The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nutwanghong, 2021-10-29 04:52:09

อาชีพในตำบล

อาชีพในตำบล

อา
ชพี
ของ
คน
ใน
ตาบล

วังหงส์



คานา

หนังสือเลม่ น้ีจัดทาขน้ึ เพ่อื รวบรวมอาชีพของคนในตาบลวัง
หงสแ์ ละพฒั นาทกั ษะอาชีพใหม่ เพอ่ื เผยแพร่และประชาสมั พันธ์
ให้กบั ผทู้ ส่ี นใจได้รบั ทราบ

คณะผ้จู ัดทาขอขอบคุณผูท้ ี่มีสว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่ายท่ีได้ให้ความ
ร่วมมือในการดาเนินงานส่งผลให้หนังสือเล่มน้ีสาเร็จลุล่วงด้วยดี
หวังว่าเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้ท่ีสนใจ หากมีข้อแนะนาหรือ
ข้อผิดพลาดประการใด ผจู้ ัดทาขออภัยมา ณ ท่ีน้ดี ้วย

ผจู้ ัดทา
โครงการมหาลยั สตู่ าบลวังหงส์

(U2T ตาบลวงั หงส์)



สารบญั หนา้
เรอ่ื ง

คานา ข
สารบัญ

อาชีพการทาพรมปูพืน้ พรมอเนกประสงค์ ๓
อาชีพหมอพนื้ เมอื ง ๔
อาชพี การทาโลงศพ ๘
อาชพี การทาเืือนตา๋ น ๑๑
อาชีพการทาตุงลา้ นนา ๑๔
อาชพี การผา้ มดั ยอ้ ม ๑๖
อาชีพการทากรงนก ๑๙
อาชพี การทางานจักสาน ๒๒
อาชพี การแคบหมู ๒๓
อาชีพการทาหมอนองิ จากเศษผ้า ๒๔
อาชีพการทาแหนม ๒๖
อาชพี การทาเกษตร ทาไร่ ทาสวน ปลูกผักสวนครวั ๓๐
ทกั ษะอาชีพใหม่ ๓๔
ของดีตาบลวงั หงสว์ ฒั นธรรมการแตง่ กาย



1. อาชีพการทาพรมปูพ้ืน พรมอเนกประสงค์
ภูมิปัญญาท้องถ่ินของชุมชนคือกลุ่มอาชีพทาพรมเช็ดเท้า คร้ังแรก

ชุมชนของเรามาจากที่เหล่าแม่บ้านกลุ่มหน่ึงรวมตัวกันในเวลาว่างน่ังทา
พรมเช็ดเท้าใช้กันในบ้าน สอนกัน ทาไปเรอ่ื ยจนเกิดความคิดท่ีอยากจะ
สร้างรายได้จากพรมเช็ดเท้า จึงมีการประชุมปรึกษากันโดยได้จัดตั้งเป็น
กลุ่ม

อาชีพทาพรมเช็ดเท้า คร้ังแรก พ.ศ. 2547 ได้รับการสนับสนุนจาก
คนในชุมชน ได้รับการสนับสนุนจากคนในชุมชน พ้ืนท่ีหมู่บ้านวังหงส์มี
เศษผ้าที่เหลือจากการตัดเย็บผ้า ได้ลองมาดัดแปลงประยุกต์ทาเป็นพรม
เช็ดเท้าริเร่มิ ทาตั้งแต่ปี 2547 ทาแบบธรรมดาพ้ืนบ้านและจาหน่ายใหก้ ับ
ชุมชน ต่อมาได้พัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้มีรูปแบบต่างๆและและสีสันสวยงาม
ได้จดทะเบียน OTOP และสง่ คัดสรรในปี 2549 ไดร้ ะดับ 3 ดาว และก็ทา
ต่อเนื่องมาตลอดพร้อมพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปเร่ือยๆ จนถึงปัจจุบันในปี
2559 และได้ลงคัดสรร ได้OTOP ระดับ4ดาว





2. หมอพื้นเมือง
หมอเมือง เป็นองค์ความรู้และภูมิปัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิ

ปัญญาล้านนา ซ่ึงเป็นมรดกแห่งภูมิปัญญาท่ีสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษ
หลายช่ัวอายุคน เรียกว่ามรดกแห่งการรักษา ซ่ึงมีระบบการรักษาแบบ
องคร์ วม คือคานงึ ถึงกาย จติ และ วญิ ญาณ ควบคกู่ นั การรักษาแบบหมอ
เมือง ไม่ได้พ่ึงแต่สารสังเคราะห์ ที่สมัยใหม่เรียกว่า “ยา” แม้ว่าบางส่วน
ใช้สารที่ได้จากสมุนไพรในธรรมชาติ แต่หมอเมืองยังรวมไปถึงความเชื่อ
จติ วิญญาณ และพลังชุมชนด้วย เรียกได้ว่า เป็นองค์ความรู้แบบองค์รวม
โดยมเี ป้าหมายคือสันตสิ ขุ ของบคุ คลและชุมชน



