นวน อัตราผู้เสียชีวิต
ผู้ติดเช้ือ ผู้เสียชีวิต ด้วยโควิด-19
(ล้านคน) (พันคน) (ต่อล้านคน)
1 สหรัฐอเมริกา 20.1 352 1,063
149 108
2 อนิ เดีย 10.3 195 917
3 บราซลิ 7.7 56 386
65 992
ในปี 2563 ประเทศที่มีผู้ติดเชื้อ 4 รสั เซยี 3.1
โควิด-19 มากที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา 74 1,084
มีจำ�นวนมากกว่า 20.1 ล้านคน รอง 5 ฝรัง่ เศส 2.7 21 248
ลงมาคืออินเดีย มีผู้ติดเชื้อจำ�นวน 74
มากกว่า 10.3 ล้านคน อันดับ 3 คือ 6 สหราชอาณาจักร 2.5 51 1,227
บราซิล มีผู้ติดเชื้อจำ�นวน 7.7 ล้านคน 34 1,087
ผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 ใน 3 ประเทศที่ 7 ตุรกี 2.2
มีผู้ติดเชื้อมากที่สุด ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 403
อินเดีย และบราซิล มีจำ�นวนรวมแล้ว 8 อิตาลี 2.1
เกือบ 7 แสนคน หรือคิดเป็นประมาณ 9 สเปน 1.9
ร้อยละ 39 ของผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 10 เยอรมนี 1.8
ทั่วทั้งโลก2
แหล่งข้อมูล: Our World in Data, 2020
35
1.1.7
กรณีศึกษาโควิด-19 กับผู้สูงอายุ
1.1.7.1 ผสู้ ูงอายชุ าวอเมริกนั
มีโอกาสเสียชีวติ
โควิด-19 ดว้ ยโควดิ -19
มากกว่าเดก็ ถงึ
กับผู้สูงอายุ
ในสหรัฐอเมริกา 1,000 เท่า
1ใน3 ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2020 สหรัฐอเมริกา มีผู้ติดเช้ือ
ของผู้เสียชวี ิต มากกว่า 20 ล้านคน อัตราผู้ติดเช้ือ 60,609 คนต่อประชากร
จากการติดเช้อื 1 ล้านคน มีจำ�นวนผู้เสียชีวิต 351,817 คน หรือคิดเป็นอัตรา
โควดิ -19 ผูเ้ สียชวี ติ 1,063 คนต่อประชากรลา้ นคน รอ้ ยละ 95 ของผู้เสียชวี ิตใน
ในสหรัฐอเมรกิ า สหรฐั อเมริกา อายุ 50 ปขี ึ้นไป2
พบในบา้ นพกั ผู้สงู อายุ ความเสี่ยงที่จะมีอาการรุนแรงจากการติดเชื้อโควิด-19 ของผู้สูงอายุ
เพิ่มมากขึ้นเมื่ออายุสูงขึ้น ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไปเสี่ยงที่จะมีอาการ
รุนแรงกว่าผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และผู้สูงอายุ 85 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยง
สูงที่สุด3
ผู้เสียชีวิตในสหรัฐอเมริกา 8 ใน 10 คนเป็นผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป เมื่อ
เปรียบเทียบกับเด็ก 5-17 ปี ผู้สูงอายุเสี่ยงติดเชื้อสูงกว่าเด็ก 2 เท่า
และผู้สูงอายุชาวอเมริกันมีโอกาสเสียชีวิตด้วยโควิด-19 มากกว่าเด็ก
ถึง 1,000 เท่า3
36
อัตราการติดเชื้อและอัตราตายด้วยโควิด-19
จำ�แนกตามกลุ่มอายุ ในสหรัฐอเมริกา ปี 20203
ร้อยละการติดเชื้อของประชากร
ต่ำ�กว่า
ผูเ้ สยี ชีวิตใน
สหรัฐอเมริกา
81คใ0นน
เป็นผู้สงู อายุ 65 ปขี น้ึ ไป
ร้อยละการตายของผู้ติดเชื้อ
แหล่งข้อมูล: Centers for Disease Control and Prevention, CDC COVID Data Tracker.
