The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

47เครื่องทำความเย็น-1578547845

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sakchai, 2022-05-05 03:58:25

47เครื่องทำความเย็น-1578547845

47เครื่องทำความเย็น-1578547845

เครอ่ื งทำ�ความเย็น
(Refrigeration)
รหัสวชิ า 20104 - 2007

หมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชีพ กลุม่ สมรรถนะวชิ าชพี เฉพาะ
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาชา่ งไฟ้ฟ้าก�ำ ลัง
หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562

ส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ

เรียบเรียงโดย

ไวพจน์ ศรีธัญ
ราชนั ย์ ภู่ระหงษ์

เคร่อื งทำ�ความเย็น
(Refrigeration)

ISBN 978-616-495-081-8

จดั พมิ พแ์ ละจดั จ�ำหนา่ ยโดย...

บริษัท วงั อกั ษร จำ� กัด
69/3 ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงวัดอรณุ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600
โทร. 0-2472-3293-5 โทรสาร 0-2891-0742 Mobile 08-8585-1521
Facebook : สำ�นกั พิมพ์ วงั อกั ษร e-Mail : [email protected]
www.wangaksorn.com ID Line : @wangaksorn

พิมพ์ครง้ั ที่ 1 พ.ศ. 2562 จ�ำนวนท่พี มิ พ์ 3,000 เลม่

สงวนลขิ สิทธ์ติ ามพระราชบญั ญัติลิขสทิ ธิ์ พ.ศ. 2537

โดยบริษทั วังอกั ษร จำ� กัด หา้ มนำ� ส่วนใดสว่ นหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ไปท�ำซำ้�
ดัดแปลง หรอื เผยแพรต่ อ่ สาธารณชน ไม่วา่ รปู แบบใด ๆ นอกจากได้รบั อนุญาต

เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรลว่ งหนา้ จากทางบรษิ ทั ฯ เท่าน้นั
ชอ่ื และเครอื่ งหมายการค้าอนื่ ๆ ท่ีอา้ งอิงในหนงั สือฉบบั น้ี

เป็นสทิ ธิโดยชอบด้วยกฎหมายของเจา้ ของแต่ละราย
โดยบริษัทวงั อักษร จำ� กดั มไิ ด้อา้ งความเป็นเจา้ ของแต่อยา่ งใด

เครอื่ งทำ�ความเยน็

(Refrigeration)

รหัสวิชา 20104 - 2007

จุ ดประสงค์รายวิชา เพ่อื ให้

1. เข้าใจหลักการท�ำงาน โครงสร้างและสว่ นประกอบของระบบเครื่องท�ำความเยน็
2. มที กั ษะในการติดตั้ง ซ่อมบ�ำรงุ และทดสอบเครื่องท�ำความเย็น
3. มเี จตคติและกจิ นสิ ัยท่ดี ีในการปฏบิ ตั ิงาน มีความละเอยี ดรอบคอบ ปลอดภัย
เปน็ ระเบยี บสะอาด ตรงตอ่ เวลา มคี วามซือ่ สัตย์และมคี วามรับผิดชอบ

สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั โครงสร้างและหลกั การท�ำงานของเคร่อื งท�ำความเย็น
2. ถอดและประกอบ ช้นิ ส่วนทางไฟฟ้าและทางกลของเครื่องท�ำความเยน็
3. ปฏบิ ัตงิ านเดนิ ระบบทอ่ และตดิ ตั้งระบบวงจรสารท�ำความเยน็
4. ซอ่ มและบ�ำรงุ รกั ษาระบบเครอ่ื งทำ� ความเย็น

คำ�อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการท�ำงานของเคร่ืองท�ำความเย็น โครงสร้างส่วนประกอบ
ของระบบท�ำความเย็นแบบอัดไอ วงจรสารท�ำความเย็น วงจรไฟฟ้าของระบบเครื่องท�ำความเย็น
ภายในทพ่ี กั อาศัย ระบบเคร่ืองทำ� ความเยน็ ท่ีใช้ในเชงิ พาณิชย์ ประเภทของสารท�ำความเยน็ นำ�้ มัน
หลอ่ ลนื่ ของระบบเครอื่ งทำ� ความเยน็ งานทอ่ การตดิ ตง้ั ระบบวงจรสารทำ� ความเยน็ งานทำ� สญุ ญากาศ
งานบรรจสุ ารทำ� ความเยน็ งานตอ่ วงจรไฟฟา้ ในเครอื่ งทำ� ความเยน็ งานตรวจวดั แรงดนั และดสู ถานะ
ของสารท�ำความเย็น งานตรวจวัดวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าเครื่องท�ำความเย็นและคอมเพรสเซอร์
งานซอ่ มบำ� รุง ระบบเครือ่ งท�ำความเยน็ ในบา้ นพกั อาศยั ครวั เรอื นและเชิงพาณิชย์

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวชิ า
วิชา เคร่ืองทำ�ความเยน็ รหัสวิชา 20104 - 2007
ท–ป–น 1-6-3 จำ�นวน 3 คาบ/สัปดาห์ รวม 126 คาบ

สมรรถนะรายวิชา
แสดงความ ูร้เ ี่กยวกับโครงสร้างและห ัลกการ �ทำงาน
หน่วยที่ ของเครื่อง �ทำความเย็น
ถอดและประกอบ ิช้นส่วนทางไฟ ้ฟาและทางกล
ของเค ่ืรองท�ำความเย็น
ป ิฏบั ิตงานเ ิดนระบบท่อและติดตั้งระบบวงจร
สาร �ทำความเ ็ยน
ซ่อมและบ�ำ ุรง ัรกษาระบบเค ่รือง �ทำความเ ็ยน

1. หลกั การของเครื่องท�ำความเยน็ 

2. ความรอ้ น ความดันและความชน้ื 
  
3. โครงสรา้ ง สว่ นประกอบเครื่องทำ� ความเย็นระบบอดั ไอ 
4. สารทำ� ความเย็นและน้�ำมนั หลอ่ ลน่ื 
5. เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ การตดิ ตง้ั และซอ่ มบำ� รุง
6. งานท่อและเช่อื มประสานทอ่   
7. วงจรไฟฟ้าและวงจรทางกลของเครื่องทำ� ความเยน็

