The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pear.pykm, 2020-02-19 20:17:58

kurasu con

kurasu con

โครงงานคอมพิวเตอรพัฒนาสอื่ เพ่อื การศึกษา
เรื่อง แอพพลิเคช่ัน Kurasu

นายสริ ภพ ผจู ัดทำ เลขท่ี 1
นางสาวมณฑนันท ศรีชู ชนั้ ม.5/1 เลขท่ี 12
นางสาวสลลิ รดา กลุ พาณชิ ย ช้นั ม.5/1 เลขที่ 13
นางสาวพลอยกมล เลขที่ 33
ลาภธนวรกลุ ชยั ชั้น ม.5/1
เรืองชยั ศิลป ช้ัน ม.5/1

นำเสนอ
คณุ ครปู รชี า กจิ จาการ

โครงงานฉบับนเี้ ปน สว นหนงึ่ ของรายวิชา ว32121 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปการศกึ ษา 2562

โรงเรยี นราชวินติ บางแกว



คำนำ

โครงงานคอมพิวเตอร เรอ่ื ง แอพพลเิ คช่ันเพือ่ การศกึ ษา kurasu เลมน้ี เปน สวนหนงึ่ ของวิชา ว32121

เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดทำช้ึนเพ่อื สรา งแอพพลิเคชนั่ เพ่อื การศึกษา kurasu ท่จี ะเปนสือ่ กลางในการสง่ั การบานของ

คณุ ครู และการสงการบา นของนกั เรยี น และเพ่ือเพ่มิ ความสะดวกสบายในการตดิ ตอสอื่ สารของครแู ละนักเรียนดาน

การเรียนการสอนในวันทโี่ รงเรยี นหยุด หรอื ไมมกี ารเรยี นการสอน

คณะผจู ัดทำหวังเปนอยางยงิ่ วา โครงงานนจ้ี ะเปนประโยชนในการที่จะทำใหค ณุ ครู นักเรยี น และบคุ คลากร

ในการศึกษาเกิดความสะดวกสบายในการสั่งงานและการสงงานแบบเปน กลุม นักเรยี นและคุณครูสามารถ

ติดตอ ส่อื สารกนั ดานการเรยี นการสอนไดสะดวกมากยิง่ ขึ้น และชว ยลดภาระในการเรียนการสอนเพิ่มเตมิ

คณะผจู ัดทำ
วนั ที่ 19 กมุ ภาพันธ 2563

สารบัญ

เรอ่ื ง หนา
บทคดั ยอ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทท่ี 1 บทนำ 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกยี่ วของ 3
บทที่ 3 วิธกี ารดำเนินงาน 4
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 5
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ 8
บรรณานุกรม 9



ช่อื โครงงาน โครงงานแอพพลิเคชั่นเพ่ือการศึกษา kurasu

ผูจดั ทำ นายสริ ภพ ศรีชู

นางสาวมณฑนันท กลุ พาณิชย

นางสาวสลิลรดา ลาภธนวรกลุ ชยั

นางสาวพลอยกมล เรืองชัยศิลป

ครูทีป่ รึกษา นายปรชี า กิจจาการ

สถานศึกษา โรงเรยี นราชวินิตบางแกว

บทคดั ยอ

โครงงานแอพพลเิ คชน่ั เพอ่ื การศึกษา kurasu น้ีจัดทำขึ้นเพ่อื สรา งแอพลเิ คช่นั เพ่อื การศกึ ษา kurasu เปน

ส่ือกลางในการสง่ั การบา นของคณุ ครู และการสงการบา นของนักเรยี น และเพื่อเพ่ิมความสะดวกสบายในการ

ตดิ ตอ ส่อื สารของครูและนกั เรยี นดา นการเรยี นการสอนในวันทีโ่ รงเรียนหยุด หรอื ไมม กี ารเรียนการสอน โดยมี

ประชากรตวั อยา งคือ นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 โรงเรียนราชวินติ บางแกว จำนวน 30 คน และใชร ะยะเวลาในการ

ทำโครงงานตั้งแตเ ดือนมกราคม 2563 – เดอื นกมุ ภาพนั ธ 2563 จัดทำขึน้ โดยไดผลดงั นี้

จากการสำรวจความพึงพอใจในการใชง านแอพลเิ คชั่นของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 5 โรงเรยี นราชวนิ ติ บาง

แกว โดยใชแบบสอบถามออนไลน พบวาแอพพลิเคช่ันเพ่อื การศกึ ษา Kurasu สามารถสรา งความสะดวกสบาย มคี วาม