3. อาชีพการทาโลงศพ
ศิลปวัฒนธรรมล้านนา หน่ึงในงานช่างพ้ืนถิ่นด้านหัตถกรรมไม้ ที่

หลายคนมองข้ามและนึกไม่ถึง ถึงเอกลักษณ์ที่แปลกแตกต่างจากภาคอ่ืน
ๆ น้ันก็คือ โลงศพหรือหีบศพ ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีเราทุกคนหนีไม่พ้นต้องได้ใช้ใน
วันใดวันหน่ึงของวาระสุดท้ายในชีวิต ซึ่งเป็นสิ่งท่ีจะบรรจุหรอื ห่อหุ้มสิ่งท่ี
ไม่นา่ มอง อันได้แกส่ งั ขารของเราเอง

สาหรับสังคมวัฒนธรรมล้านนา มีลักษณะร่วมท่ีเหมือนกัน
โดยเฉพาะรูปแบบ รายละเอียดอาจจะแปลกแตกต่างกันไปบ้าง
ขณะเดียวกนั กม็ ีความละม้ายคล้ายคลึงกัน ซงึ่ มรี ายละเอียดและช่ือเรียกท่ี
เป็นศัพท์เฉพาะของทอ้ งถิ่น ดังนคี้ ือ



ส่วนฐาน ผังพื้นเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า กว้างประมาณ 0.60 เมตร
ยาวประมาณ 1.80-2.10 เมตร มีลักษณะแบบที่เรียกว่า “ฐานหีบ” มี
แมค่ ไี ฟ 3 ช้นิ

ส่วนตัวเรือนหีบ ภาษาช่างเรียกส่วนน้ีว่า “เอวขันปากพาน” ซ่ึง
ต้องประกอบด้วยส่วนโบกคว่า (บัวคว่า) โบกหงาย (บัวหงาย) และส่วนท่ี
เป็นทอ้ งไม้ (ถ้าทอ้ งไม้มีเสน้ ลวดบวั ขนาดใหญจ่ ะเรยี กวา่ “ดูกงู”)

ภาพรวมของรูปทรงหีบศพพื้นเมือง ในด้านสกัดด้านแคบคล้ายกับ
พาน ส่วนที่เป็น “เอวขัน” การผายออกของหีบศพลักษณะนี้ คล้ายกับ
โลงศพแบบพม่า หรือฝาเรอื นทางภาคเหนือของไทย การผายออกของฝา
จะช่วยในการรับแรงอัดและการถ่ายแรงได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเพิ่ม
จังหวะ (ส่วนเอวขันปากพาน) ในรูปทรงท่ีสูงชันขึ้น เพิ่มความสง่างามใน
ตาแหนง่ ท่ีตงั้ เพิ่มนยั ยะสาคญั ใหใ้ นการจัดวางหบี ศพกับตวั เมรุ



คติความเช่ืออันเกี่ยวเนื่องกับการทาโลงศพ สมัยโบราณรวมถึงปัจจุบัน
ในวิถีชาวบ้าน เม่อื เจบ็ ไขไ้ ด้ป่วยมอี าการหนัก ญาติพ่นี อ้ งจะทาโลงศพเพ่ือ
ต่อดวงชะตาหรือสะเดาะเคราะหใ์ ห้ผู้ป่วย เม่ือหายก็จะถวายหบี น้ันใหว้ ัด
เป็นการทากุศลให้กับผู้ยากไร้ท่ีไม่มีกาลังทรัพย์ต่อไป อนึ่งการทาโลงศพ
สมัยก่อนจะใช้ยางบงมาอุดรอยต่อหรือรูรั่วและใส่ปูนขาวไว้สาหรับดูดซับ
น้าเหลืองจากศพ





4. อาชีพการทาเฮือนต๋าน
ตามประเพณขี องภาคเหนือมคี วามเชอื่ เรื่องเกยี่ วกบั ความตาย เมือ่ มี

ผเู้ สยี ชีวิตแล้ว จะตอ้ งมขี ้าวของเครื่องใช้ปนะจาวันอทุ ิศไปให้ จึงมีผู้คิดทา
บ้านย่อส่วนจากเศษไม้ขนาดเล็ก เพื่อใส่ของเคร่ืองใช้อุทิศไปให้กับ
ผู้เสยี ชวี ิต

