แบบรายงานการวิจยั (ว-สอศ-3)
รายงานผลโครงการวจิ ยั
เรอื่ ง
เคร่ืองร่อนผงปรงุ รสสาหรา่ ย
Seaweed seasoning sifter
นายวธั นชยั ภาคาพรต
นายวษิ ณุ ร่ืนเรงิ
นายกิตตพิ นั ธ์ โกศลสิทธ์
นายวินัย ไวยธริ า
นายธนกร เนตรวิจติ ร
นายเอกรักษ์ สขุ เจรญิ
และคณะ
ประจำปกี ารศึกษา 2564
ปีพุทธศักราช 2564 - 2565
วิทยาลยั เทคนิคอุตสาหกรรมยายนต์
อาชวี ศึกษาจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก
หวั ขอ้ วจิ ยั เคร่ืองร่อนผงปรุงรสสาหรา่ ย
ผูด้ ำเนนิ การวจิ ยั นายวัธนชยั ภาคาพรต
นายพงศกร แผนกทาน
นายวนิ ัย ไวยธริ า
นายวิษณุ รนื่ เริง
นายเอกรกั ษ์ สุขเจริญ
นายกฤษณะ โนนดี
นายกิตติพนั ธ์ โกศลสิทธ์ิ
นายจิรายทุ ธ กลำ่ พรมราช
นายธนกร เนตรวิจิตร
นายภวนิ ท์ อ่วมมี
ท่ปี รกึ ษา นางสาวอรวรรยา วตั ตะโร
นายอาดือนนั เจ๊ะเลาะ
นายอรรถวฒุ ิ เจรญิ ราศร
นายชนิ กฤต ทมิ ลาย
นายกติ ตชิ ยั ใจหนัก
หนว่ ยงาน สาขาวิชาเมคคาทรอนิกสแ์ ละหุน่ ยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ อตุ สาหกรรมยายนต์
ปี พ.ศ. 2564
ปัจจุบันอุตสาหกรรมการผลิตสาหร่ายปรุงรสกำลังเป็นที่นิยมอย่างมากในกลุ่มผู้บริโภค
ซึ่งกระบวนการผลิตสาหร่ายปรงุ รสในปัจจุบันนี้ ต้องใช้แรงงานที่มีความอดทนและชำนาญในการผลิต
ทกุ ขั้นตอน แต่ในสภาวะปัจจุบันเกิดโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สง่ ผลใหไ้ มส่ ามารถผลิต
สาหร่ายปรุงรสได้ตามความต้องการของผูบ้ ริโภค อีกทั้งยังขาดแคลนแรงงานที่มคี ุณภาพคณะผู้วิจัยจงึ
จัดทำสิ่งประดิษฐ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและจัดทำเครื่องร่อนผงปรุงรสสาหร่าย เพื่อแทน
แรงงานคนซึ่งไม่สามารถทำงานได้ ลดเวลาในขั้นตอนรอ่ นผงปรุงรสสาหร่าย และหาประสิทธิภาพการ
ทำงานของตัวเครื่อง ผลการหาประสิทธิภาพในการทำงานเครื่องร่อนผงปรุงรสสาหร่ายสามารถทำงาน
ได้เร็วกว่าใช้แรงงานคน ใช้เวลา 60 นาที สามารถผลิตสาหร่ายปรุงรส ได้ 1,800 แผ่น ส่งผลให้แผ่น
สาหรา่ ยมผี งปรงุ รสสมำ่ เสมอ
ข
Project Report Title Seaweed seasoning sifter
By Mr.Watthanachai Pakahapot
Mr.Wisanu Reuanroeng
Mr.Kititpan Kosolsit
Mr.Winai Waitira
Mr.Thanakorn Netwijit
Mr.Ekkarak Sukcharoen
Mr.Pongsakorn Phanaektarn
Mr.Kritsana Nondee
Mr.Jirayut Klumprommarach
Mr.Pawin Aummee
Project Advisor Mrs.Onvanya Wattaro
Mr.Aduenan Cheloh
Mr.Julalak Thongsue
Mr.Chinnakrit Thimlai
Mr.Kittichai Jainak
Organization Automotive Industry Technical College
Academic Year 2021
Currently, the seasoned seaweed production industry has grown exponentially.