เสถยี ร สามารถแกปญหาทีส่ งผลกระทบตอ ระบบการศกึ ษาไดใ นระดบั เปน แหลง ความรู และมีความสวยงาม ในระดับ

4.36 ในคาเฉลี่ย ซง่ึ ในภาพรวมแลว แอพพลิเคชน่ั เพือ่ การศกึ ษา Kurasu สามารถใชเ ปนสอ่ื กลางในการสงั่ การบาน

ของคณุ ครู และการสง การบานของนักเรยี น ชว ยเพม่ิ ความสะดวกสบายในการติดตอสือ่ สารของครแู ละนักเรยี นดา น

การเรียนการสอนในวนั ที่โรงเรียนหยดุ หรอื ไมมกี ารเรียนการสอน และสามารถลดผลกระทบจากปญ หาของระบบ

การศกึ ษาได เปนไปตามวัตถุประสงค



กิตติกรรมประกาศ

โครงงานนี้สำเรจ็ ลลุ วงไดดว ยความกรุณาจากครปู รชี า กิจจาการ อาจารยท ป่ี รกึ ษาโครงงานทไี่ ดใ หค ำ
เสนอแนะ แนวคดิ ใหการอนเุ คราะหสนับสนุนดานอุปกรณและสถานที่ ตลอดจนแกไขขอ บกพรอ งตา ง ๆ มาโดย
ตลอด จนโครงงานเลมนีเ้ สร็จสมบรู ณ ผูศกึ ษาจึงขอกราบขอบพระคณุ เปน อยา งสูง
ขอขอบพระคุณเพือ่ น ๆ ที่ใหความรว มมอื และชว ยใหคำแนะนำดีๆเก่ยี วกับการพฒั นาแอพพลเิ คชน่ั และเกี่ยวกับ
โครงงานน้ี

ในทายที่สดุ นี้ ขอแสดงความขอบพระคุณครอบครัวอันเปน ทรี่ ัก ครู อาจารยท ่ีเคารพทกุ ทาน ตลอดจนเพ่ือน
นกั ศกึ ษาผเู ปนกลั ยาณมติ รทกุ ทานที่ไดใหการสนับสนุนชว ยเหลอื ในทุก ๆ ดานและใหกำลงั ใจท่ีดีเสมอมา ขอมอบคุณ
งามความดแี ละประโยชนท ไ่ี ดรับจากการศึกษาคนควาดว ยตนเองฉบับนแ้ี กผมู ีพระคุณทกุ ทาน

คณะผูจัด

1

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ท่ีมาและความสำคญั

เนอื่ งจากระบบการศึกษาของประเทศไทยมงุ เนน ไปในเชิงทฤษฎี จึงมีเนื้อหาการศกึ ษาในแตละวิชา

คอ นขา งมาก จนในบางครัง้ ทำใหค ุณครูผูสอนมีเวลาไมมากพอในการสอนเนือ้ หาวิชาการใหครบตามทีก่ ระทรวงการ

ศกึ ษาธิการไดกำหนดไว รวมถงึ การทค่ี ณุ ครหู รอื นักเรียนไมไ ปโรงเรียน ไมว าจะดว ยวันหยุดเทศกาล อาการเจ็บปว ย

หรือแมกระท่ังการลากิจ เปน สาเหตุใหก ารเรียนการสอนไมต อ เนอื่ ง นักเรียนตามบทเรียนไมทัน เกดิ ภาระงานทค่ี า งคา

มากยิ่งข้ึน ทำใหนกั เรยี นและคณุ ครูตองหาเวลาในการเรยี นและการสอนนอกตารางเรยี นเพิม่ เตมิ เพอื่ ใหไ ดเน้อื หา

บทเรยี นท่คี รบถว น จงึ ทำใหสง ผลกระทบโดยรวมตอการเรียนการสอนในชีวติ ประจำวนั ของทงั้ คณุ ครแู ละนักเรียน อกี

ทั้งในปจจุบันการศึกษาของประเทศไทยและประเทศตา งๆไดพฒั นาเปล่ยี นแปลงกนั ไปตามยคุ สมยั โดยเฉพาะอยางยิ่ง

เทคโนโลยที ่ีเขา มาเกี่ยวขอ งกับชีวติ ประจำวันกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ การนำเทคโนโลยเี ขา มามีสว น