ตานเือื นน้อย หมายถึง การทาบุญอุทิศให้แกผ่ ้ทู ี่ล่วงลบั ไปแล้ว โดย
การสรา้ งบา้ นจาลองหลงั เลก็ ๆ ไปให้ เป็นความเชื่อของคนไทยภาคเหนือ
กลัวว่าคนเมื่อตายไปแล้วอาจจะตกทุกข์ได้ยาก อดอยากหรือได้รับทุกข์
เวทนา ดังน้ันญาติพ่ีน้อง หรือบิดามารดา จึงได้ทาบุญโดยการตานเืือน
น้อยไปให้ ถ้าไม่ตานเืือนน้อยก็จะทาบุญอุทิศให้โดยการตานขันข้าว คือ
อาหารคาวหวาน ๑



สารบั กไ็ ด้องค์ประกอบของเืือนน้อย ประกอบดว้ ย

๑. เือื นน้อยจะสร้างด้วยไม้เป็นรปู ทรงบ้านเล็ก ๆ แล้วนาพลาสติก
หรือกระดาษขาวห่อหุ้มเป็นรูปบ้านหรืออาจจะจัดหาโต๊ะใหญ่เป็นฐาน
ท่ีต้ังของเืือนน้อย เม่ือทาพิธีเสร็จแล้วพระสงฆ์ก็จะได้นาโต๊ะนั้นไปใช้
ประโยชน์อ่นื ต่อไป

๒. สิ่งของเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ที่จาเป็น ได้แก่ เสื้อผ้าเคร่ืองนุ่งห่ม ถ้า
ทาบุญถึงผชู้ ายก็จะมเี คร่อื งแตง่ กายของผู้ชาย ซ่ึงตอนที่ผู้ตายมีชีวิตอยู่น้ัน
เขาชอบสวมใส่ นอกจากนี้ก็มีมุ้ง หมอน เสื่อ ผ้าหม่ รองเท้า และของใช้ท่ี
เก่ียวกบั ครอบครัว เช่น ถ้วย จาน ช้อน ขวดน้า กาต้มน้า กระติกน้า ฯลฯ
ซ่งึ สิ่งของท่ีจะทาบญุ อุทศิ ให้แก่ผูต้ ายนี้จะต้องเปน็ ของใหม่

๓. อาหารคาวหวาน ๑ สารบั หรอื ๑ ปิ่นโต เปน็ อาหารท่ีผ้ตู าย
รบั ประทานตอนท่ียังมีชวี ติ อยู่

๑๐

พิธีกรรมปฏิบตั มิ ขี น้ั ตอนดงั น้ี
๑. เจ้าภาพอาจจะเชิญแขกและญาติพ่ีน้องท่ีคุ้นเคยให้มาร่วม

บาเพ็ญกุศลด้วย สาหรับการแต่งกายในวันตานเืือนน้อยนั้นให้แต่งกาย
สุภาพ ไมก่ าหนดว่าต้องเปน็ สขี าวหรอื ดา

๒. ก่อนถึงวันตาน เจา้ ภาพอาจจะนิมนต์พระไว้ก่อนล่วงหน้าอย่าง
น้อย ๕ วัน ส่วนพระอาจจะนิมนต์ ๑ องค์ ๕ องค์ หรือ ๙ องค์ก็ได้
แล้วแต่ศรัทธา

๓. การเทศน์ธรรมในพิธีตานเืือนน้อย จะให้พระท่านเทศน์ธรรม
นิพพานสูตร หรือเทศนม์ หาวบิ ากก็ได้ แล้วแต่เจา้ ภาพจะกาหนดตอนท่ีไป
นมิ นตพ์ ระ

๔. เมื่อถึงวันทาพิธีจะมีอาจารย์ถวายสังฆทานก่อน เม่ือกล่าวถวาย
สงั ฆทานเสรจ็ แล้ว พระสงฆ์ก็จะเทศนธ์ รรม นิพพานสตู ร หรือเทศน์

มหาวบิ าก
๕. เม่ือทาพธิ ตี านเืือนน้อยเสรจ็ แล้ว ของทีเ่ ป็นเคร่อื งทานทุกชนิด
ก็ถวายให้แก่พระสงฆท์ ี่มาเทศนท์ งั้ หมด
เม่ือมีการตานเืือนน้อยอาจจะจัดใหม้ ีมหรสพ ตามฐานะของ
เจา้ ภาพกไ็ ด้ หรือไม่มกี ็ได้ แลว้ แต่จะเห็นสมควร