which the production process of seasoned seaweed nowadays It requires labor, people
with patience and expertise in every step of production. But in the current situation, the
Covid-19 epidemic has made it impossible to produce algae as needed. The research
team therefore created the invention. The objective is to design and make seaweed
seasoning sifter. to represent workers who are unable to work Reduce the time in the
process of sifting seaweed seasoning powder. and find out the performance of the
machine The results of the work efficiency The seaweed sifter can work faster than
manual labor. It takes 60 minutes to produce 1800 sheets of seasoned seaweed
ค
กติ ตกิ รรมประกาศ
การทำวิจัยสิ่งประดิษฐ์ฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เพราะได้รับความกรุณาอย่างสูงจากคณะ
ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรวิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรมยายนต์ ที่ได้กรุณาให้คำแนะนำชี้แนะก่อนเริ่ม
กระบวนการสืบค้น วิธีการ กระบวนการวิจัย จนเกิดความเข้าใจนำไปสู่การปฏิบัติในการทดลอง การ
เก็บข้อมูล การนำข้อมลู มาวิเคราะห์ ให้คำปรึกษาด้วยดีทกุ ขั้นตอน ตลอดจนการแก้ไชตรวจทานทำให้
การทำวจิ ัยสิ่งประดิษฐเ์ คร่อื งร่อนผงปรงุ รสสาหร่ายสำเร็จผจู้ ัดทำการวิจัยขอกราบขอบพระคุณอย่างสูง
ไว้ ณ โอกาสน้ี
ขอขอบพระคุณทางวิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่อนุญาตการใช้สถานที่ทำการ
ทดสอบการใช้งานเละใหก้ ารชว่ ยเหลือด้วยดีมาตลอด
คณะผวู้ จิ ยั
2564
สารบัญ ง
บทคัดยอ่ ภาษาไทย หน้า
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบัญตาราง ง
สารบญั ภาพ ฉ
ช
บทท่ี 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคญั 1
1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 2
1.3 ขอบเขตการวจิ ยั 2
1.4 คำจำกัดความที่ใช้ในงานวิจยั 2
1.5 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 2
1.6 ระยะเวลาดำเนินการวิจยั 3
บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 4
2.1 บทนำ 4
2.2. สาหร่ายผักกาดทะเล 6
2..3 ขนมขบเคยี้ ว 9
2.4 นำ้ ตาลไอซิง 10
2.5 สแตนเลส 11
2.6 อลมู เิ นยี มโปรไฟล์ 12
2.7 รางเลอ่ื น 14
2.8 มอเตอรเ์ กียร์ 14
2.9 กรอบแนวคิดในการวิจัย
สารบัญ(ต่อ) จ
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั หน้า
3.1 การสร้างและหาประสิทธิภาพส่งิ ประดิษฐห์ รือวธิ กี ารพัฒนา
3.2 ประชากรและการสุม่ กลุ่มตัวอย่าง 15
3.3 เครอื่ งมือในการวจิ ยั และการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ 15
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 15
3.5 การวิเคราะหข์ อ้ มูล 15