ชวยในเรือ่ งการศึกษาจงึ จะชว ยทำใหคณุ ภาพการศึกษาพฒั นาไปในทางทด่ี ีมากยิง่ ขน้ึ

คณะผูจ ัดทำจงึ ไดจ ดั ทำโครงงานคอมพิวเตอร “ แอพพลเิ คช่ันเพอ่ื การศกึ ษา kurasu” ข้นึ เพ่ือเปนสื่อกลางใน

การสง่ั การบา นของคุณครู และการสงการบา นนักเรียน เพอ่ื ใหเ กิดความสะดวกสบายในการเรียนการสอนมากยง่ิ ขึน้

1.2 วตั ถปุ ระสงค
1. เพอ่ื สรางแอพพลิเคชัน่ เพอื่ การศึกษา kurasu

2. เพื่อใหแอพพลเิ คชั่น kurasu เปนสอ่ื กลางในการส่งั การบานของคณุ ครู และการสงการบานของนกั เรยี น
3. เพ่ือเพ่ิมความสะดวกสบายในการติดตอสื่อสารของครแู ละนกั เรยี นดา นการเรียนการสอนในวนั ที่โรงเรียน

หยดุ หรอื ไมมีการเรยี นการสอน

1.3 กรอบแนวคิดในการวิจยั

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม
แอพลิเคชนั่ เพอื่ การศกึ ษา ประสิทธิภาพในการแกไขปญหาของแอพลิเคช่นั

1.4 ตัวแปรที่ศกึ ษา
ตวั แปรตน : แอพลเิ คชน่ั เพอ่ื การศึกษา Kurasu

ตวั แปรตาม : ประสทิ ธภิ าพในการแกไ ขปญ หาดา นการเรียนการสอน ของแอพลเิ คชั่น Kurasu

2

1.5 คำถามในการวจิ ัย
1. แอพพลเิ คชัน่ เพอ่ื การศึกษา kurasu ชว ยแกไ ขปญ หาการสงั่ งานและการสง งานไดมากย่ิงขนึ้ หรือไม
2. แอพพลิเคชั่นเพ่อื การศกึ ษา kurasu ใชงานงา ยและสะดวก หรือไม
3. แอพพลเิ คชนั่ เพือ่ การศึกษา kurasu ชว ยทำใหการเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ หรอื ไม

1.6 สมมตฐิ านการวิจัย
1. แอพพลิเคชัน่ เพ่อื การศกึ ษา kurasu ชว ยแกไขปญหาการสัง่ งานและการสง งานไดม ากยง่ิ ข้ึน
2. แอพพลเิ คช่ันเพอ่ื การศกึ ษา kurasu ใชง านงายและสะดวก
3. แอพพลิเคชน่ั เพ่อื การศึกษา kurasu ชว ยทำใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ

1.7 ขอบเขตการวจิ ยั
1. ขอบเขตดา นประชากร
กลมุ เปา หมาย : นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 5 โรงเรยี นราชวนิ ติ บางแกว จำนวน 30 คน
2. ขอบเขตดานระยะเวลา
ระยะเวลาในการดำเนนิ การ : เดอื นมกราคม 2563 ถึง เดือนกุมภาพันธ 2563

1.9 ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรับ
1. ไดแอพพลเิ คชน่ั เพือ่ การศึกษา kurasu
2. นักเรยี นและคุณครสู ามารถติดตอ สอ่ื สารกันดานการเรียนการสอนไดสะดวกมากยง่ิ ขนึ้
3. ลดภาระของคุณครูและนักเรียนในการเรียนเพม่ิ เตมิ นอกเวลาเรยี น

3

บทท่ี 2
เอกสารทเ่ี กี่ยวของ

2.1 การเรียนรผู า นสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส
E-Learning หมายถึง การจัดกระบวนการและการใชประโยชนจากส่อื ทางอิเล็กทรอนกิ สโ ดยเฉพาะ

คอมพิวเตอรและระบบอินเทอรเนต็ ท่ีออกแบบการเรยี นการสอนอยา งเปน ระบบเพอื่ ใหเ กิดการเรยี นรไู ดท กุ ทไ่ี มยึด
ติดกับเวลาและความกาวหนา ในการเรยี นรู จึงทำใหมีความพยายามพัฒนาการเรียนการสอนแบบออนไลนม ากขึ้น
ซ่งึ การสรา งเวบ็ เพอ่ื การเรยี นการสอนก็เปนสวนหนึ่งของ e-Learning