และปรบั อากาศ
8. การทำ� สญุ ญากาศและบรรจสุ ารท�ำความเยน็

คำ�นำ�

วิชาเครื่องท�ำความเย็น รหัสวิชา 20104 - 2007 จัดอยู่ในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ
กลมุ่ สมรรถนะวชิ าชพี เฉพาะ ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กำ� ลงั ตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั ร
วชิ าชพี พทุ ธศักราช 2562 ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ ผ้เู ขียน
ได้บริหารสาระการเรียนรู้แบ่งเป็น 8 บทเรียน ได้จัดแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการสอนที่เน้นฐาน
สมรรถนะ (Competency Based) และการบรู ณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงค์รายวชิ า
สมรรถนะรายวชิ า คำ� อธบิ ายรายวชิ า ในแตล่ ะบทเรยี นมงุ่ ใหค้ วามสำ� คญั สว่ นทเี่ ปน็ ความรทู้ ฤษฎี หลกั การ
กระบวนการ ตัวอย่าง แบบฝึกปฏิบตั ิ และคำ� ถามเพอ่ื การทบทวน เพื่อฝึกทักษะประสบการณ์ เรง่ พัฒนา
บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้จัดการแสวงหาความรู้ (Explorer) เป็นผู้สอนตนเองได้สร้างองค์ความรู้ใหม่
และบทบาทของผสู้ อนเปล่ียนจากผูใ้ หค้ วามรู้เปน็ ผู้ชีแ้ นะ (Teacher Role) จดั สิง่ แวดลอ้ มเออื้ อำ� นวย
ตอ่ ความสนใจเรียนรแู้ ละเปน็ ผูร้ ่วมเรยี นรู้ (Co - Investigator) จัดห้องเรียนเป็นสถานทท่ี �ำงานรว่ มกัน
(Learning Context) จดั กลุ่มเรียนรู้ใหร้ จู้ ักท�ำงานรว่ มกนั (Grouping) ฝึกความใจกวา้ ง มงุ่ สร้างสรรค์
คนรนุ่ ใหม่ สอนความสามารถทน่ี ำ� ไปใชง้ านได้ (Competency) สอนความรกั ความเมตตา (Compassion)
ความเชือ่ ม่ัน ความซ่อื สัตย์ (Trust) เป้าหมายอาชีพอนั ยงั เป็นประโยชน์ (Productive Career) และชวี ติ
ทีม่ ีศักด์ิศรี (Noble Life) เหนอื สงิ่ อ่นื ใด เป็นคนดี ทัง้ กาย วาจา ใจ มีคุณธรรม จรรยาบรรณทางธุรกจิ และ
วชิ าชพี
ส่งเสริมสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification
System) สอดคลอ้ งตามมาตรฐานอาชพี (Occupational Standard) สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั เพม่ิ ขดี ความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ กำ�ลังแรงงาน การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National
Benchmarking) และการวิเคราะห์หน้าที่การงาน (Functional Analysis) เพื่อให้เกิดผลสำ�เร็จ
ในภาคธุรกจิ อตุ สาหกรรม ทุกสาขาอาชพี เป็นการเตรียมความพรอ้ มเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียน
ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ผู้สอน ผู้ประสาทวิชาความรู้ เอกสาร หนังสือท่ีใช้ประกอบในการ
เรยี บเรยี งไว้ ณ โอกาสน้ี


ไวพจน์ ศรธี ัญ
ราชันย์ ภรู่ ะหงษ์

สารบญั

บทท่ี 1 หลักการของเคร่อื งท�ำความเย็น 1
บทที่ 2 ความแตกตา่ งของการท�ำความเย็นและการปรบั อากาศ 2
วิวัฒนาการของการทำ� ความเย็น 3
บทที่ 3 หลักการท�ำความเย็น (Principle of Refrigeration) 3
วัฏจักรของเครื่องท�ำความเยน็ และปรบั อากาศระบบอดั ไอ 6
ระบบเครอ่ื งทำ� ความเย็นเชงิ พาณชิ ย์ 13
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ 19

ความรอ้ น ความดนั และความชื้น 21
สถานะของสสาร (State of Substance) 22
ความรอ้ น (Heat) 23
ชนดิ ของความรอ้ น 25
หน่วยของปรมิ าณความรอ้ น 27
อุณหภมู ิและการวัดอณุ หภูมิ 28
ความดนั (Pressure) 32
กฎต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับความดัน 33
ความชืน้ (Humidity) 35
หลกั การปรบั อากาศ 36
แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ 38
โครงสร้าง สว่ นประกอบเครอ่ื งท�ำความเยน็ ระบบอดั ไอ 39
คอมเพรสเซอร์ 40
คอนเดนเซอร์ 49
เอกซ์แพนชนั วาลว์ 58
อีแวปปอเรเตอร ์ 69
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ 74