3.6 ข้นั ตอนการดำเนินการจัดทำสิประดษิ ฐ์ 15
16
บทที่ 4 ผลการวิจัย
4.1 ขั้นตอนการทดลองเคร่ืองร่อนผงปรุงรสสาหร่าย 18
4.2 การทดลองเครอื่ งร่อนผงปรุงรสสาหรา่ ย 18
4.3 การวิเคราะหข์ ้อมลู 19
บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ัยอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 20
5.1 สรปุ ผลการวิจยั 20
5.2 อภปิ รายผล 20
5.3 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวจิ ยั ไปใช้ 20
5.5 ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ัยครงั้ ตอ่ ไป
21
บรรณานกุ รม 22
บรรณานกุ รมภาษาไทย 23
29
ภาคผนวก 32
ภาคผนวก ก 35
ภาคผนวก ข 37
ภาคผนวก ค 39
ภาคผนวก ง
ภาคผนวก จ
ประวัติผวู้ ิจัย
สารบญั ตาราง ฉ
ตารางท่ี หน้า
3
1.1 แสดงระยะเวลาดำเนินการวจิ ยั 18
4.1 แสดงการทดลองเคร่ืองรอ่ นผงปรุงรสสาหรา่ ย 18
4.2 แสดงการทดลองเคร่อื งรอ่ นผงปรุงรสรสสาหรา่ ย 19
4.3 แสดงประสทิ ธิภาพของเครอื่ งรอ่ นผงปรุงรสรสสาหร่าย
สารบัญภาพ ช
ภาพที่ หน้า
4
2.1 สาหร่ายผกั กาดทะเล สวุ รรณา วรสิงห์และคณะ 6
2.2 สาหร่ายม้วนอบกรอบ 9
2.3 ผงน้ำตาลไอซงิ 10
2.4 สแตนเลส 11
2.5 อลูมเิ นียมโปรไฟล์ 12
2.6 Linear Guide 13
2.7 รางเล่ือนแบบเหล็กส่ีเหลีย่ ม 14
2.8 มอเตอร์เกยี ร์ 16
3.1 เครื่องรอ่ นผงปรุงรสและนำ้ ตาล สำหรับทำสาหรา่ ยม้วนอบกรอบ 16
3.2 อุปกรณ์เพอ่ื ทำโครงสร้างฐาน 17
3.3 แสดงการวัดขนาดของวัสดุ 17
3.4 ประกอบอลมู ิเนยี มโปรไฟลเ์ พ่อื ขึ้นโครงสรา้ งฐาน 17
3.5 ประกอบอลมู เิ นยี มโปรไฟล์เพอื่ ขึ้นโครงสร้างฐาน
1
บทท่ี 1
บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคญั
เนื่องด้วยในสภาวะปัจจุบันเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้การผลิต
สาหร่ายไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมายและการประกอบธรุ กจิ อาหารแหง้ ต่าง ๆ มีการขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ เกิด
การแข่งขันสูงขึ้นทำให้ลูกค้ามีทางเลือกในการตัดสินใจจะร่วมธุรกิจกับผู้ประกอบที่ดีที่สุดทั้งด้าน
คุณภาพ ราคา การส่งมอบ และการบริการต่าง ๆ ที่ลูกค้าพึงพอใจและโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน
สภาวะเศรษฐกจิ เกิดวิกฤตท่ัวโลก การทำธุรกิจไม่คล่องตัว การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้เกดิ ผลกระทบ
การผลิตสินค้าต้องคำนึงถึงคุณภาพ และความรวดเร็วท้ังพิจารณาถึงคุณภาพสินค้ากอ่ นการส่งมอบให้
ลกู คา้ ตอ้ งม่นั ใจวา่ สินคา้ ท่ี ส่งมอบน้ันถกู ต้องตามแบบและได้มาตรฐานตามที่ลกู ค้าตอ้ งการ จึงตอ้ งมกี าร
ทดสอบคุณภาพของสินค้าให้เรียบร้อยก่อนส่งถึงมือลูกค้าการพัฒนาขั้นตอนวิธีการทำงานให้สะดวก
รวดเรว็ จงึ ช่วยเพมิ่ โอกาสการแข่งขันของธรุ กิจได้ดงั นั้นธุรกิจต่างๆ จึงควรใหค้ วามสำคญั ในการปรับปรุง