๑๑

5. อาชพี การทาตุงลา้ นนา

ตุงล้านนา ซ่ึงคาว่า ตุง เป็นภาษาถ่ินประจาภาคเหนือ แปลว่าธงที่
ใชส้ าหรับแขวนแบบหนึ่งในศิลปะล้านนา สามารถพบเหน็ ได้ในภาคเหนือ
ของประเทศไทย โดยคนทางภาคเหนือ จะนาตุงมาใช้เป็นเคร่ืองประดับ
หรือประกอบพิธีกรรมต่างๆ ทั้งทางศาสนา ประเพณี งานเทศกาล หรือ
งานเฉลิมฉลองต่างๆ วัตถุท่ีนามาทาตุงในล้านนามีหลากหลายรูปแบบ
ลักษณะท่ีแผ่นวัตถุทาจากผ้า กระดาษ ไม้ โลหะ ทองเหลือง หรือใบลาน
โดยนาไมส้ ่วนปลายแขวนหอ้ ยเปน็ แผน่ ยาวลงมา ตามคตคิ วามเชื่อของคน
ล้านนาเกีย่ วกับตงุ ทท่ี าข้ึนเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ใช้ในงานพิธีทางศาสนา
ทงั้ ในงานมงคลและอวมงคล

๑๒

โดยมีขนาดรูปทรงและรายละเอียดแตกต่างกันไปบ้าง ตามความ
เช่ือพิธีกรรม ความนิยมของแต่ละท้องถ่ิน อย่างไรก็ดีคนล้านนามีความ
เชื่อว่า การถวายหรือทานตุงน้ันจะได้รับผลบุญและอานิสงค์ เพื่อให้เกิด
ความร่มเย็นเป็นสุขเป็นอย่างมาก หรือบางตารามีความเชื่อสืบต่อกันมา
ว่า เม่ือตายไปจะได้ขึ้นสวรรค์หรือเม่ือตกนรกชายตุงจะแกว่งฉดุ วิญญาณ
ขึ้นมาจากนรกให้ข้ึนไปสสู่ รวงสวรรค์

คนภาคเหนือส่วนส่วนใหญ่นิยมนาตุงใช้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ทั้ง
ทางศาสนา ประเพณี งานเทศกาล หรือเฉลมิ ฉลองต่างๆ

ท้ังนี้กลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนตาบลวังหงส์ ได้มีการรวมกลุ่มกันในการ
ทาตุงเพ่ือสืบทอดต่อรุ่นลูกรุ่นหลานในอนาคตให้รู้จักถึงพิธีกรรมและ
ความเชือ่ ในการใชต้ งุ ของคนล้านนา

๑๓

๑๔

6. อาชีพการผ้ามดั ย้อม

การมัดย้อม เป็นการมัด ผูก เย็บ หนีบ หรือเป็นการ “กันสี” ใน
ส่วนใดส่วนหน่ึงของผ้าท่ีผู้ย้อมไม่ต้องการให้เกิดสีที่จะย้อมในครั้งนั้นๆ
โดยใช้วัสดุต่างๆ เช่น เหรียญ เชือกปอ เชือกฟาง ไม้หนีบ ด้ายหรือ
ถุงพลาสติกมาเป็นวัสดุช่วยในการกันสี ร่วมกับการม้วน พับ จับจีบ ขยา
หรือเย็บผ้า ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ของลายท่ีแตกต่างกนออกไป ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับ
กลวิธีในการออกแบบสี และการผสมผสานเทคนิคต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน
ของผู้ยอ้ ม โดยเรียกวา่ การสร้างลวดลายด้วยกรรมวธิ ีนว้ี ่า “ผ้ามดั ยอ้ ม”

มัดย้อม มีความหมายตรงตามตัวอักษร คือ นาผ้ามามัดด้วยวัสดุ
ต่างๆแล้วนาไปย้อมสี โดยใช้วิธีการกันสีด้วยวัสดุบางอย่าง เช่น ยางรัด

๑๕

เชือก หมุดปักผ้า ตัวหนีบกระดาษ หรือการเย็บ ซ่ึงจะช่วยกันไม่ให้สี
แทรกซมึ ลงไป การออกแบบ การกนั สขี ้นึ อยกู่ ับวสั ดทุ ใ่ี ช้

นอกนั้นผลการออกแบบยังขนึ้ อยู่กบั ปรมิ าณสีย้อมและการแทรกซึม
ของสีในผืนผ้าที่มัดด้วย การทาให้ผ้าเกิดรอยด่าง โดยใช้เทคนิคการทา
ลวดลายโดยการมัด การพับ การเย็บ และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้เป็นลวดลาย
ตามที่ตอ้ งการ