Based on available data as of Oct 29, 2020
อัตราการติดเชื้อโควิด-19 ในสถานดูแลผู้สูงอายุ (Nursing home) หรือ
ที่อยู่อาศัยเพื่อการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long-term care facilities)
มีเพียงร้อยละ 4 ของผู้ติดเชื้อในสหรัฐอเมริกา แต่พบอัตราการเสียชีวิต
สูงถึงร้อยละ 33 ของผู้ที่เสียชีวิตทั้งหมดในประเทศ4
ภายในปี 2020 มีผู้พักอาศัยและเจ้าหน้าที่ในสถานดูแลผู้สูงอายุเสียชีวิต
จากโควิด-19 จำ�นวนมากกว่า 1 แสนคน พบผู้เสียชีวิตในที่พักอาศัยเพื่อ
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวมากที่สุดในรัฐนิวแฮมเชียร์ โรดไอแลนด์ และ
คอนเนตทิคัต ตามลำ�ดับ รวมผู้เสียชีวิตใน 3 รัฐนี้คิดเป็นร้อยละ 70 ของ
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดในสหรัฐอเมริกา5
37
1.1.7.2
โควิด-19 อัตราผเู้ สียชีวิต
กับผู้สูงอายุในอิตาลี จากโควดิ -19
ในปี 2020 อิตาลีมีประชากรจ�ำนวน 60.5 ล้านคน สัดส่วน ในอติ าลีเทา่ กบั
ประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไป และ 80 ปีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ
29.8 และ 7.5 ตามล�ำดับ อัตราเกิดเท่ากับ 7.0 ต่อ 1,227
ประชากรพันคน อัตราตายเท่ากับ 10.9 ต่อประชากรพัน
คน อัตราเจริญพันธุ์รวมเท่ากับ 1.32 ตอ่ ประชากรลา้ นคน
ในปี 2020 โควิด-19 ได้แพร่ระบาดไปท่ัวโลก อิตาลีเป็น
ประเทศหนง่ึ ทมี่ จี �ำนวนผตู้ ดิ เชอ้ื มากเปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก วนั ที่ 31 ธันวาคม 2020 อิตาลมี ผี ู้ตดิ เชอื้ มากกวา่ 2 ลา้ นคน
ท้ังๆ ท่ีอิตาลีมีประชากรประมาณ 60.5 ล้านคน6 อัตราผู้ติดเช้ือ 34,851 คนต่อประชากรล้านคน มีจ�ำนวน
นอ้ ยกวา่ ประชากรของประเทศไทยเลก็ นอ้ ยเพยี ง 5 ลา้ นคน ผู้เสียชีวิต 74,159 คน หรือ คิดเป็นอัตราผู้เสียชีวิตด้วย
อิตาลีมีอัตราตายสูงประมาณ 11 ต่อประชากรพันคน ซึ่ง โควิด-19 จ�ำนวน 1,227 คนต่อประชากรล้านคน
เทา่ กบั วา่ ชาวอติ าลเี สยี ชีวติ โดยเฉลี่ยปลี ะ 6 แสน 6 หม่นื คน ผู้เสียชีวิตด้วยโควิด-19 เกือบทั้งหมดเป็นผู้สูงอายุ
แต่ในช่วงปี 2020 ท่ีมีการระบาดของโควิด-19 จ�ำนวน ผู้เสียชีวติ ท่มี อี ายุ 65-79 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 20 และผู้สงู อายุ
ตายได้เพ่ิมขึ้นจากจ�ำนวนตายเฉล่ียในแต่ละปีอีกประมาณ วัยปลายท่ีเสียชีวิตด้วยโควิด-19 คิดเป็นอัตราส่วน
1 แสนคน เท่ากับเพ่ิมข้ึนร้อยละ 157 รอ้ ยละ 76 ของผู้เสียชวี ติ ทัง้ หมด8