กระบวนการผลิตให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้ทรัพยากรที่มอี ยู่ในองค์กรอยา่ งจำกัดได้แก่ เครื่องมือ
เงินทุน วตั ถุดิบ แรงงาน และรวมถึงเวลาท่ีใชใ้ นการสง่ มอบสนิ คา้ ให้เกิดประโยชน์คุม้ คา่ ทีส่ ุด
จากการศกึ ษาข้อมูลของสถานโรงงานผลิตสาหรา่ ยอบกรอบพบว่าทางสถานประกอบการมีการ
ใช้คนเป็นปัจจัยหลักในการผลิต 100% และยังพบว่ากำลังการผลิตได้ไม่เต็มที่เนื่องจากสภาวะโรค
ระบาดปญั หาโควิด 19 ทำใหโ้ รงงานตอ้ งลดพนกั งานลงครง่ึ นงึ ทำให้สาหร่ายม้วนอบกรอบไม่เพียงพอกับ
ความต้องการของตลาด จากข้อมูลของสถานประกอบการโรงงานสาหร่ายอบกรอบพบว่าทางสถาน
ประกอบการมีการปรุงรสสาหรา่ ยทั้งหมด 9 ผลิตสาหร่ายได้ 2,500 ม้วนต่อวัน และยังพบปัญหาเรื่อง
รสชาติ การผลิตสาหร่ายแต่ละรอบไม่เหมือนกันซึ่งเกิดจากความเหนื่อยล้าของพนักงาน ซึ่งก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงของรสชาติสาหร่ายแต่ละวันมีรสชาติไม่เหมือนกันเนื่องจากขาดวิธีการทำงานท่ี
เหมาะสม และเครื่องมือในการผลิตสาหร่ายม้วนอบการในขั้นตอนโรยผงปรุงรส ซึ่งเป็นสาเหตุของ
ปญั หาที่ทำใหผ้ ลผลิตไม่เปน็ ไปตามทีว่ างแผนไว้
จากเหตุการณ์ดังกล่าวข้างต้นแล้วคณะผู้ศึกษาค้นคว้าการผลิตสาหร่ายม้วนอบกรอบ
ของสถานประกอบการ โรงงานสาหร่ายม้วนอบกรอบ จึงตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและมุ่งเน้นการ
แกป้ ัญหาโดยการออกแบบและพฒั นาเครอ่ื งโรยผงปรงุ รสสาหรา่ ยมว้ นอบกรอบให้มีประสิทธภิ าพในการ
ทำงานมากขึ้นและเพม่ิ กำลงั ในการผลิตสาหร่ายใหไ้ ด้มากขึ้น เพอ่ื แกไ้ ขปญั หารสชาติและลดการเหนื่อย
ล้าของคนงาน จงึ เกิดแนวคิดที่จะผลิตและพัฒนาการออกแบบเครื่องโรยผงปรุงรสาหร่ายข้ึนมา เพ่ือใช้
ประโยชนใ์ นโรงงานและภาคอุตสาหกรรมอาหารในประเทศตอ่ ไป
2
1.2 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย
1.2.1 เพอ่ื ออกแบบและสรา้ งเครอื่ งรอ่ นผงปรงุ รสสาหร่าย
1.2.2 เพอ่ื ลดเวลาในข้นั ตอนร่อนผงปรุงรสสาหรา่ ย
1.2.3 เพ่ือหาประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งร่อนผงปรงุ รสสาหร่าย
1.3 ขอบเขตการวิจัย
1.3.1 เครอื่ งร่อนผงปรงุ รสสาหร่าย มขี นาด 45x100x105 เซนติเมตร
1.3.2 ในเวลา 60 นาที สามารถผลิตสาหรา่ ยปรงุ รสได้จำนวน 1,800 แผ่น
1.4 คำจำกดั ความท่ีใช้ในงานวิจยั
1.4.1.มอเตอร์ไฟฟ้า หมายถึง เป็นเครื่องกลไฟฟา้ ชนิดหน่ึงที่เปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็น
พลงั งานกล เปน็ ตน้ กำลังขับเคลอ่ื นสำคญั อยา่ งหน่ึง
1.4.2 ระบบสายพานลำเลียง หมายถงึ อปุ กรณ์ทใี่ ชส้ ายพานเป็นสว่ นประกอบ หลักสำคัญ
ในการนำพาวสั ดุ ซึง่ จะทำหน้าทใี่ นการย้ายวัสดจุ ากจดุ หน่งึ ไปยังอีกจดุ
1.4.3 สาหรา่ ยทะเล หมายถึง สาหร่ายทะเลเป็นอาหารชนิดหนง่ึ ท่ีคนไทยชอบบริโภคไม่ว่าจะ
เปน็ สาหรา่ ยอบแหง้ หรอื สาหร่ายทีน่ ำมาใช้ประกอบอาหาร