ทางชุมชนวังหงสไ์ ดม้ ีการรวมกลุ่มในการทาผ้ามัดยอ้ มเป็นการใหค้ น
ภายในชุมชนได้มีรายได้ที่เพ่ิมมากข้ึนและเป็นการสร้างอาชีพให้แก่
ผู้สูงอายุภานในชุมชน รวมถึงการสร้างสรรค์ ผลิตภันฑ์ให้เป็นท่ีรู้จักแก่
ผ้คู นมากยิ่งขึน้

๑๖

7. อาชพี การทากรงนก
การทากรงนกถือเป็นภูมิปัญญาของชุมชนวังหงส์ ซึ่งในยุคแรก ๆ ท่ี
เทคโนโลยียังไม่เจริญก้าวหน้ามาก จึงต้องใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการ
เจาะรูไม้ที่ทากรงนก ซ่ึงใช้เวลานานมากในการทาเน่ืองจากไม่มีเคร่อื งมือ
ทุ่นแรง ต่อมาเม่ือมีเคร่ืองมือ เช่น สว่านมือหมุน หรือเคร่ืองเจาะรู
อัตโนมัติ การทากรงนกในปัจจุบนั นมี้ กี ารทากรงนกกันมาก เพราะมีลูกค้า
มารับกรงนกถึงที่บ้าน ซ่ึงอาจจะโทรมาสั่งโดยบอกขนาดและรูปแบบที่
ต้องการ หรือมพี ่อคา้ คนกลางเขา้ มาทาให้ทาตลาดได้มากขึ้น ทาให้ชุมชน

บางชุมชนทาเปน็ อาชพี หลกั ไปเลยก็มี

๑๗

คนไทยทั่วทุกภาคมีความนิยมเล้ียงนก จะเห็นได้จากเกือบทุกบ้านใน
ต่างจังหวัดจะมีกรงนกแขนไว้หน้าบ้าน นกที่คนชอบเล้ียงกันมาก
ได้แก่ นกเขาชวา ชาวบ้านนิยมเรียกว่านกเขาเล็ก และนกปรอดหัว
จุก ชาวบ้านนิยมเรยี กว่านกกรงหัวจกุ ส่วนใหญ่จะเลี้ยงไว้ดูเล่น ฟังเสียง
รอ้ ง และนาไปประกวดแขง่ ขนั ตลอดถงึ งานเทศกาลต่าง ๆ และความเช่ือ
ปัจจุบันน้ีมีผู้นิยมเลี้ยงนกเขาหันไปประกอบอาชีพที่เก่ียวกับนกเขาได้
หลายอาชีพ เช่น อาชีพการเพาะพันธ์ุ โดยแยกระดับการเลี้ยงนกคือบาง
รายเพาะเล้ียงนกเขาแบบธรรมดา ไม่เน้นลักษณะเด่นท้ัง สัดส่วนรูปทรง
และเสยี ง เพอ่ื สนองความตอ้ งการของผู้เล้ียงสมัครเล่น บางรายเพาะเลี้ยง
นกเขาสายพันธุ์ดี ซึ่งสายพันธ์ุนี้จะได้มาจากนกท่ีชนะการประกวดจาก

๑๘

งานสาคัญต่าง ๆ โดยนกเขาที่ชนะการประกวด บางตัวมีราคานับล้าน
บาท แมก้ ระนน้ั ในบางตัวทไี่ ดร้ ับรางวัลลดหลน่ั ลงมากม็ ี

ราคาตั้งแต่หลักพันไปจนถึงหลักแสนบาท เม่ือเป็นนกเขาเกรดดีสายพันธ์ุ
ดี ผู้เลี้ยงจึงต้องสรรหากรงสาหรับเล้ียงให้เหมาะสมกับราคาของนก และ
คณุ คา่ ของนกตวั นั้นด้วย เม่ือมกี ารนยิ มเล้ียงนกส่ิงท่ีตามมาก็คืออาชีพการ
ทากรงนก ซ่ึงสามารถสร้างรายได้ท่ีมั่งคงให้กับครอบครัวได้ กรงนกท่ีทา
ออกมามีหลายแบบทั้งแบบทั่วไปแบบสั่งทาตามปกติและแบบส่ังทา
พิเศษ ซ่ึงกรงนกที่ส่ังทานั้นจะมีความละเอียด ประณีตและสวยงามเป็น
พิเศษท้งั นข้ี น้ึ อยูก่ บั วสั ดทุ ใ่ี ชท้ าดว้ ย กรงนกเขาชวาและกรงนกกรงหัวจุกมี
ลักษณะแตกต่างกัน โดยกรงนกเขาชวานิยมทรงรูปกลมมน โดยมี
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 14 น้ิว สูงประมาณ 16-18 นิ้ว มีลักษณะ
เรียบ ๆ และได้มีการพัฒนาโดยแกะดอกเป็นรูปต่าง ๆ ที่ซี่กรง
เรยี กวา่ “กรงมีดอก” ล่าสุดมีการพัฒนาถึงขั้นทาด้วยไม้สาวดาไม้มะม่วง
ปา่ และไม้ชิงชนั ท้ังตวั กรงและซีก่ รงพร้อมท้ังแกะสลกั ท่ฐี านกรง