บทท่ี 4 สารท�ำความเยน็ และน้�ำมนั หลอ่ ลนื่ 76
บทที่ 5 ชั้นบรรยากาศของโลก 78
คณุ สมบัตขิ องสารทำ� ความเยน็ 78
ชนิดของสารทำ� ความเยน็ 79
คณุ สมบัติของสาร HFC 134a 81
การออกแบบระบบท�ำความเยน็ ที่ใช้ R - 134a 83
การตรวจสอบและบ�ำรุงรกั ษาระบบทใ่ี ช้ R - 134a 84
การตดิ ต้ังคอมเพรสเซอรเ์ ข้าระบบ (Retro Fitting) 84
สารทำ� ความเยน็ ขนั้ ที่สอง (Secondary Refrigerant) 86
นำ้� มนั หลอ่ ล่นื (Lubricants) 86
คณุ สมบตั ขิ องน้�ำมันหลอ่ ลน่ื 87
แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ 89
เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ การตดิ ต้ังและซอ่ มบ�ำรุง 91
แคลมปม์ ิเตอร์ (Clamp Meter) 92
มัลตมิ ิเตอร์ (Multimeter) 93
มดี ตัดทอ่ หรือคัตเตอร์ (Tube Cutter) 93
รีมเมอร์ (Reamer) 94
เคร่อื งมือดัดทอ่ (Tube Bender) 94
เครื่องมือขยายทอ่ (Swaging Tool) 95
เครือ่ งมือบานท่อ (Flaring Tool) 96
ตะเกียงตรวจรอยร่ัว (Halide Torch Leak Detector) 101
เกจแมนโิ ฟลด์ (Manifold Gauge) 104
เทอรโ์ มมิเตอร์ (Thermometer) 105
เครอื่ งช่งั น�ำ้ ยาแบบดจิ ติ อล (Electronic Refrigerant Scale) 106
ทอ่ (Tubing) 106
แฟลร์นตั และยูเนยี น (Flare Nut and Union) 107
เซอร์วทิ วาล์ว (Service Vales) 108
แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ 112

บทท่ี 6 งานท่อและเชื่อมประสานทอ่ 114
ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มแก๊ส 115
การเชอ่ื มดว้ ยแก๊สออกซิเจน - อะเซทิลีน (Oxygen - Acetylene Welding) 116
เครื่องมือและอปุ กรณใ์ นงานเชือ่ มท่อนำ้� ยา 117
ชนิดของเปลวไฟเชื่อมแกส๊ (Welding Flame) 119
วธิ กี ารจุดไฟเชือ่ มแก๊สและปรบั เปลวไฟ 120
งานวัดขนาดทอ่ ทองแดง 121
แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ 129

บทที่ 7 วงจรไฟฟ้าและวงจรทางกลของเครือ่ งท�ำความเยน็ และปรบั อากาศ 131
อุปกรณ์ไฟฟ้าในระบบเครื่องทำ� ความเยน็ และปรบั อากาศขนาเลก็ 132
วงจรทางกลของเคร่อื งทำ� ความเยน็ และปรับอากาศ 150
วงจรไฟฟ้าของเคร่อื งทำ� ความเยน็ และปรบั อากาศ 152
ตเู้ ยน็ (Refrigerator) 152
ตนู้ ้�ำเย็น (Water Cooler) 160
การตรวจสอบคอมเพรสเซอรแ์ บบปิด 161
แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ 165

บทท่ี 8 การท�ำสุญญากาศและบรรจสุ ารท�ำความเย็น 167
เครือ่ งมอื ในการทำ� สญุ ญากาศ 168
การตรวจสอบหารอยรว่ั (Leak Detecting) 172
การบรรจุสารท�ำความเยน็ 173
การเชื่อมปดิ ระบบ 177
การเตมิ น้ำ� มนั หลอ่ ล่ืนเขา้ ในระบบ 178
การดูดเก็บสารทำ� ความเยน็ ไวใ้ นระบบ (System Pump Down) 180
แบบทดสอบและกิจกรรมฝึกทักษะ 181

ใบงาน

ใบงานที่ 1 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ในงานเครื่องทำ� ความเยน็ และปรบั อากาศ 184
ใบงานที่ 2 การตัดทอ่ และลบคมทอ่ 195
ใบงานท ่ี 3 การขยายทอ่ และการบานทอ่ 199
ใบงานที่ 4 การดดั ท่อทองแดง 205
ใบงานท ่ี 5 การเชอ่ื มท่อทองแดง 207
ใบงานท ่ี 6 การตรวจสอบก�ำลงั อัดและกำ� ลังดูดของคอมเพรสเซอร์ 211
ใบงานที่ 7 การเติมนำ�้ มันคอมเพรสเซอร์ 215
ใบงานท ่ี 8 การตอ่ วรจรไฟฟ้าของคอมเพรสเซอร์ 219
ใบงานท่ี 9 การทำ� ลองตามฝึกและสาธติ เร่ืองการทำ� งานของทอ่ แคปทิ้ว
กบั อีแวปปอเรเตอร์ แบบ Roll Band 225
ใบงานที่ 10 การทดลองตามชดุ ฝึกและสาธิต เรอื่ งการท�ำงานของ TEV
กบั อีแวปปอเรเตอร์แบบ Roll Band 230
ใบงานท ่ี 11 การทดลองตามชดุ ฝกึ และสาธติ เรื่องการท�ำงานของท่อแคปทว้ิ
กับอแี วปปอเรเตอร์แบบ No Frost 234
ใบงานที่ 12 การตรวจสอบและซอ่ มตนู้ �ำ้ เยน็ 238
ใบงานที่ 13 การตรวจสอบและซ่อมตเู้ ยน็ 243
ใบงานท่ี 14 การตรวจสอบและซ่อมตเู้ ย็น No Frost 248

ค�ำถามเพื่อการทบทวน 253
ค�ำศัพท์ 256
บรรณานุกรม 261



บทท่ี หลักการของ
เครือ่ งทำ�ความเยน็
1

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
(Behavioral Objectives)

หลงั จากศกึ ษาจบบทเรยี นนีแ้ ลว้ นกั ศึกษาจะมคี วามสามารถดังนี้
1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั ความหมายและวิวัฒนาการท�ำความเยน็ ได ้
2. บอกหลกั การท�ำความเย็นและการทำ� งานของเครอ่ื งท�ำความเย็นระบบดดู ซึมได้
3. อธบิ ายเกยี่ วกับวฏั จักรของเคร่อื งทำ� ความเยน็ และปรบั อากาศระบบอดั ไอได้
4. สรปุ ประโยชนข์ องการทำ� ความเย็นได้