2.2 การสรางแอพพลิเคชนั
Thunkable เปน เคร่อื งมือสรางโมบายแอพพลเิ คชนั เพ่ือตดิ ต้ังบนสมารตโฟนท่ีใชระบบปฏบิ ัติการ Android,

iOS โดยเครือ่ งมอื ที่ใชในการสรา งนนั้ นอกจากเครื่องมอื พน้ื ฐานแลว ยงั มกี ารเช่อื มตอไปยังผลติ ภัณฑจ าก Google ,
Twitter และ Microsoft โดยชุดคำส่งั หลงั จากทอี่ อกแบบหนา จอดวยเครอ่ื งมอื ตา ง ๆ Thunkable คือเวบ็ ไซตทใ่ี ห
เราสามารถสรา งโมบายแอปพลิเคชัน ใชงานได และมปี ระโยชน ตามแนวคดิ “Thunkable enables anyone to
create beautiful and powerful mobile apps”

2.3 E-book
e-book ยอมาจากคำวา electronic book คอื หนงั สือทสี่ รางขน้ึ ดวยโปรแกรมคอมพวิ เตอร มลี ักษณะเปน

เอกสาร อิเล็กทรอนกิ ส โดยปกติมกั จะเปน แฟม ขอมลู ทีส่ ามารถอานเอกสารผา นทางหนาจอคอมพวิ เตอร ท้ังในระบบ
ออฟไลนแ ละออนไลน

คุณลกั ษณะของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกสสามารถเชอ่ื มโยงจดุ ไปยงั สวนตา งๆ ของหนังสอื เวบ็ ไซตตางๆ ตลอดจน
มีปฏสิ ัมพันธและโตต อบกับผูอ านได นอกจากน้นั หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ สสามารถแทรกภาพ เสยี ง ภาพเคล่อื นไหว
แบบทดสอบ และทั้งยงั มีความสะดวกตอ การเผยแพรและจดั พมิ พเปน เอกสาร อีกประการหน่ึงท่ีสำคญั ก็คือ หนังสือ
อเิ ลก็ ทรอนิกสส ามารถปรับปรงุ ขอมลู ใหทันสมยั ไดตลอดเวลา ซ่ึงคุณสมบตั เิ หลา น้ีจะไมม ใี นหนังสอื ธรรมดาท่ัวไป
ลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกสจ ะมคี วามคลายคลงึ กบั หนังสือทั่วไปที่ พมิ พดวยกระดาษ หากจะมคี วามแตกตา งท่ี
เหน็ ไดชดั เจนก็ คือ กระบวนการผลิต รปู แบบ และวธิ กี ารอา นหนงั สอื

2.4 เคร่ืองมอื ทำแบบสอบถาม
Google Form เปน สวนหนงึ่ ในบริการของกลมุ Google Docs ท่ชี วยใหเราสรางแบบสอบถามออนไลน หรอื

ใชส ำหรับรวบรวมขอ มูลไดอยางรวดเรว็ โดยทีไ่ มต องเสยี คาใชจาย ในการใชงาน Google Form ผูใชสามารถนำไป
ปรบั ประยุกตใชง านไดหลายรปู แบบอาทิ เชน การทำแบบฟอรมสำรวจความคดิ เหน็ การทำแบบฟอรมสำรวจความพงึ
พอใจ การทำแบบฟอรมลงทะเบยี น และการลงคะแนนเสยี ง เปนตน

4

บทท่ี3
วธิ ีการดำเนินโครงงาน

ในการจดั ทำโครงงานคอมพิวเตอร การสรางแอพพลิเคชน่ั ดว ย thunkable เรอ่ื งแอพพลิเคชนั่ เพอื่ การศกึ ษา
KURASU นี้ ผจู ัดทำโครงงานมีวธิ ีดำเนินงานโครงงาน ตามขัน้ ตอนดังตอไปนี้

3.1 วสั ดุ อปุ กรณ เคร่อื งมอื หรอื โปรแกรมหรอื ที่ใชใ นการพัฒนา
3.1.1 เครื่องคอมพวิ เตอร พรอ มเชอ่ื มตอระบบเครือขายอนิ เทอรเนต็

3.1.2 เว็บไซตท ่ีใหบรกิ าร www.thunkable.com
3.1.3 เวบ็ ไซตท ี่ใชใ นการนำเสนอขอมูล เชน www.anyflip.com

3.1.4 เวบ็ ไซตใ นการทำแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ https://docs.google.com/forms