อติ าลเี ปน็ ประเทศทม่ี อี ตั ราผสู้ งู อายสุ งู เปน็ อนั ดบั 2 รองจาก
ผู้เสียชวี ติ ด้วยโควดิ -19 ญปี่ ุ่น คือ มผี สู้ ูงอายุ (อายุ 60 ปีขนึ้ ไป) คิดเป็นร้อยละ 29.8
เกอื บท้ังหมดเป็น ของประชากรท้งั หมด และมอี ตั ราผ้สู งู อายวุ ยั ปลาย (80 ปี
ขนึ้ ไป) สูงถงึ ร้อยละ 7.5 โครงสรา้ งประชากรสงู อายุน้ีเองท่ี
ผสู้ ูงอายุ ท�ำให้อิตาลีได้รับผลกระทบอย่างมากจากการแพร่ระบาด
ของไวรัสโควิด-19 ผู้สูงอายุชาวอิตาลีใกล้ชิดกับบุตรหลาน
38 เปน็ อย่างมาก แม้ผู้สงู อายุจะไมไ่ ดอ้ าศยั อยูใ่ นบ้านเดียวกัน
กับลูก แต่ส่วนใหญ่อาศัยอยู่บริเวณใกล้กัน ประชากรทาง
เหนือของประเทศมากกวา่ ครง่ึ เดนิ ทางระหวา่ งเมอื งเพ่อื ไป
ท�ำงาน วิถีชีวิตของชาวอิตาลีท่ีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด
ระหวา่ งสมาชกิ ครอบครัว การพบปะกนั บ่อยครง้ั และการ
เดินทางระหว่างเมือง ท�ำให้อัตราการแพร่ระบาดและ
เสียชีวิตในกลมุ่ ผูส้ งู อายุสูงมาก7
1.1.7.3
โควิด-19
กับผู้สูงอายุในญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นเปน็ ประเทศที่มี ญี่ปุ่นมีบ้านพักผู้สูงอายุ (Long-term care nursing
home) จ�ำนวนมากเพ่ือรองรับความต้องการท่ีเพ่ิมข้ึนตาม
อตั ราผสู้ ูงอายุ จ�ำนวนผู้สูงอายุ การแพร่ระบาดของโควิด-19 ท�ำให้การให้
สูงทีส่ ดุ ในโลก บรกิ ารบา้ นพกั ผสู้ งู อายตุ อ้ งปรบั ตวั เพอ่ื รกั ษาระยะหา่ ง โดย
มีฉากไวนิลก้ันเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ผู้สูงอายุ งดและลดกิจกรรมที่ผู้สูงอายุมารวมตัวกัน เช่น การร้อง
นับเป็นกลุ่มเส่ียงต่อการป่วยและการตายเมื่อติดเชื้อสูงสุด เพลงคาราโอเกะ การออกก�ำลังกายร่วมกัน และกิจกรรม
เรียกได้ว่าประชากรสูงอายุเป็นกลุ่มเปราะบาง เมื่อเกิดการ ทางสังคมต่างๆ ผู้สูงอายุจ�ำนวนมากออกจากบ้านพักเพียง
แพร่ระบาดของโควิด-19 ที่น่าสนใจอย่างยิ่ง สัปดาห์ละคร้ังหรือไม่ออกจากบ้านพักเลย9
ญี่ปุ่นเป็นประเทศท่ีมีอัตราผู้สูงอายุสูงที่สุดในโลก การรักษาระยะห่างทางสังคมท่ียาวนานขึ้นท�ำให้ร่างกาย
ในปี 2020 สัดส่วนของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปในญ่ีปุ่น และจิตใจของผู้สูงอายุเสื่อมถอยลง โดยเฉพาะผู้ที่มีภาวะ
สูงถึงร้อยละ 34.3 ของประชากรท้ังหมด 126.5 ล้านคน สมองเสื่อม ความซึมเศร้าและความกังวลใจท�ำให้มีจ�ำนวน
ญ่ีปุ่นมีผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) มากถึง ผู้สูงอายุท่ีเข้ามาขอรับค�ำปรึกษาเพ่ิมข้ึนมาก อย่างไรก็ตาม