บทท่ี หลกั การของ
เครอื่ งทำ�ความเย็น
1

ความแตกตา่ งของการทำ�ความเย็นและการปรับอากาศ

การท�ำความเย็น (Refrigeration) หมายถึง การท�ำให้อุณหภูมิลดต่�ำลง มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้
เกิดความเย็น เช่น การท�ำความเยน็ ในตูเ้ ย็น ตูแ้ ช่ เปน็ ต้น
การปรบั อากาศ (Air Conditioning) หมายถงึ การควบคมุ อณุ หภมู ใิ หเ้ พม่ิ ขนึ้ หรอื ลดลง พอเหมาะ
กบั ความต้องการของผอู้ าศยั เพื่อให้รู้สึกสบายท่ีสุด ดงั นั้น การปรบั อากาศจึงมคี วามหมาย รวมถึงการมี
ระบบควบคุมความช้ืนท่ีเหมาะสม การกรองอากาศ การท�ำให้อากาศหมุนเวียน การระบายอากาศเสีย
ออกนอกหอ้ ง การก�ำจดั ฝนุ่ ละออง กลิ่นอบั ชน้ื ลดเสียงดงั และการส่ัน สะเทอื นใหน้ ้อยลง
ประโยชน์ของการท�ำความเย็นท่ีใช้ในตู้เย็น ตู้แช่ และการปรับอากาศ คือ การติดต้ังเคร่ือง
ปรับอากาศจงึ กลายเป็นส่ิงอ�ำนวยความสะดวกท่ีจ�ำเปน็ ต่อการดำ� รงชีวิตประจ�ำวันของมนษุ ยม์ าเนนิ่ นาน
แลว้ นัน่ เอง

บทที่ 1 3

หลกั การของเครือ่ งทำ�ความเยน็

วิวัฒนาการของการทำ�ความเยน็

การท�ำความเย็นในสมัยโบราณ จะใช้ความเย็นของน�้ำแข็งหรือหิมะจากธรรมชาติ การเก็บรักษา
และการถนอมอาหารที่หามาได้จะใช้วิธีการแช่ หรือซ่อนเก็บไว้ใต้กองหิมะ ซ่ึงจะช่วยท�ำให้เก็บรักษา
อาหารไว้ได้นานโดยไม่บูดเน่า ต่อมามีผู้คิดค้นวิธีการผลิตน�้ำแข็งเพ่ือทดแทนน้�ำแข็ง และหิมะท่ีได้จาก
ธรรมชาติ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2377 ไดป้ ระดิษฐเ์ ครือ่ งทำ� ความเย็นระบบอดั ไอ (Vapor Compression
System) โดยวิศวกรชาวอเมริกนั ช่อื Jacob Perkins หลงั จากนัน้ ในปี พ.ศ. 2398 มกี ารประดษิ ฐ์เคร่อื ง
ท�ำความเยน็ ระบบดูดซมึ (Absorption Refrigeration System) ซึ่งเป็นทน่ี ยิ มใชก้ นั ทวั่ ไปในอดีต
อตุ สาหกรรมเครอ่ื งเยน็ ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จนสามารถผลติ ตเู้ ยน็ ตแู้ ชท่ ม่ี คี อมเพรสเซอร์
แบบเชื่อมปิดมิดชิด (Hermetic Compressor) หมายถึง รวมเอาตัวคอมเพรสเซอร์ และตัวมอเตอร์
ไวใ้ นชดุ เดยี วกนั หลงั จากนนั้ จงึ ผลติ เครอ่ื งปรบั อากาศทใี่ ชต้ ามบา้ นเรอื นและผลติ เครอื่ งปรบั อากาศรถยนต์

หลกั การทำ�ความเยน็ (Principle of Refrigeration)

หลกั การเบ้อื งต้นของการท�ำความเย็น คือ การทำ� สารท�ำความเยน็ (Refrigerant) ซ่งึ เปน็ ตวั กลาง
ในการท�ำความเย็น เกิดการเปล่ียนแปลงสถานะ เพราะว่าการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารท�ำความเย็น
ตอ้ งการความรอ้ นแฝง (Latent Heat) เขา้ มาดดู รบั ความรอ้ น ดงั นนั้ ถา้ หากทำ� ใหข้ องเหลว เปลยี่ นสถานะ
กลายไปเป็นไอจะเกิดการดูดความร้อนจากบริเวณข้างเคียง จึงท�ำให้บริเวณน้ันมีอุณหภูมิลดลงหรือ
เกิดความเยน็ ขนึ้ นนั่ เอง สำ� หรบั ในหวั ขอ้ นจ้ี ะไดก้ ลา่ วถงึ หลกั การของการทำ� ความเยน็ ทคี่ วรทราบ 2 ระบบ
คือ เคร่ืองทำ� ความเยน็ ระบบดดู ซึม และเครือ่ งท�ำความเยน็ ระบบอัดไอ

4 บทท่ี 1
หลักการของเครอื่ งทำ�ความเย็น

เครอ่ื งท�ำความเย็นระบบดดู ซึม (Absorption Refrigeration System)

การท�ำงานของเคร่ืองท�ำความเย็นระบบดูดซึมจะใช้แอมโมเนียเป็นสารท�ำความเย็น และใช้น้�ำ
เป็นตัวดดู ซมึ แอมโมเนีย (Ammonia ; R - 717) ภายในเจนเนเรเตอร์ (Generator)

Freezer
Section
Evaporator

Condenser

Chill CoilAH Gas Heat Liquid
Evaporator Exchanger Lift
Weak Liquid
Ammonia Rectifier Chamber
Hydrogen
Solution Absorber