3.2 ข้ันตอนการดำเนินงาน
3.2.1 คดิ หวั ขอโครงงานเพอ่ื นำเสนอครูทป่ี รึกษาโครงงาน
3.2.2 ศกึ ษาและคนควาขอมลู ที่เก่ยี วของกับเรอ่ื งที่สนใจคือเรือ่ งแอพพลเิ คชนั่ เพื่อการศกึ ษาKURASU

วา มีเนือ้ หามากนอ ยเพยี งใด และตอ งศกึ ษาคนควาเพม่ิ เตมิ เพยี งใดจากเวบ็ ไซตตา งๆและเก็บขอ มูลไวเ พอื่ จดั ทำเน้ือหา
ตอ ไป

3.2.3 ศึกษาการสรางเวบ็ บล็อกท่สี รางจากเว็บไซตช อื่ www.thunkable.com จากการท่คี รูประจำวชิ า
นำเสนอเทคนคิ และวิธกี ารสรางเวบ็ บลอ็ ก

3.2.4 จัดทำโครงรางโครงงานคอมพวิ เตอรเ พอ่ื นำเสนอผานเว็บบลอ็ กของตัวเอง โดยไดน ำไฟลขอ มูลไปไวท ี่
เวบ็ ไซตชือ่ www.anyflip.com

3.2.5 ปฏิบัตกิ ารจัดทำโครงงานคอมพวิ เตอรก ารพัฒนาเว็บบล็อกดวย thunkable เรอื่ งแอพพลเิ คชนั่ เพอ่ื
การศกึ ษาKURASUโดยการสรา งบทเรยี นที่สนใจตามแบบเสนอโครงรา งทไี่ ดจดั ทำไวแลว

3.2.6 นำเสนอรายงานความกา วหนาเปนระยะๆโดยแจงใหครทู ี่ปรกึ ษาโครงงาน ซึ่งครูทป่ี รกึ ษาโครงงานจะ
ใหข อ เสนอแนะตางๆเพื่อจัดทำเน้อื หาและการนำเสนอทน่ี าสนใจตอ ไป ท้งั นเี้ มอ่ื ไดรับคำแนะนำก็จะนำมาปรับปรุง
แกไขใหเปนที่สนใจยิง่ ข้ึน อกี ทั้งยังสรางแบบสอบถาม https://docs.google.com/forms เพ่ือใหเพ่อื นๆมาชวยให
ขอ เสนอแนะและสื่อสารกนั หากมีขอ สงสัยเก่ียวกับการสรางและพฒั นาเว็บบลอ็ กดังกลาว

3.2.7 จดั ทำเอกสารรายงานโครงงานคอมพวิ เตอร โดยนำเสนอในรูปแบบe-bookและนำฝากขอ มูลไฟล
ดงั กลาวไวท ี่เวบ็ www.anyflip.com

3.2.8 ใหค รทู ี่ปรกึ ษาหรือเพ่ือนๆทส่ี นใจเขา รบั ชมทาง Youtube

5

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน

จากการศกึ ษาการสรางแอพพลเิ คฃัน่ เพ่อื การศึกษาในการจดั ทำโครงงาน ไดผลการดำเนินงานดงั นี้
4.1 แอพพลเิ คชันเพอ่ื การศกึ ษา Kurasu

จากการเปด ใชงาน แอพพลเิ คชั่น Kurasu มีลำดับการทำงานดังนี้

4.1.1หนา แรกแอพพลเิ คชนั่ Kurasu

4.1.2 กรอกช่ือผใู ชในชอ ง name เพ่ือใหปรากฏในหนาถดั ไป

6

4.1.3 กรอกชื่อดานบนเพอ่ื เปนการระบตุ วั ตนในหนา รวมขอมูล พิมพในชอง Type here เพ่อื พมิ พข อ มลู
กดปุม camera เพื่อไปที่กลองถายรูป
กดปุม library เพ่ือไปคลงั รูปภาพ
กดปมุ submit เพื่อยืนยนั และสง ขอมลู ไปยังหนา รวมขอ มลู
และกดปมุ feed เพอื่ ไปยังหนา รวมขอมูล

7

4.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ
จากการทำแบบสอบถามความพงึ พอใจในการใชแ อพพลเิ คชั่นเพอ่ื การศึกษา Kurasu ผานเวบ็ ไซต Google

Form โดยมีกลุม ตวั อยา งทัง้ หมด 30 คนและมีเกณฑระดับความพงึ พอใจ 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 =
นอย และ 1 = ควรปรับปรุง ไดผ ลดงั ตาราง