๑๙

8. อาชีพการทางานจกั สาน
งานจักสานเป็นงานหตั ถกรรมท่ีชาวบ้านทาเพ่ือใช้ในครวั เรือนมาแต่

โบราณแมใ้ นปจั จุบนั

งานจกั สานหรือเคร่ืองจักสานจะมีอยู่น้อย แต่ก็ยังคงมีอยู่ทั่วไป ทุก
ภาคในประเทศนอกเหนือจากประโยชน์ใชส้ อยแลว้ งานจกั สานยังสะท้อน
วัฒนธรรม สะท้อนความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญาของชาวบ้านได้อีก
ด้วย ในขณะที่สภาพสังคม เศรษฐกิจปัจจุบันท่ีเปลี่ยนไปจากเดิม การไป
มาหาสู่กันระหว่างเมืองกับชนบทติดต่อกันได้สะดวก รวมถึงความ
เจริญก้าวหน้าทางกระแสวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาแทนที่วัฒนธรรมเดิม
ทาให้สภาพความเป็นอยู่ การดารงชีวิตของคนในชุมชนเปล่ียนแปลงไป
ซ่ึงมีผลกระทบทาให้งานจักสานหรืออาชีพจักสานลดน้อยลงไปเรื่อยๆ
จนถึงเพื่อการส่งเสริมความรู้ด้านงานจักสานแก่ผู้ท่ีสนใจในอาชีพ ได้สืบ
ทอดงานจักสานให้คงอยู่ต่อไป การประกอบอาชีพในทุกวันน้ีมี
หลากหลายทางมีการนาเอาเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องมากมายและมี
ความสะดวกสบายมากข้ึนอยากกินปลาก็เดินไปซ้ืออยู่ตลาด จนคนในยุค
ปัจจุบันไม่รู้จักกรรมวิธีขั้นตอนในอุปกรณ์ในการประยุกษ์เลือกนาภูมิ
ปัญญาพื้นบ้านที่ได้จากไม้ไผ่เอาวัสดุธรรมชาติอย่างไม้ไผ่มาใช้ในการทา
มาหากินไม่รจู้ กั อุปกรณพ์ ืน้ บ้าน

๒๐

สภาพการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ทาให้ภาคเหนือเป็น
แหล่งผลิตเคร่ืองมือเครื่องใช้จักสานท่ีสาคัญ นอกจากน้ี ภาคเหนือยังมี
วัตถุดิบหลายชนดิ ทน่ี ามาทาเครื่องจักสานได้ เชน่ กก แหยง่ ใบลาน และ
ไม้ไผ่ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงไม้ไผ่ ซึ่งมีหลายชนิด ท่ีใช้ทาเคร่ืองจักสานได้ดี
นอกจากสภาพภูมิประเทศ และการประกอบอาชีพของภาคเหนือ ที่
เอื้ออานวยให้ประชาชนทาเครื่องจักสานแล้ว ศิลปวัฒนธรรม
ขนบประเพณี และศาสนาของภาคเหนือ ก็เป็นองค์ประกอบสาคัญ ท่ีทา
ใ ห้ เ ค ร่ื อ ง จั ก ส า น ภ า ค เ ห นื อ มี เ อ ก ลั ก ษ ณ์ เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง
ภาคเหนือหรือล้านนาไทยเป็นดินแดนท่ีเจริญรุ่งเรืองอยู่ในวงล้อมของ
ขุนเขา ทาให้ภาคเหนือมีศิลปวัฒนธรรมเป็นของตนเองมาแต่โบราณ มี
ภาษาพูด ภาษาเขียน ขนบประเพณี เป็นของตน เอง เอกลักษณ์ทาง
วฒั นธรรมเฉพาะถ่นิ เหลา่ น้ี เป็นอกี องคป์ ระกอบหนึ่งที่ทาใหเ้ ครอื่ งจกั สาน
ภาคเหนอื มีเอกลักษณข์ องตนเอง