1.4.4 ผงปรุงรส หมายถึง สิ่งที่ใช้ปรุงแต่งรสของอาหาร เป็นทั้งของแข็งหรือของเหลว ใช้ใน
ปรมิ าณไมม่ ากนกั เพื่อให้อาหาร มีกลนิ่ รสดีขึน้
1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั
12.1 ลดเวลาในข้ันตอนการร่อนผงปรุงรสสาหร่าย
12.2 ควบคมุ รสชาติใหม้ ีสม่ำเสมอ มีความกรอบสามารถเกบ็ ได้นานยง่ิ ขึ้น
12.3 เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการทำงานไดม้ ากข้นึ เมือ่ เปรียบเทียบกับการใชแ้ รงงานคน
12.4 สรา้ งอาชีพและรายไดใ้ ห้กบั ผู้ท่ีสนใจ
3
1.6 ระยะเวลาดำเนินการวจิ ยั
ตารางท่ี 1.1 แสดงระยะเวลาดำเนินการวิจัย
กจิ กรรม พ.ย. 2564 ระยะเวลาดำเนินโครงการ ก.พ. 2565
1 2 34 123 4
1. เสนอโครงการ ธ.ค. 2564 ม.ค. 2565
2. ศึกษาโครรงการ 12341 2 3 4
3. ออกแบบโครงการ
4. ดำเนินโครงการ
5. ทดสอบโครงการ
6. สรปุ ผลทดลอง
7. จดั ทำรปู เล่มโครงการ
4
บทท่ี 2
แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง
2.1 บทนำ
งานวิจัยนี้เป็นการออกแบบและสร้างเครื่องร่อนผงปรุงรสสาหร่ายสำหรับทำสาหร่ายม้วนอบ
กรอบตอ้ งมีการศกึ ษาทฤษฎีท่ีเกยี่ วข้อง ประกอบไปด้วย สาหรา่ ยทะเล ทฤษฎีท่ีเก่ยี วขอ้ งกับเครื่องร่อน
ผง อุปกรณช์ ิน้ สว่ นมาตรฐาน ซ่ึงงานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งโดยมีรายละเอียด
2.2 สาหรา่ ยผกั กาดทะเล
รปู ที่ 2.1 สาหร่ายผักกาดทะเล
สาหร่ายผักกาดทะเลเป็นสาหร่ายทะเลชนิดหนึ่งที่มีสีเขียว มีลักษณะแผ่นใบแผ่กว้าง ใบหยัก
คล้าย ใบผักกาด เรียกว่าสาหร่ายผักกาดทะเล ซึ่งมีขนาดตั้งแต่ขนาดเล็กมากต้องส่องด้วยกล้อง
จุลทรรศน์จนถึงขนาด 65 เซนติเมตร การเจริญเติบโตโดยการแบ่งเซลล์ทั้งในแนวกวา้ งและแนวยาวจึง
แผ่ออกเป็นแผ่นและมีรอบจีบอยู่ตรงขอบ (ภาพที่ 2.1) มีชื่อสามัญเรียกว่า sea lettuce มีช่ือ
วทิ ยาศาสตร์ว่า Ulva rigida
2.2.1 แหล่งทีพ่ บสาหรา่ ยผกั กาดทะเล
สาหร่ายผักกาดทะเลมักขน้ึ ตามฤดูกาลและพบในบริเวณน้ำลงต่ำสุด นอกจากน้ียังพบสาหร่าย
ผกั กาดทะเลขึ้นตามชายฝงั่ ทะเลของจงั หวัดภูเก็ต โดยเฉพาะในพนื้ ที่แหลง่ หญ้าทะเลที่มีสาหร่ายชนิดนี้
ขึ้นปะปนอยู่หรือหลุดลอยตามผิวน้ำเคลือบทับบนหญ้าทะเลและที่ทางสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝ่ัง
จังหวดั ตราดได้มีการทดลองเพาะเล้ยี งสาหร่ายผักกาดทะเลมาใช้ในการเพาะเลี้ยงปลากะรังจุดฟ้า และ
พอ่ แมพ่ ันธุ์หอยหวานเพ่อื เปน็ อาหารและบำบดั ใหน้ ำ้ มีคุณภาพดีด้านการเจริญเตบิ โตจัดเป็นสาหร่ายที่มี
การเจริญเตบิ โตไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยมีการแบง่ เซลลท์ ้งั ในแนวกวา้ งและแนวนอน ซึ่งจะมกี ารแผอ่ อกเป็น
แผ่นและมีรอยจีบอยู่ตรงขอบถือเป็นการเพิ่มพื้นที่ในการขยายการเจริญของเซลล์และพื้นที่ผิวของ
5
สาหร่าย ทแ่ี ผก่ ว้างน้นั ทำให้สามารถดูดซับธาตอุ าหารไดม้ าก จึงเหมาะแกก่ ารนำมาปรับปรุงคุณภาพ