Analyzer

Liquid Heat Strong Generator
Exchanger Liquid
Chamber

รปู ท่ี 1.1 เครื่องทำ� ความเยน็ ระบบดดู ซมึ

บทท่ี 1 5

หลักการของเคร่ืองทำ�ความเย็น

ส่วนประกอบทส่ี �ำคญั ได้แก่
1. เจนเนอเรเตอร์ (Generator) จะบรรจุไวด้ ว้ ยสารละลายแอมโมเนียผสมกับน้�ำ
2. อปุ กรณ์แยกน�ำ้ (Separator) ทำ� หนา้ ทแ่ี ยกน�ำ้ ออกจากแก๊สหรือไอแอมโมเนยี
3. คอยลร์ อ้ น (Condenser) เปน็ อปุ กรณท์ ่ที ำ� หน้าทีร่ ะบายความร้อนออกจากสารท�ำความเย็น
เพอื่ ช่วยควบแนน่ สารท�ำความเย็นทม่ี ีสถานะเปน็ ไอให้กลบั มาเปน็ ของเหลวอีกคร้งั
4. คอยล์เย็น (Evaporator) ท�ำหน้าท่ีแลกเปลี่ยนความร้อนจากบริเวณท่ีต้องการท�ำความเย็น
ทำ� ใหส้ ารทำ� ความเยน็ เดอื ดจนมสี ถานะกลายเปน็ ไอและสามารถดดู ซบั ความรอ้ นจากพนื้ ผวิ ของคอยลเ์ ยน็ ได้
5. อปุ กรณด์ ดู ซมึ (Absorber) ทำ� หนา้ ทด่ี ดู ซมึ แอมโมเนยี ภายใน Generator โดยใชน้ ำ�้ เปน็ ตวั ดดู ซมึ

ส�ำหรับอุปกรณ์สนับสนุน เพื่อเพม่ิ ประสิทธิภาพการทำ� ความเยน็ ของระบบดูดซึม ประกอบดว้ ย
1. อะนาไลเซอร์ (Analyzer) ท�ำหน้าทเี่ จอื จางไอของสารท�ำความเยน็ ทม่ี าจาก Generator และ
นำ้� ยา ทม่ี าจากอปุ กรณด์ ดู ซมึ เพอื่ ทำ� ใหไ้ อของนำ�้ ยามอี ณุ หภมู ลิ ดลงบา้ ง ทำ� ใหบ้ างสว่ นเกดิ การกลน่ั ตวั กอ่ น
จะถกู สง่ ไปยังคอนเดนเซอร์
2. เร็กติไฟเออร์ (Rectifier) เป็นจุดที่ใช้ในการหล่อเย็นสารท�ำความเย็นด้วยน�้ำ ท�ำให้ไอน�้ำ
เกิดการกลน่ั ตวั เป็นของเหลวก่อนน้�ำยาแอมโมเนีย และไหลกลับไปยังเจนเนเรเตอร์ Generator ท�ำให้
ส่วนผสมของน�้ำในไอน้�ำยามีปริมาณลดน้อยลงก่อนท่ีจะส่งเข้าคอนเดนเซอร์ ซึ่งมีข้อดีคือ จะส่งผลให้
ประสิทธภิ าพการท�ำความเย็นของระบบสงู ข้นึ
3. อุปกรณ์แลกเปล่ียนความร้อน (Heat Exchanger) มีจุดประสงค์เพ่ือให้เกิดการถ่ายเท
ความร้อนซ่ึงกันและกนั ซึ่งเป็นผลดที งั้ สองสว่ น

การท�ำงานเร่ิมจากการให้ความร้อนกับเจนเนเรเตอร์ (Generator) เพื่อให้แอมโมเนียแยกตัว
ออกจากน�้ำ (แอมโมเนียมีจุดเดือดต่�ำกว่าน�้ำ) น่ันคือ แอมโมเนียและน�้ำจะระเหยกลายเป็นไอเข้าไปยัง
อุปกรณ์แยกน�้ำ โดยจะท�ำหน้าท่ีแยกเอาน้�ำบางส่วนท่ีติดมาด้วยออกจากแก๊สแอมโมเนีย (น้�ำจะตกลง
เบ้ืองลา่ งของอปุ กรณ์แยกน้�ำ) ผ่านอุปกรณ์แลกเปลยี่ นความร้อน (Liquid Heat Exchanger) เข้าไปใน
อุปกรณ์ดูดซึม แต่แอมโมเนียอีกส่วนหน่ึงซ่ึงมีปริมาณมากจะผ่านเข้าไปยังคอนเดนเซอร์ และถูกระบาย
ความรอ้ นจนควบแนน่ กลายเปน็ แอมโมเนยี เหลวถูกส่งตอ่ ไปยังอแี วปปอเรเตอร์
ภายในอีแวปปอเรเตอร์ และสว่ นบนของอปุ กรณด์ ูดซมึ จะบรรจุไว้ด้วยแก๊สไฮโดรเจน (Hydrogen)
เพื่อช่วยท�ำให้จุดเดือดของแอมโมเนียที่อยู่ภายในอีแวปปอเรเตอร์มีค่าลดต�่ำลง เกิดการเปลี่ยนสถานะ
กลายเป็นไอทอี่ ณุ หภูมติ �ำ่ จากนน้ั ไฮโดรเจนจะพาไอของแอมโมเนยี ลอยขึน้ ดา้ นบนของอีแวปปอเรเตอร์
และเม่ือดูดรับความร้อนแล้วบริเวณอีแวปปอเรเตอร์จะมีอุณหภูมิต�่ำลง แต่เน่ืองจากไอของแอมโมเนีย

6 บทที่ 1
หลกั การของเครื่องทำ�ความเย็น

หนักกว่าไฮโดรเจนจึงไหลลงด้านล่างผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน (Gas Heat Exchanger) เข้าสู่
อปุ กรณด์ ดู ซมึ ซง่ึ จะทำ� การดดู ซมึ ไดเ้ ฉพาะแกส๊ แอมโมเนยี แตแ่ กส๊ ไฮโดรเจนจะไมถ่ กู ดดู ซมึ จงึ ลอยตวั ผา่ น
อุปกรณ์แลกเปล่ียนความร้อนเพื่อย้อนกลับไปยังอีแวปปอเรเตอร์อีกคร้ัง เพื่อรวมตัวกับแอมโมเนียเหลว
ทส่ี ง่ มาจากคอนเดนเซอรด์ ว้ ยการแทรกตวั ผา่ นแอมโมเนยี ทำ� ใหค้ วามดนั ของแอมโมเนยี ลดตำ�่ ลง จงึ เกดิ การ
เปล่ียนสถานะเกดิ ความเยน็ เปน็ วฏั จกั รอยา่ งตอ่ เนื่อง สำ� หรับน้ำ� ในเจนเนอเรเตอร์ (Generator) ทีเ่ ย็นลง
จะดดู ซบั แอมโมเนยี ทำ� ใหเ้ กดิ การรวมตวั ของนำ้� กบั แอมโมเนยี ในอปุ กรณด์ ดู ซมึ โดยไหลออกจากอปุ กรณ์
ดูดซึมทางด้านล่างกลับไปยังเจนเนอเรเตอร์ (Generator) เป็นการเริ่มต้นท�ำความเย็นใหม่อีกคร้ังหน่ึง
เช่นนเ้ี รือ่ ยไป
หลกั การทำ� ความเยน็ แบบนใ้ี นอดตี เคยใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย ปจั จบุ นั ใชเ้ ปน็ ระบบ เครอ่ื งปรบั อากาศ
ขนาดใหญ่ มีข้อดี คือ ไมม่ ีส่วนทเ่ี คลอื่ นไหว ขอ้ เสีย คือ ใช้เวลานานในการเดินระบบ