๒๑

แอบข้าว หรือแอบ๊ ข้าว
ภาชนะใส่ข้าวเหนยี วเชน่ เดียวกบั กอ่ งขา้ ว แตม่ ขี นาดเล็กกว่า สาหรบั
พกพาตดิ ตัวเวลาไปทางานนอกบ้าน แอบข้าว มสี ่วนประกอบสาคญั คอื
ตัวแอบ รปู ร่างคล้ายกล่องสเ่ี หลี่ยมผืนผ้า ฝาแอบ รปู ร่างเหมอื นตวั แอบ
แตข่ นาดใหญ่กว่า เพราะใช้ครอบแอบขา้ ว แอบขา้ วเหมาะสาหรับพกใส่
ถงุ ยา่ ม หอ่ ผา้ คาด เอวออกไปทานา ทาไร่ เช่นเดยี วกบั กล่องใส่ อาหารใน
ปัจจุบนั

๒๒


9. อาชพี การแคบหมู

แคบหมู เป็นวิธีการแปรรูป และถนอมอาหาร อย่างหน่ึง โดยนา
หนังหมูมาผ่านกรรมวิธีการทอดจนได้ลักษณะพองกรอบทั้งช้ิน มีรสกลม
กล่อม มีกล่ินหอมชวนรับประทาน โดยรบั ประทานแคบหมูเป็นอาหาร
มากกว่าเป็นเครอื่ งแนม และอาจบรโิ ภคได้หลายรปู แบบ เช่น ชาวไทยใน
ภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนืออาจนามาบรโิ ภคในรูปของอาหาร
คาวโดยตรง ใช้เป็นเคร่ืองจ้ิมกับน้าพริกต่าง ๆ หรือรับประทานร่วมกับ
ขนมจีนน้าเง้ียว ซึ่งเป็นอาหาร ท้องถิ่นของชาวไทยภาคเหนือ และยัง
ปรากฏในทุกภูมิภาค นอกจากน้ี ยังสามารถนาแคบหมูมาบริโภคเป็น
กับแกล้มสาหรับเคร่ืองดื่ม ประเภทสุราหรือเบียร์ หรือนามาเป็นของว่าง
รับประทานเล่น นอกจากการผลิตแคบหมู ในปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้
หนังหมู โดยผลิตเป็น หมูกระจก เพื่อเข้าถึงลูกค้ากลุ่มที่รับประทาน
แคบหมูเป็นของว่างรบั ประทานเล่น เพราะหมู กระจกจะกรอบและชิ้น
เลก็

๒๓

10. อาชพี การทาหมอนอิงจากเศษผา้
ปจั จุบนั มีผคู้ นหันสนใจมาใชห้ มอนอิงจากเศษผ้าเป็นจานวนมาก จงึ

ได้นา หัตถกรรมมาเป็นหลักในการทาหมอนองิ จากเศษผ้าเพื่อตอบสนอง
ความต้องการของคนท่ัวไป ต้ังแต่ ระดับล่างจนถึงระดับสูงสุด หมอนอิง
จากเศษผ้าเป็นงานฝีมือซ่ึงต้องใช้ระยะเวลาในการทาเป็น เวลานานจงึ ไม่
มีผู้คนที่สนใจทามากเท่าท่ีควรจึงเป็นงานหัตถกรรมที่ทาขึ้นเพ่ือการ
เผยแพรแ่ ละ ขยายความรเู้ กี่ยวกับการทาหมอนอิงจากเศษผ้ามาใช้ใหเ้ กิด
ประโยชน์และเสริมสร้างรายได้และสร้างผลงาน ใหม่ออกมาและ
ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในยุคปัจจุบันโดยมีเป้าหมายคือการ
สร้าง รายได้ให้กับชาวบ้านเพื่อสร้างอาชีพการขายสินค้า อีกทั้งน้ียังเป็น
การตอ่ ยอด ทางความคิดไปสวู่ สั ดอุ นื่ ๆ ได้อีกด้วย

๒๔

11. อาชพี การทาแหนม
แหนม หรือ จ้ินสม้ อาจทามาจากเน้ือสตั วต์ า่ งๆ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว

เนื้อควาย เป็นต้น ซ่ึงจะเรียกตามเนื้อสัตว์ท่ีนามาทา เช่น จิน้ ส้มหมู การ
ทาแหนมโดยทั่วไปเน้ือที่นามา ทาต้องเป็นเนื้อแดงล้วน ๆ ถ้ามีพังผืดให้
เลาะออกให้หมด นามาสับแต่ไม่ให้ละเอียดจนเละ อาจใช้การบดก็ได้ ถ้า
เป็น ข้าวสุกเอาล้างน้า และสะเด็ดน้าให้หมดแล้วเอามาคลุกกับกระเทียม
เกลือ ดินประสิวท่ีโขลกไว้ เม่ือเข้ากันดีแล้วจงึ เอาเนื้อที่สับไว้ลงคลุกเคล้า
ด้วยพร้อมกับพรกิ ข้ีหนู ลงไป ถ้าเป็นแหนมหมูจะเอาหนังหมูที่ห่ันไว้ใส่ลง
ไปด้วย เมื่อคลุกเคล้าจนเข้ากันดีแล้วก็นามาห่อซ่ึงแต่เดิมมาจะใช้ใบตอง
ก่อหลายๆ ชั้น แล้วมัดด้วยตอกใหแ้ น่นอกี คร้งั เม่ือหอ่ แล้วเก็บไว้ราว 3-4
วัน ก็นามารับประทานได้

๒๕

๒๖

12. อาชพี การทาเกษตร ทาไร่ ทาสวน ปลกู ผักสวนครวั

๒๗

การทาไรข่ า้ วโพด
การทานาปลกู ข้าว

๒๘

เนื่องจากการลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลของตาบลวังหงส์เพื่อนามาประเมิน
ศกั ยภาพตาบลพบวา่ ตาบลวังหงส์บรรลุ 9 ตัวช้ีวัด เป็นตาบลอยู่รอดจาก
ความยากลาบาก ทางโครงการมหาลัยสู่ตาบลจึงได้มีการจัดอบรมให้
ความรู้เก่ียวกับ การผลิตเห็ดเศรษฐกิจแบบครบวงจรขึ้นเพ่ือยกระดับ
เศรษฐกิจและสร้างอาชีให้กับคนชุมชน โดยทางโครงการได้มีการจัด
กิจกรรมใหค้ วามร้ทู ัง้ หมด 5 กิจกรรม ไดแ้ ก่

กจิ กรรมท่ี 1 สรา้ งเวทเี ปดิ รับสมคั รและคดั เลอื กเกษตรกรผู้เขา้ รว่ ม
โครงการ

กจิ กรรมท่ี 2 ถ่ายทอดองคค์ วามร้คู วามเข้าใจการผลติ เห็ดเศรษฐกจิ

กจิ กรรมท่ี 3 อบรมปฏิบตั กิ ารผลิตเหด็ เศรษฐกิจ

กจิ กรรมที่ 4 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภณั ฑ์จากเหด็

กจิ กรรมท่ี 5 อบรมเชิงปฏิบัติการเทคนคิ การตลาดออนไลน์ สร้าง
ชอ่ งทางการตลาดออนไลน์

๒๙

ทางโครงการได้จัดตง้ั โรงเรอื นเพาะเหด็ เศรษฐกจิ ทัง้ หมด 2 โรงเรือน
ซ่ึงเห็ดท่ีเพาะไว้เริ่มให้ผลผลิต ทางเจ้าหน้าท่ีโครงการได้แบ่งกลุ่มให้
ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการดูแลและเก็บเก่ียวผลผลิตเพ่ือจัดจาหน่าย
ด้วยกนั ท้งั หมด 4 ฝา่ ย

1. ฝ่ายผลิตก้อนเชอื้ เห็ด
2. ฝ่ายดูแลและเกบ็ เกี่ยวผลผลติ

มีการจดั ต้ังเวรประจาวันในการดูแลและเกบ็ เกยี่ วผลผลิตเพื่อ
ส่งต่อให้ฝา่ ยการตลาด

3. ฝา่ ยแปรรูปผลิตภณั ฑจ์ ากเห็ด
ทาการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด ได้แก่ ขา้ วเกรียบเหด็ นางฟา้

แหนมเหด็ นางฟ้า และน้าพริกนรกเห็ดนางฟา้

4. ฝ่ายการตลาด
มหี นา้ ท่ีในการหาตลาดเพอ่ื จัดจาหนา่ ยผลผลิต ได้แก่ เห็ด

นางฟา้ สด และผลติ ภัณฑแ์ ปรรปู จากเห็ดนางฟา้

๓๐

จากการจดั กิจกรรมในโครงการ การพัฒนาอาชีพการผลิตเหด็
เศรษฐกจิ แบบครบวงจร สง่ ผลใหช้ าวบ้านมที ักษะอาชพี ใหม่ ไดแ้ ก่

1. อาชีพการผลิตก้อนเชอื้ เห็ด

๓๑

2. อาชีพการเพาะเหด็ เศรษฐกจิ (เห็ดนางฟ้า)

๓๒

๓๓

๓๔


Click to View FlipBook Version