ร้อยละ 9.06 น่าสนใจว่าเหตุการณ์โควิด-19 ในประเทศท่ี น่าจะยังมีผู้สูงอายุอีกจ�ำนวนไม่น้อยที่ไม่กล้าเข้ามารับ
มีผู้สูงอายุ (60 ปีข้ึนไป) มากถึง 1 ใน 3 ของประชากร ค�ำปรึกษาเพราะคิดว่าเป็นเรื่องน่าอายและเป็นตราบาป
ท้ังหมดจะเป็นอย่างไร คุณหมอจะแนะน�ำให้ผู้สูงอายุรับประทานอาหารตามมื้อ
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม ปี 2020 ญี่ปุ่นมีผู้ติดเชื้อโควิด-19 ปกติ นอนหลบั พกั ผอ่ นและออกก�ำลงั กายดว้ ยการเดนิ อยา่ ง
จ�ำนวน 235,811 คน อตั ราผตู้ ดิ เชอ้ื 1,864 คนตอ่ ประชากร เพียงพอ ปิดโทรทัศน์เพื่อลดการรับข่าวเก่ียวกับโควิด-19
ล้านคน มีจ�ำนวนผู้เสียชีวิต 3,292 คน หรือ คิดเป็นอัตรา ทม่ี ากเกนิ ไป รวมทง้ั รกั ษาการตดิ ตอ่ กบั สมาชกิ ในครอบครวั
ผเู้ สยี ชวี ติ 26 คนตอ่ ประชากร 1 ลา้ นคน2 แมญ้ ป่ี นุ่ มจี �ำนวน และเพ่ือน เพื่อไม่ให้เกิดโรคซึมเศร้า อันเป็นปัจจัยเสี่ยง
ผู้สูงอายุมาก แต่การเสียชีวิตในผู้สูงอายุต่�ำกว่าประเทศ ท่ีน�ำไปสู่ภาวะสมองเส่ือม9
ตะวันตกเป็นอย่างมาก
การรักษาระยะห่าง
ทางสงั คมท่ียาวนานขนึ้
ทำ�ให้รา่ งกายและจติ ใจ
ของผู้สูงอายุเส่อื มถอยลง
39
27ในญี่ปุ่น
ร้อยละ
ของผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
เริ่มมีภาวะหลงลืม
และทำ�อะไรซ้ำ�ๆ
การส�ำรวจประชากรอายุ 40 ปีข้ึนไปจ�ำนวน 8,000 คน ผู้สงู อายุทป่ี ่วยหนกั บางราย
ในญ่ีปุ่น พบว่า ร้อยละ 27 ของผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไปเร่ิมมี ปฏิเสธการเดนิ ทางไปรักษาตวั
ภาวะหลงลืมและท�ำอะไรซ�้ำๆ ประมาณคร่ึงหน่ึงของ
ผู้สูงอายุสูญเสียความแข็งแรงของร่างกาย ผู้สูงอายุ ทีโ่ รงพยาบาลและ
วัยปลายท่ีไม่สามารถขับรถได้แล้ว ไม่สามารถออกไปซื้อ ขอใชเ้ วลาทีเ่ หลอื อยใู่ นบา้ น
อาหารเองได้ และตลาดอยู่ไกลจากที่พัก จึงใช้วิธีการ
ส่ังวัตถุดิบเพ่ือปรุงอาหารและของใช้สัปดาห์ละคร้ัง กบั สมาชกิ ในครอบครวั
กิจกรรมการรวมตัวกันท่ีลดลงท�ำให้เกิดกิจกรรมแบบ ความทา้ ทายชว่ งการ
ออนไลน์ ได้แก่ คอนเสิร์ต ช่วงเวลาออกก�ำลังกาย และเกม
ตอบค�ำถามฝึกสมองและความจ�ำ รวมถึงการท่องเที่ยว แพร่ระบาดน้ี คอื การวางแผน
แบบเสมือนจริงที่พาไปเย่ียมชมสถานท่ีต่างๆ9 การรักษาล่วงหน้าและเข้าใจ
ความปรารถนาสดุ ท้ายของ
40 ผสู้ งู อายุ ก่อนที่พวกเขาจะไม่
สามารถส่อื สารได9้
1.2
การสงู วัยของ
ประชากรอาเซยี น
41
1.2.1 ปี 2020
ประเทศสมาชิกอาเซียน
ขนาด และโครงสร้างอายุของ
ประชากรอาเซียนในปี 2020 6 ประเทศ
ปี 1999 อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไน ได้กลายเป็นสังคมสูงอายุแล้ว
กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย เมียนมา
สิงคโปร์ ไทย และ เวียดนาม ในปีนั้นประชากรในอาเซียน
มีจำ�นวน 517 ล้านคน อัตราผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
ร้อยละ 7.3 และอัตราผู้สูงอายุวัยปลาย (80 ปีขึ้นไป) เพียง
ร้อยละ 0.7
ปี 2020 อาเซียนมีจำ�นวนประชากรรวมทั้งหมด
664 ล้านคน มีผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 73 ล้านคน คิดเป็น
อัตราผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ร้อยละ 11.0 มีผู้สูงอายุ
วัยปลาย (80 ปีขึ้นไป) 7.6 ล้านคน หรือคิดเป็นอัตรา
ผู้สูงอายุวัยปลาย ร้อยละ 1.1
ในปี 2020 ประเทศสมาชิกอาเซียนมากถึง 6 ประเทศ
ได้กลายเป็นสังคมสูงอายุแล้ว เรียงตามลำ�ดับอัตรา
ผู้สูงอายุจากมากไปน้อยได้ดังนี้ สิงค์โปร์ (ร้อยละ 20.9)
ไทย (ร้อยละ 18.1) เวียดนาม (ร้อยละ 12.3) มาเลเซีย
(ร้อยละ 11.0) อินโดนีเซีย (ร้อยละ 10.1) และ เมียนมา
(ร้อยละ 10.0) ซึ่งเพิ่งเป็นสังคมสูงอายุในปีนี้เอง
ลาว และ กัมพูชา
ยังเป็นประเทศที่ประชากรเยาว์วัยที่สุดของอาเซียน
โดยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป
ไม่ถึงร้อยละ 7 เท่านั้น
42
พีระมิดประชากรอาเซียน 664ประชากรอาเซียน
2020 ล้านคน
7.6ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีข้ึนไป
หรือคิดเป็น 1.1 %
อายุ 73
60 ปีขึ้นไป
ล้านคน (11.0%)
อายุ 424
15-59 ปี
ล้านคน (63.8%)
อายุ 167
ต่ำ�กว่า 15 ปี
ล้านคน (25.2%)
แหลง่ ขอ้ มลู : UN, 2019
ชาย หญิง
อินโดนีเซีย
เป็นประเทศที่มีประชากร
มากที่สุดในอาเซียน
274 ล้านคน
และมีจำ�นวนผู้สูงอายุมากที่สุด
27.5 ล้านคน
43
ประชากรของประเทศในอาเซียน ไทย
ปี 2020
จำ�นวนประชากร
แหลง่ ขอ้ มูล : UN, 2019, * สศช., 2562
66.5 ล้านคน*
1.4ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีขึ้นไป
หรือคิดเป็น 2.0 %
อายุ 12.0
60 ปีขึ้นไป ล้านคน (18.1 %)
อายุ 43.3 (65.0%)
15-59 ปี (16.9 %)
ล้านคน
ชาย หญิง อายุ 11.2
ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน
อนิ โดนีเซยี 2.4ประชากรอายุ ล้านคน
จำ�นวนประชากร 80 ปีขึ้นไป
หรือคิดเป็น 0.9 %
273.5 ล้านคน
อายุ 27.5
60 ปีขึ้นไป ล้านคน (10.1 %)
อายุ 175.1 (64.0%)
(25.9 %)
15-59 ปี ล้านคน
อายุ 70.9
ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน
ลาว มาเลเซีย
จำ�นวนประชากร จำ�นวนประชากร
7.3 ล้านคน 32.3 ล้านคน