รายการ 5 ระดบั ความพึงพอใจ 1 คาเฉลยี่
20 432 - 4.48
ความสะดวกสบายจากการใชแอพพลิเคช่นั Kurasu 16 731 - 4.26
ความเสถยี รของแอพพลเิ คชนั่ Kurasu 861
แอพพลิเคชน่ั Kurasu สามารถชวยแกป ญ หาการเรียน 17 1 4.32
การสอนได 94 -
แอพพลิเคช่ัน Kurasu เปน แหลง สง ตอ ความรไู ดจ ริง 14 1 4.29
ความสวยงามและความนา ใชข องแอพพลเิ คช่นั 14 2
Kurasu 17 - 4.45
11 3 -

8

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ

5.1 สรปุ ผลและอภปิ รายผล
จากการศึกษาการสรางแอพพลิเคฃั่นเพอ่ื การศกึ ษา Kurasu และจากขอมูลท่ีไดจ ากแบบสำรวจความพงึ

พอใจในการใชง านแอพพลเิ คฃ่นั โดยใชแบบสอบถามออนไลน Google Form จากกลุมตวั อยางจำนวน 30 คน สรุปได
วา แอพพลิเคชนั่ เพอ่ื การศกึ ษา Kurasu สามารถสรา งความสะดวกสบาย มีความเสถียร สามารถแกป ญหาทส่ี งผล
กระทบตอ ระบบการศกึ ษาไดใ นระดับ เปนแหลง ความรู และมีความสวยงาม ในระดับ 4.36 ในคาเฉลี่ย ซงึ่ ในภาพรวม
แลว แอพพลเิ คช่นั เพอ่ื การศึกษา Kurasu สามารถใชเ ปนสื่อกลางในการสัง่ การบานของคณุ ครู และการสง การบา น
ของนักเรยี น ชว ยเพิม่ ความสะดวกสบายในการติดตอส่อื สารของครูและนักเรยี นดา นการเรียนการสอนในวนั ท่ีโรงเรยี น
หยุด หรือไมมีการเรียนการสอน และสามารถลดผลกระทบจากปญ หาของระบบการศกึ ษาได เปนไปตามวัตถปุ ระสงค
และสมมติฐาน

5.2 ปญ หาและอุปสรรค
จากการปฏบิ ัตโิ ครงงาน ทางผูจดั ทำไดป ระสบปญหาตา งๆ เชน ระยะเวลาในการทำโครงงานทคี่ อ นขางนอย

สงผลใหผลงานไมม ีความละเอยี ดและมีประสทิ ธภิ าพทมี่ ากพอ และในการสรางแอพพลเิ คช่นั น้ันตองใชค วามชำนาญ

และความฝกฝน ซ่ึงทางผูจัดทำไมเคยมีประสบการณใ นการทำแอพพลเิ คชน่ั ทำใหป ระสบกับปญหามากมายซึ่งตอ ง
ไดรับความชว ยเหลอื จากคุณครทู ี่ปรึกษา

5.3 ขอ เสนอแนะ
จากขอมูลท่ีไดจ ากแบบสอบถามความพึงพอใจ ทางผูจัดทำไดขอเสนอจากกลุมตัวอยาง ไดแ ก ควรเพ่มิ

ความสามารถของแอพพลเิ คชน่ั ใหมากขนึ้ ใหเหมาะสมกบั การใชงานไดจริงในชีวติ ประจำวนั ควรเพ่ิมความสวยงามของ
แอพพลิเคชน่ั ใหม ีความนา ใชมากขึน้ ควรเพิม่ ความจุในการใสร ปู ภาพในแอพพลิเคชน่ั

9

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธิการ//.(2553).//การเรียนรผู า นสอ่ื อิเล็กทรอนิกส.//สบื คน เมอื่ วันท่ี 18กุมภาพนั ธ 2563,/
https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=16635&Key=news15

มาโนชญ แสงศริ ิ.//(2562).//การสรางแอพพลิเคชนั .// สืบคน เมอ่ื วนั ท่ี 2563 กมุ ภาพนั ธ 18,/
https://www.scimath.org/article-technology/item/9099-thunkable

Prae Wisuttikhun.//(2559).//E-book.//สบื คน เมื่อวนั ที่ 2563 กมุ ภาพันธ 18,/
https://sites.google.com/site/praevisutthikhun/--e-book-hmay-thung

Officemanner.//(2557).//การสรา งแบบสอบถาม2563 กมุ ภาพันธ 18 สบื คนเมอ่ื วนั ที่//.,/
https://officemanner.com/2014/11/21/

10

ภาคผนวก

11

12

13

13

14


Click to View FlipBook Version