น้ำในบ่อเลยี้ งสัตว์น้ำ (สวุ รรณา วรสิงห์, 2552)
2.2.2. ประโยชน์ของสาหร่ายผกั กาดทะเล
สาหร่ายชนิดนี้สามารถนำมาปรุงเป็น อาหารในรูปแบบต่าง ๆ อาทิเช่น สาหร่ายชุบแป้งทอด
เทมปูระใส่ในสลัด ก๋วยเตี๋ยว ซุปแกงจืด ยำสปาเก็ตตี้ ฯลฯ นอกจากนี้ยังได้คิดค้นวิธีทำการแปรรูป
ผักกาดทะเล เพื่อให้สามารถเก็บรกั ษาไว้ไดน้ านยิ่งข้ึนโดยการนำสาหรา่ ยมาล้างนำ้ จืดให้สะอาด นำมา
ลวกด้วยน้ำเดือด 5 วินาทีตากแห้งด้วยแสงแดด หากฤดูฝนอาจใช้วิธีอบแห้งที่อุณหภูมิ 50 องศา
เซลเซียส เปน็ เวลา 10 นาทโี ดยทำการกลับสาหร่ายทกุ ๆ 2 – 3 นาทีเพื่อให้สาหรา่ ยแห้งทวั่ ทั้งแผน่ จน
ได้สาหร่ายอบแห้งที่สามารถเก็บไว้รับประทานได้นานขึ้น โดยการรับประทานสาหร่ายอบแห้งนั้นให้
นำมาแช่น้ำจดื ประมาณ 2-3 นาทีแล้วล้างใหส้ ะอาดอีกคร้ังแลว้ สามารถนำไปปรุงเปน็ อาหารท่ีตอ้ งการ
ไดเ้ ลย โดยสาหรา่ ยผกั กาดทะเลมคี ุณค่าทางอาหารหลายชนิดท่ีมปี ระโยชน์แก่รา่ งกาย มหาวทิ ยาลยั แห่ง
ประเทศบราซิลได้รายงานองค์ประกอบทางเคมีของสาหร่ายผักกาดทะเลว่าประกอบด้วย โปรตีน
13 – 18 % ไขมัน 0.3 – 1.9 % คาร์โบไฮเดรต 53 – 58 % ใยอาหาร 9 – 12 % น้ำหนักแห้ง และ
ความชืน้ 15 – 20 % (Paduaet al., 2004 อ้างถึงใน สวุ รรณา วรสิงห์, 2552) ซ่งึ เม่ือเปรียบเทียบกบั ไข่
มีโปรตีน 10 – 15 % เนื้อ วัวมีโปรตีน 18 – 20 % และในปลาทูปลาอินทรีย์มโี ปรตีน 20 % นอกจาก
จะมีสารอาหารดังกล่าวแล้ว สาหร่ายผักกาดทะเลยังอุดมไปด้วยวิตามินและเกลือแร่ชนิดต่าง ๆ เช่น
วิตามินบี วิตามินซี แคลเซียม และไอโอดีน เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นอาหารที่ย่อยง่ายและไขมันต่ำา จึง
เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการจะลดนำ้ หนกั และยังมีสรรพคุณช่วยรกั ษาโรคกระดูกผชุ ำระล้างหลอดเลือด
ทำให้หลอดเลอื ดมคี วามยดื หยุ่น ช่วยลดคลอเลสเตอรอล ลดความดันโลหติ รักษาโรคทอ้ งผกู สมานแผล
ในกระเพาะอาหาร กระตุ้นภูมิคุ้มกันโรค บรรเทาไขข้ออักเสบ เป็นยาระงับประสาท และช่วยกำจัด
แบคทีเรียบางชนิดที่ก่อสารมะเร็งได้อาจกล่าวได้ว่าสำหรับประโยชน์ด้านอาหาร สาหร่ายทะเลมี
คุณสมบัตทิ ว่ั ไป เชน่ เดยี วกับพืชบกท่มี โี ปรตีนและไขมันไมม่ ากนกั มีแคลเซยี มต่ำ แตก่ ลบั มกี ากใยอาหาร
สงู คณุ คา่ ทางอาหารทแี่ ตกต่างจากพชื บก คอื สาหร่ายทะเลจะมีปริมาณวิตามินและเกลือแร่สูง อาทิเช่น
วิตามนิ เอ วิตามินบีวติ ามนิ ซีวติ ามินดีวติ ามนิ อีและวติ ามิน แร่ธาตแุ มกนีเซียม แคลเซยี ม สังกะสีทองแดง
เหล็กไอโอดีน เป็นตน้ ซ่ึงล้วนแต่เปน็ พวกทีร่ า่ งกายมนษุ ย์ตอ้ งการแทบท้งั สิ้น และการ ท่สี าหรา่ ยผักกาด
ทะเลมีกากใยสูงถึง 33-75% ของน้ำหนักแห้งส่งผลให้การขับถ่ายสะดวก ป้องกันท้องผูกและ เกิด