0.04ประชากรอายุ ล้านคน 0.4ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีขึ้นไป 80 ปีขึ้นไป
หรือคิดเป็น 0.5 % หรือคิดเป็น 1.2 %
อายุ 0.5 อายุ 3.5
60 ปีขึ้นไป ล้านคน (6.8 %) 60 ปีขึ้นไป ล้านคน (11.0%)
อายุ 4.5 (61.3%) อายุ 21.2 (65.6%)
15-59 ปี (31.9 %) 15-59 ปี (23.4 %)
ล้านคน ล้านคน
อายุ 2.3 อายุ 7.6
ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน
44
เมยี นมา 0.4ประชากรอายุ ล้านคน กมั พชู า 0.1ประชากรอายุ ล้านคน
จำ�นวนประชากร 80 ปีขึ้นไป จำ�นวนประชากร 80 ปีข้ึนไป
54.4 ล้านคน 16.7 ล้านคน
หรือคิดเป็น 0.8 % หรือคิดเป็น 0.6 %
อายุ 5.4 อายุ 1.2
60 ปีขึ้นไป ล้านคน (10.0 %) 60 ปีขึ้นไป ล้านคน (7.6 %)
อายุ 35.1 (64.5%) อายุ 10.3 (61.5%)
15-59 ปี (25.5 %) 15-59 ปี (30.9 %)
ล้านคน ล้านคน
อายุ 13.9 อายุ 5.2
ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน
เวียดนาม บรไู น
จำ�นวนประชากร จำ�นวนประชากร
97.4 ล้านคน 0.4 ล้านคน
1.9ประชากรอายุ ล้านคน 0.003ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีขึ้นไป 80 ปีขึ้นไป
หรือคิดเป็น 1.9 % หรือคิดเป็น 0.8 %
อายุ 12.0 (12.3 %) อายุ 0.04
60 ปีขึ้นไป ล้านคน 60 ปีขึ้นไป ล้านคน (9.5 %)
อายุ 62.8 (64.5%) อายุ 0.3 (68.2%)
15-59 ปี (23.2 %) 15-59 ปี (22.3 %)
ล้านคน ล้านคน
อายุ 22.6 อายุ 0.1
ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน
ฟิลปิ ปินส์ สงิ คโปร์
จำ�นวนประชากร จำ�นวนประชากร
109.5 ล้านคน 5.8 ล้านคน
0.9ประชากรอายุ ล้านคน 0.1ประชากรอายุ ล้านคน
80 ปีขึ้นไป 80 ปีข้ึนไป
หรือคิดเป็น 0.8 % หรือคิดเป็น 2.3 %
อายุ 9.4 (8.6 %) อายุ 1.2 (20.9 %)
60 ปีขึ้นไป ล้านคน 60 ปีขึ้นไป ล้านคน
อายุ 67.2 (61.4%) อายุ 3.9 (66.8%)
15-59 ปี (30.0 %) 15-59 ปี (12.3 %)
ล้านคน ล้านคน
อายุ 32.9 อายุ 0.7
ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน ต่ำ�กว่า 15 ปี ล้านคน
45
1.2.2 ภายในปี 2040
ทุกประเทศในอาเซียน
ประชากรอาเซียนในอนาคต
จะกลายเป็น
ในอีก 20 ปีข้างหน้า คือปี 2040 สหประชาชาติ6 ประมาณว่า “สังคมสูงอายุ”
ประชากรอาเซียนจะมีจำ�นวน 764 ล้านคน
อาเซียนจะมีประชากรสูงอายุ 60 ขึ้นไป จำ�นวน 143 ล้านคน หรือ
คิดเป็นร้อยละ 18.7 มีประชากรสูงอายุ 80 ขึ้นไป จำ�นวน 19.6
ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.6
อีก 20 ปีข้างหน้า จะมี 4 ประเทศในอาเซียนที่เป็นสังคมสูงอายุ
อยา่ งสมบรู ณ์ ไดแ้ ก่ สงิ คโปร์ ไทย บรไู น และ เวยี ดนาม โดยสงิ คโปร์