ระบบท�ำความเยน็ แบบอดั ไอ (Vapor Compression System)

เป็นระบบท�ำความเยน็ และปรบั อากาศทนี่ ิยมใช้กันทั่วไปในปัจจบุ ัน ได้แก่ ระบบทใ่ี ช้ในตู้เยน็ ตูแ้ ช่
เคร่ืองปรับอากาศติดหน้าต่าง (Window Type) เคร่ืองปรับอากาศแยกส่วน (Split Type) และอื่น ๆ
มสี ว่ นประกอบทส่ี ำ� คญั คอื คอมเพรสเซอร์ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ หวั ใจของระบบ ทำ� หนา้ ทดี่ ดู และอดั สารทำ� ความเยน็
จนเกิดความเยน็ เปน็ วัฏจักร หรอื วงจรการท�ำงานอย่างต่อเนอ่ื ง จะได้กล่าวถึงในล�ำดับตอ่ ไป

วฏั จักรของเคร่อื งทำ�ความเยน็ และปรับอากาศระบบอัดไอ

การท�ำความเยน็ ระบบอัดไอ (Vapor Compression System) เป็นระบบท่ีนิยมแพร่หลายและ
ใช้กันทั่วไป อุปกรณ์หลักที่ส�ำคัญในระบบอัดไอมี 5 ชนิด ได้แก่ คอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์ ถังพัก
สารทำ� ความเยน็ เหลว เอกซแ์ พนชนั วาลว์ และอแี วปปอเรเตอร์ ซงึ่ ทำ� งานรว่ มกนั เปน็ วฏั จกั รหรอื เปน็ วงรอบ
และท�ำให้เกิดความเย็นขึ้นมาได้ แต่ถ้าหากเป็นเครื่องท�ำความเย็นขนาดเล็ก เช่น ตู้เย็น ตู้แช่ ไม่จ�ำเป็น
ต้องตดิ ตง้ั ถงั พักสารท�ำความเยน็ เหลว ดงั นัน้ อุปกรณ์หลกั จึงมีเพยี ง 4 ชนดิ เท่านน้ั ดงั แสดงในรปู ที่ 1.2

บทท่ี 1 7

ท่อดิสชารจ์ คอนเดนเซอร์ หลกั การของเครอ่ื งทำ�ความเย็น

ถงั พักสารท�ำความเย็น ทอ่ ลคิ วดิ

มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ ดา้ นความดนั สงู เอกซ์
ด้านความดันตำ�่ แพนชัน
วาลว์

ท่อซักชั่น อีแวปปอเรเตอร์

รปู ท่ี 1.2 แสดงวฏั จกั รเครื่องท�ำความเยน็ และปรับอากาศระบบอัดไอ

หน้าท่กี ารท�ำงานของอุปกรณใ์ นระบบอดั ไอ

1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ท�ำหน้าที่ดูดและอัดน้�ำยาในสถานะท่ีเป็นแก๊ส กล่าวคือ
จะดดู แกส๊ ทม่ี อี ณุ หภมู ติ ำ�่ ความดนั ตำ่� ทมี่ าจากอแี วปปอเรเตอร์ จากนน้ั จะอดั ใหม้ คี วามดนั สงู อณุ หภมู สิ งู ขนึ้
เพอ่ื สง่ ตอ่ ไปยงั เครอ่ื งควบแนน่
2. คอนเดนเซอร์ (Condenser) หรอื เครอื่ งควบแนน่ หรอื คอยลร์ อ้ นกน็ ยิ มเรยี กเชน่ กนั ทำ� หนา้ ท่ี
ระบายความร้อนออกจากสารท�ำความเย็น เพอื่ ควบแน่นให้สารท�ำความเยน็ ทเ่ี ปน็ แกส๊ กลัน่ ตวั กลายเปน็
ของเหลว ก่อนที่จะส่งต่อไปยังถังพักสารท�ำความเย็นเหลว แต่สารท�ำความเย็นท่ีเป็นของเหลวยังคงมี
อณุ หภมู แิ ละความดนั สูง
3. ถงั พกั สารทำ� ความเยน็ เหลว (Liquid Receiver หรอื Receiver Tank) นยิ มเรยี กอกี อยา่ งวา่
รีซีฟเวอร์ ท�ำหน้าทสี่ ะสมหรือใช้เปน็ ท่พี ักสารทำ� ความเยน็ เหลวทก่ี ลั่นตัวแล้วจากคอนเดนเซอร์ เพอื่ จา่ ย
ให้กับเอกซ์แพนชันวาล์วได้อย่างเพียงพอ ในระบบเครื่องท�ำความเย็นขนาดเล็ก เช่น ตู้เย็น ตู้แช่
เคร่ืองปรับอากาศขนาดเล็กจะไม่นิยมติดต้ังถังพักสารท�ำความเย็นเหลว เนื่องจากสารท�ำความเย็นเหลว
ทกี่ ลน่ั ตัวจาก คอนเดนเซอรม์ ีปรมิ าณพอเพียงทจี่ ะทำ� ให้เกิดการเดอื ดในอีแวปเปอเรเตอร์