ริดสีดวงทวารได้เป็นอย่างดีตัวอย่างเมนูจากธรรมชาติที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ เช่น สาหร่ายเทมปุระสลัด
สาหร่าย สาหร่ายชุบแป้งทอด นอกจากสาหร่ายผักกาดทะเลจะเป็นอาหารของมนุษย์แล้วสาหร่าย
ผักกาดทะเลยังเป็นแหล่งอาหารทีส่ ำคัญของพวกแอมฟิพอด หอย ลิ้นทะเล หอยขมทะเลและหอยเม่น
(อนุสรา แก่นทอง, 2555) สุวรรณา วรสิงห์ และคณะ (2552) กล่าวถึงประโยชน์ด้านการประมงและ
6
ด้านระบบนิเวศเป็นงานวิจัยต่อยอดในการ ใช้สาหร่ายผักกาดทะเล บำบัดน้ำาเสียในฟาร์มของสถานี
เพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำชายฝั่งจังหวัดตราด พบว่าสาหร่ายชนิดนี้สามารถดดู ซับแอมโมเนยี จากน้ำทิ้งทางการ
เกษตรนอกจากนี้ยังดึงสารประกอบไนโตรเจนจากน้ำทิ้งมาเป็นปุ๋ย ทำให้คุณภาพของน้ำดีขึ้นช่วยให้
ผู้ประกอบการลดปริมาณการเปลี่ยนถ่ายน้ำ สาหร่ายผักกาดทะเลสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ
(Bioindicators) ในแหล่งน้ำธรรมชาตไิ ด้กล่าวคือ หากมีสาหร่ายชนิดน้ีมากในแหลง่ น้ำแสดงว่าในแหล่ง
น้ำดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ของสารอาหารมาก เช่น พวกไนโตรเจน และฟอสเฟต ในทางกลับกัน
หากสาหร่ายลดจำนวนลงก็จะบ่งชี้ได้ว่าแหล่งน้ำกำลังประสบปัญหาการปนเปื้อน จนทำให้สาหร่าย
ผักกาดทะเลไมส่ ามารถเจรญิ เติบโตได้ตามปกติ
2.3 ขนมขบเค้ียว
.
รปู ที่ 2.2 สาหร่ายม้วนอบกรอบ
ขนมขบเคี้ยว (Snack foods) หมายถึง อาหารที่ใช้รับประทานเล่นระหว่างมื้ออาหารหลัก
ลักษณะเด่นของขนมขบเคี้ยวในปัจจุบัน คือ น้ำหนักน้อย เก็บรักษา นำติดตัวไปในที่ต่าง ๆได้สะดวก
ขนมขบเคี้ยวจดั เปน็ อาหารให้พลงั งานสงู เน่อื งจากมสี ว่ นผสมของคาร์โบไฮเดรตเปน็ จำนวนมาก จงึ ช่วย
ให้อิ่มท้องได้รองรัตน์รัตนาธรรมวัฒน์ (2546) กล่าวว่า ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวหรืออาหารว่างเป็น
ผลิตภัณฑ์ที่นิยมบริโภคกันทั่วไปในระหว่างมื้อของอาหาร และความนิยมดังกล่าวได้มีเพิ่มมากขึ้นใน
ปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งผลิตจากวัตถุดิบและใช้กรรรม
วิธีการผลติ ที่แตกต่างกันไป จากความนยิ มในการบรโิ ภคขนมขบเคีย้ วที่เพม่ิ มากข้นึ ผนวกกับความเจริญ
ของเทคโนโลยีจึงทำใหม้ ีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงการผลิตจากระดับครัวเรือนมาเป็นระดับอตุ สาหกรรม
ซึ่งทำให้ชนิดและรูปแบบของผลิตภัณฑ์มีความหลากหลายมากขึ้น รวมทั้งการแข่งขันทางการตลาดก็
7
สูงขน้ึ ดว้ ยจากการรวบรวมความหมายของผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว (Snack) หรืออาหารขบเคี้ยว(snack
food) ของ Blenford (1982); Tettweiler (1991); ธงชัย สันติวงษ์ (2535); เพ็ญขวัญ ชมปรีดา และ
ทัศนีย์คชสีห์ (2541) อ้างถึงใน รองรัตน์รัตนาธรรมวัฒน์ (2546) สรุปได้ว่า ขนมขบเคี้ยวควรมีลักษณ
พ้ืนฐานดังน้ีมลี ักษณะรูปร่างขนาดเลก็ อาจเปน็ ของหวานหรือของคาว โดยทผี่ ลติ ภณั ฑ์ผ่านกระบวนการ