และไทย จะเป็น “สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” แล้ว
จำ�นวนประชากร (ล้านคน) และร้อยละของประชากรต่อประชากรทั้งหมด
จำ�แนกตามกลุ่มอายุ ปี 2040
ประเทศ จำ�นวนประชากร (ล้านคน) (%)
บรูไน อายุ 0-14 ปี อายุ 15-59 ปี อายุ 60 ปีขึ้นไป
กัมพูชา 0.1 (22.6%)
0.1 (16.2%) 0.3 (61.2%) 2.3 (11.1%)
5.0 (24.1%) 13.3 (64.8%)
อินโดนีเซีย 66.9 (21.0%) 194.3 (61.0%) 57.4 (18.0%)
ลาว 2.1 (23.9%) 5.8 (64.5%) 1.0 (11.6%)
มาเลเซีย 7.3 (18.8%) 24.6 (63.4%) 6.9 (17.8%)
เมียนมา 12.9 (21.1%) 38.5 (62.8%) 9.9 (16.1%)
ฟิลิปปินส์ 32.3 (23.8%) 84.7 (62.5%) 18.6 (13.7%)
สิงคโปร์ 0.7 (10.9%) 2.3 (36.3%)
ไทย 8.4 (12.8%) 3.4 (52.8%) 20.5 (31.4%)
เวียดนาม 19.4 (18.0%) 36.5 (55.8%) 23.8 (22.1%)
อาเซียน 155.1 (20.3%) 64.5 (59.9%) 142.9 (18.7%)
465.9 (61.0%)
แหล่งข้อมูล : UN, 2019 หมายเหตุ : ประชากรไทยใช้ข้อมูล สศช., 256210
46
1.3
การสงู วยั ของ
ประชากรไทย
47
1.3.1 ปี 2565
ขนาด และโครงสร้างของ ประเทศไทยจะเข้าสู่
ประชากรไทย “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์”
ปี 2563 ประชากรไทยมีจำ�นวนรวม 66.5 ล้านคน
อัตราส่วนเพศเป็นผู้ชาย 93 คนต่อผู้หญิง 100 คน
มีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 12 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 18.1
ของประชากรทั้งหมด
ประเทศไทยกำ�ลังจะกลายเป็น “สังคมสูงอายุอย่าง
สมบูรณ์” ภายในปี 2565 นี้ เท่ากับว่าประเทศไทย
ใช้เวลาตั้งแต่เริ่มเป็น “สังคมสูงอายุ” ในปี 2548
เมื่ออัตราส่วนของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงขึ้น
ถึงร้อยละ 10 จนกลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์
ในปี 2565 เป็นเวลา 17 ปี
โครงสร้างอายุของประชากรไทยได้เปลี่ยนไปอย่างมาก
ในรอบครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา จากประชากรเยาว์วัยมาเป็น
ประชากรสงู วยั ในปี 2513 ประเทศไทยมปี ระชากรสงู อายุ
60 ปีขึ้นไปเพียง 1.7 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 4.9 ของ
ประชากรทั้งหมด ในปี 2563 ประชากรสูงอายุได้เพิ่มเป็น
12.0 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 18.1 ของประชากรทั้งหมด
ปี 2513 ปี 2563 ชาย หญิง
จำ�นวนประชากร จำ�นวนประชากร 60+
34.4 ล้านคน 66.5 ล้านคน 15-59
0-14
4.9 % 60+ 18.1 %
50.0 % 15-59 65.0 %
45.1 % 0-14 16.9 %
แหลง่ ข้อมลู : สศช., 256210
48