Evaporator Compressor Inlet Pipe Outlet Pipe
Exp. V. Condenser Body
End Plate
Liquid Receiver
รปู ท่ี 1.3 ถงั พกั สารทำ� ความเยน็ เหลว

8 บทท่ี 1
หลักการของเครือ่ งทำ�ความเย็น

4. เอกซ์แพนชันวาล์ว (Expansion Valve) เรียกอีกอย่างว่า ล้ินลดความดัน หรือตัวควบคุม
สารท�ำความเย็น (Refrigerant Control) ท�ำหน้าท่ีควบคุมการไหลของสารท�ำความเย็นเหลวท่ีจะผ่าน
เข้าไปยังอีแวปปอเรเตอร์ กล่าวคือ ท�ำให้ความดันของสารท�ำความเย็นมีค่าลดต�่ำลง จนสามารถระเหย
กลายเปน็ ไอในอแี วปปอเรเตอรไ์ ดห้ มดพอดี
5. อแี วปปอเรเตอร์ (Evaporator) นยิ มเรยี กอกี อยา่ งวา่ คอลยเ์ ยน็ ทำ� หนา้ ทรี่ บั สารทำ� ความเยน็ เหลว
ความดันต�่ำ ซึ่งถูกลดความดันแล้วจากเอกซ์แพนชันวาล์ว โดยที่สารท�ำความเย็นจะเกิดการเดือดภายใน
อแี วปปอเรเตอร ์ จึงเปลยี่ นสถานะจากของเหลวกลายเปน็ แก๊ส การเดือดของสารท�ำความเย็นจะตอ้ งการ
ความร้อนบริเวณใกล้เคียงเพื่อช่วยในการเดือด จึงดูดความร้อนจากท่อสารท�ำความเย็นโดยรอบท�ำให้
อีแวปปอเรเตอร์มอี ณุ หภูมลิ ดต่ำ� ลงหรือเกดิ ความเย็นนนั่ เอง
6. สารทำ� ความเยน็ (Refrigerant) เปน็ สารทส่ี ามารถเปลย่ี นสถานะไปมาจากของเหลวไปเปน็ ไอ
และจากไอกลายเป็นของเหลวได้ง่าย เมื่อสารท�ำความเย็นเปล่ียนสถานะจากของเหลวไปเป็นไอจะดูด
ความร้อนจากบริเวณใกล้เคียงเข้ามา ณ คอยล์เย็น และคายความร้อนเมื่อเปล่ียนสถานะเป็นของเหลว
อีกคร้ัง ณ คอยล์ร้อน สารท�ำความเย็นจะต้องมีเสถียรภาพที่ดีและใช้ได้นาน โดยประสิทธิภาพของ
สารท�ำความเยน็ นน้ั ไม่ลดลง มีราคาถกู พาความรอ้ นได้มาก ไม่ตดิ ไฟ ไม่ระเบิด ไม่ท�ำปฏกิ ิริยากบั น้�ำมัน
หล่อลื่น ไมท่ �ำปฏกิ ริ ยิ ากบั น�ำ้ มปี รมิ าตรของแก๊สตอ่ หน่วยนำ�้ หนักน้อยและใช้แรงอดั ให้เป็นของเหลวตำ�่
นอกจากนอ้ี ปุ กรณห์ ลกั ทส่ี ำ� คญั ของระบบทก่ี ลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ ยงั มอี ปุ กรณแ์ ละสว่ นประกอบอยา่ งอน่ื
ทช่ี ว่ ยใหก้ ารทำ� งานของระบบเครอื่ งทำ� ความเยน็ มปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ ไดแ้ ก่ ตวั แยกนำ้� มนั ไดรเออร์ - ฟลิ เตอร์
ช่องกระจกดสู ารทำ� ความเยน็ ตัวระเหยน�้ำยา ทอ่ ซกั ชัน่ ท่อดสิ ชารจ์ ท่อลิควดิ
7. ตวั แยกนำ�้ มนั (Oil Separator) จะตดิ ตงั้ ไวร้ ะหวา่ งคอมเพรสเซอรก์ บั ทอ่ ดสิ ชารจ์ (ทอ่ ทางอดั )
ท�ำหน้าท่ีแยกน้�ำมันออกจากสารท�ำความเย็น เพื่อส่งกลับเข้าไปหล่อลื่นให้กับคอมเพรสเซอร์ กล่าวคือ
น้�ำมันและสารท�ำความเย็นที่เป็นแก๊สร้อนความดันสูงท่ีถูกส่งออกมาทางท่อดิสชาร์จ จะผ่านเข้ามายัง
ตัวแยกน้ำ� มนั โดยที่แกส๊ รอ้ นจะไหลเขา้ ไปควบแนน่ ท่ีคอนเดนเซอร์ แต่น้ำ� มนั จะตกลงไปยงั เบอ้ื งลา่ งของ
ตวั แยกนำ้� มนั แลว้ จะถกู สง่ กลบั เขา้ มคอมเพรสเซอร์ ดงั นน้ั ควรตดิ ตงั้ ตวั แยกนำ้� มนั ไวใ้ กลก้ บั คอมเพรสเซอร์
ให้มากท่ีสุด โดยท่ัวไปตัวแยกน�้ำมันจะติดต้ังเข้ากับระบบเคร่ืองท�ำความเย็นขนาดใหญ่เท่านั้น ดังแสดง
รูปท่ี 1.4

บทท่ี 1 9

หลกั การของเคร่อื งทำ�ความเย็น

fDroismchaCrogme Lpirneessor Compessor Refrigerant Return to Compessor
Oil laden gas in
SImurpfiancgeement
Float Valve CDoisnchdaerngseerLine to Oil Separator cOseoilpnfadrreeaentpsgerartsofrom
Baffle oPuilrreeturn

