The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวิตกับสังคมไทย-01

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mhameco, 2021-12-16 22:20:31

ชีวิตกับสังคมไทย-01

ชีวิตกับสังคมไทย-01

สาระการเรยี นรู้

1. สงั คม
2. การจัดระเบยี บทางสังคม
3. สถาบนั ทางสงั คม
4. ความสมั พนั ธข์ องสถาบนั ทางสงั คม

1. สงั คม

1. สงั คม

1. มนุษย์มีความจาเปน็ ในการ
เลี้ยงดูทารก
2. มนุษย์มีความจาเปน็ ในการ
ตอบสนองความต้องการของตนเอง
3. มนุษย์มีความจาเปน็ ในการ
สรา้ งสรรค์และถ่ายทอดวัฒนธรรม

1. สังคม

1. กาหนดระเบยี บแบบแผน
2. จัดให้มกี ารอบรมเรยี นรู้
ระเบยี บแบบแผนของสังคม
3. สรา้ งและพัฒนาวัฒนธรรมของสังคม
4. ผลิตสมาชกิ ใหม่
5. ผลิตสินค้าและบรกิ าร
6. ใหบ้ รกิ ารและสวสั ดิการ
แก่สมาชกิ ในสังคม
7. การควบคุมสงั คม
8. การปลูกฝังจิตสานึกทีด่ ีให้
แก่สมชกิ ในสังคม

1. สังคม

1. พื้นท่หี รอื 3. ประชากร
อาณาเขต 4. มีการจัดการ
2. ความสัมพนั ธ์ โครงสรา้ งทางสังคม

2. การจัดระเบยี บทางสงั คม

2. การจัดระเบยี บทางสงั คม

2.1 บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norm)

“บรรทดั ฐานทางสังคม ”

หมายถึง มาตรฐานความประพฤติทสี่ มาชิกในสังคม
กาหนดเปน็ ระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบแผน สามารถแบง่
ออกได้เปน็ 3 ประเภทได้แก่

1. วิถีประชา (Folkways)
2. กฎศีลธรรมหรอื จารตี (Moral)
3. กฎหมาย (Laws)

2. การจัดระเบยี บทางสงั คม

2.2 สถานภาพ (Status)

“สถานภาพ ”

หมายถึง ตาแหน่งของบุคคลท่ไี ด้รบั จากการเปน็
สมาชิกของกลุ่ม ซึง่ เป็นตัวกาหนดเกี่ยวกับสทิ ธแิ ละ
หน้าทขี่ องบุคคลทเี่ กี่ยวขอ้ งกับบุคคลอื่นในสังคม
แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่

1. สถานภาพโดยกาเนิด
2. สถานภาพโดยความสามารถ

2. การจัดระเบยี บทางสงั คม

2.3 บทบาท (Role)

“บทบาท”

หมายถึง การกระทาหน้าที่หรอื พฤติกรรมที่สังคม
กาหนดและคาดหมายให้บุคคลกระทาหน้าทตี่ าม
สถานภาพทไี่ ด้รบั ซง่ึ จะเปลี่ยนไปตามสถานการณ์
ต่าง ๆ รวมทั้งเปน็ ไปตามสถานภาพทีต่ นได้รบั

บทบาทเป็นการปฏิบัติตนตามหน้าท่แี ละสิทธขิ อง
ตนตามสถานภาพในสังคม เช่น สถานภาพเป็น

นักเรยี น บทบาทก็คือเรยี นหนงัสือ ขยนั หม่ันเพียร

2. การจัดระเบยี บทางสงั คม

2.3 บทบาท (Role)

3. สถาบนั ทางสงั คม

3. สถาบนั ทางสงั คม

1. ครอบครวั

3. สถาบนั ทางสงั คม

2.การศึกษา

3. สถาบนั ทางสงั คม

3. ศาสนา

3. สถาบนั ทางสงั คม

4. เศรษฐกิจ

3. สถาบนั ทางสงั คม

5. การเมือง
การปกครอง

3. สถาบนั ทางสงั คม

6. นันทนาการ

3. สถาบนั ทางสงั คม

7. สื่อมวลชน

4. ความสมั พนั ธข์ องสถาบนั ทางสงั คม


Click to View FlipBook Version