Oil resevoir Evaporator

COoilmRpetreusrnsotro Condenser

รปู ที่ 1.4 แสดงโครงสร้างและการติดตัง้ อุปกรณแ์ ยกนำ�้ มนั หลอ่ ล่นื

8. ไดรเออร์ - ฟลิ เตอร์ (Drier Filter) เรยี กอกี อยา่ งว่า Drier Strainer จะติดต้งั ไว้ท่ที อ่ ทางออก
จากคอนเดนเซอรก์ บั ทอ่ แคปทิว้ (Capillary Tube หรือ Cap Tube) ความเย็นทใี่ ช้แคปท้วิ เป็นตวั ควบคมุ
สารท�ำความเย็น จะต้องการระบบที่สะอาดปราศจากสิ่งสกปรกและความชื้น (Moisture) เพราะว่า
ส่ิงสกปรกและความชื้น จะท�ำให้เกิดการอุดตันในท่อแคปท้ิว ซ่ึงเป็นท่อขนาดเล็ก การอุดตันดังกล่าว
จะท�ำให้ไม่เกิดความเย็น ช่างมักจะเรียกว่า ตันความเย็นหรือตันความชื้น เกิดข้ึนเน่ืองจากในระบบ
มีความชนื้ จำ� พวกละอองไอนำ�้ (Water Vapor) เกดิ การแขง็ ตวั ในทอ่ แคปทว้ิ นนั่ เอง ดงั นนั้ ในระบบจงึ ตอ้ ง
ตดิ ตัง้ ตวั กรองความชนื้ หรอื ไดรเออร์ - ฟิลเตอร์ เพือ่ ดดู จบั ความช้ืน และกรองเอาเศษขี้ผงตา่ ง ๆ ออกจาก
สารทำ� ความเยน็ สารเคมที ใี่ ชด้ ดู ความชน้ื ภายในไดรเออร์ - ฟลิ เตอร์ คอื สารซลิ กิ าเยล (Silica Gel) สำ� หรบั
ข้อควรค�ำนึงเกี่ยวกับไดรเออร์ - ฟิลเตอร์ ก็คือไม่ควรเปิดฝาครอบท้ิงไว้ และเม่ือซ่อมระบบเครื่องเย็น
ควรเปล่ียนไดรเออร์ - ฟลิ เตอร์ตวั ใหมท่ ุกคร้ัง ดังแสดงรูปที่ 1.5

From Condenser To Evaporator

High Pressure Liquid High Pressure Liquid
Strainer

Strainer Desiccant
High Pressure Liquid
รูปที่ 1.5 ไดรเออร์ - ฟิลเตอร์

10 บทที่ 1
หลกั การของเครอื่ งทำ�ความเย็น
9. ชอ่ งกระจกดูสารทำ� ความเยน็ (Sight Glass) เรียกอกี อยา่ งวา่ กระจกมองสารท�ำความเย็น
จะติดตั้งไว้ทีท่ อ่ ทางออกจากคอนเดนเซอร์ เพอ่ื ตรวจสอบดูว่า ในระบบมนี ้ำ� ยาเตม็ พอดหี รือไม่
- ถา้ สารทำ� ความเยน็ ไหลผา่ นในชอ่ งนม้ี ลี กั ษณะเปน็ ฟองเลก็ ๆ จำ� นวนมาก มองเหน็ เปน็ ฟองสขี าว
ตลอดเวลา แสดงวา่ สารท�ำความเย็นพรอ่ งจากระบบ ควรตรวจเช็คและเติม
- ถ้าในช่องกระจกดูสารท�ำความเย็น มีฟองอากาศขนาดใหญ่สลับกับไม่มีฟอง แสดงว่าสาร
ท�ำความเย็นพรอ่ งไปเล็กนอ้ ย แต่ยังมีประสิทธิภาพ สามารถใชง้ านไดอ้ ยู่
- ถ้าในช่องกระจกดสู ารทำ� ความเยน็ ไม่มฟี องเลยก็แสดงวา่ น�้ำยาเต็ม

External Equalizer

Evaporator see all
TEV
Distributor

Filter-Drier

AVcaclevses

Compessor Condenser

Receiver

รปู ที่ 1.6 ชอ่ งกระจกดสู ารทำ� ความเย็น

10. ตัวระเหยน้�ำยา (Accumulator) หรือแอกคิวมูเลเตอร์จะติดต้ังไว้ท่ีท่อทางออกของอีแวป
ปอเรเตอรก์ อ่ นจะเขา้ คอมเพรสเซอร์ ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ตวั ระเหยนำ�้ ยาซง่ึ เปน็ ของเหลวทยี่ งั หลงเหลอื จากการเดอื ด
ไม่หมดภายในอแี วปปอเรเตอรใ์ หก้ ลายเปน็ แกส๊ กล่าวคือ สารท�ำความเยน็ เหลวจะตกลงดา้ นลา่ งของตัว
ระเหยน�้ำ ส่วนท่ีเป็นแก๊สจะอยู่ด้านบน และถูกคอมเพรสเซอร์ดูดเข้าไป ส�ำหรับน�้ำยาเหลวท่ีถูกกักไว้
จะค่อย ๆ เปล่ยี นสถานะเป็นแกส๊ ทัง้ นี้เพื่อป้องกนั น้�ำยาทีเ่ ป็นของเหลวไหลเข้าคอมเพรสเซอร์ อาจท�ำให้
ลนิ้ คอมเพรสเซอรช์ �ำรุดเสียหายได้
11. ทอ่ ซกั ซนั่ (Suction Line) เปน็ ทอ่ ดดู สารทำ� ความเยน็ กลบั เขา้ สคู่ อมเพรสเซอร์ จงึ นยิ มเรยี ก
อกี อยา่ งวา่ ทอ่ ทางดดู สารทำ� ความเยน็ ทไ่ี หลผา่ นจะมสี ถานะเปน็ แกส๊ ความดนั ตำ่� ในทางปฏบิ ตั จิ งึ ใชฉ้ นวน
หอ่ หมุ้ ทอ่ ซกั ซนั่ นไี้ ว้ เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การกลน่ั ตวั กลายเปน็ ของเหลว ซง่ึ เปน็ อนั ตรายตอ่ ลน้ิ คอมเพรสเซอร์
ดงั ท่กี ล่าวมาแล้ว


Click to View FlipBook Version