แปรรูปมาแล้วพร้อมบริโภคได้ทันทีหรือมีการเตรียมเพียงเล็กน้อย บริโภคขณะร้อนหรือเย็นในรูป
ของแข็งหรอื ของเหลวกไ็ ด้ใช้รับประทานเปน็ อาหารว่างหรือโอกาสต่าง ๆ ตามทผ่ี ู้บริโภคต้องการ ซ่ึงจะ
ทำใหเ้ กดิ ความพงึ พอใจและประทงั ความหวิ ในช่วงระยะเวลาสน้ั ๆ ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์สามารถเกบ็ รักษาได้นาน
6 สปั ดาห์โดยไมต่ อ้ งอาศัยความเยน็ นอกจากอาหารที่ประกอบภายในครัวเรอื นแลว้ อาหารขบเค้ียวส่วน
ใหญ่ ยงั มกี ารผลิตในระดับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ขนมขบเค้ียวในประเทศไทยมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่ง
บริษัทศนู ยว์ จิ ัยไทยพาณิชย์จาํ กดั (2543) อา้ งถึงใน รองรตั น์รตั นาธรรมวัฒน์ (2546) ได้จำแนกประเภท
ของขนมขบเคี้ยวที่มีในตลาดส่วนใหญ่เป็น 7 ประเภทหลัก ได้แก่ 1) มันฝรั่งทอด หรืออบเนยทั้งชนิด
แท่ง (stick) และแผ่น 2) ปลาเส้น ปลาแผ่น ปรุงรสต่าง ๆ 3) ขนมขึ้นรปู ไดแ้ กข่ นมอบกรอบท่ีผลิตจาก
วตั ถุดบิ ประเภทแปง้ เชน่ แปง้ ข้าวโพดและสว่ นผสมอ่ืน ขน้ึ รูปเพ่อื ใหม้ ีรปู ร่างต่าง ๆกนั 4) ขนมขบเคี้ยว
ประเภทถั่วต่าง ๆ 5) ข้าวเกรียบกุ้ง ข้าวเกรียบปลา และอื่น ๆ 6) ข้าวโพดอบเนย 7) ปลาหมึกปรุงรส
นอกจากนั้น Reilly and Man (1989) อ้างถึงใน รองรัตน์รัตนาธรรมวัฒน์ (2546) ได้แบ่งขนมขบเค้ยี ว
ออกเป็น 4 กลมุ่ ตามกลมุ่ เทคโนโลยที ีใ่ ชใ้ นการการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ขนมขบเคี้ยว ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. Deep-fat fried เป็นการทอดแบบน้ำมันท่วมชิ้นอาหาร (Deep-fat frying) ได้แก่ มันฝรั่ง
ทอดกรอบ และมันฝร่งั แทง่ และถอื ไดว้ ่าเป็นธรุ กจิ สว่ นใหญข่ องผลิตภณั ฑ์อาหารขบเค้ียว
2. Quick fried เป็นการทอดในระยะเวลาสน้ั ๆมักมลี ักษณะเป็นแผ่นเพลเลต (Pellet) มกี ารทำ
ให้สุกมาแล้วบางส่วน ซึ่งได้จากมันฝรั่ง แป้งมันฝรั่ง และ/หรือธัญชาติอื่น ๆ นำมาทอดที่อุณหภูมิสูง
(เช่น ประมาณ 200 องศาเซลเซยี ส) เปน็ เวลาสัน้ ๆ (10 -15 วนิ าท)ี ทำให้ได้ผลติ ภัณฑท์ ม่ี ีความพองและ
เน้ือสมั ผสั เบา
3. Extrusion cooked มักเป็นส่วนผสมของมันฝรั่งและธัญชาติอื่น ๆ ที่อยู่ในลักษณะเป็นผง
นำไปผลิตด้วยเคร่ืองเอ็กซ์ทรูเดอร์ทอ่ี ุณหภูมิและความดนั สูง เพอื่ ใหไ้ ดเ้ อ็กซ์ทรูเดตที่ทำให้พองด้วยการ
ทอดในภายหลัง จากนั้นทำการเคลือบด้วยน้ำมันและกลิ่นรส ผลิตภัณฑ์ที่วางจำหน่ายในตลาดเป็น
จำนวนมากอยใู่ นกลุ่มน้แี ละสามารถทำให้ผลติ ภณั ฑม์ ีรูปร่าง ลักษณะเนื้อสัมผสั และกล่นิ รสแตกต่างกัน
4. Roasted เป็นการอบผลิตภณั ฑ์ในกลุ่มนีม้ ักเป็นพวกถั่วตา่ ง ๆ (Nuts) เช่น โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งในรูปถั่วลิสงคั่ว Tettweiler (1991) อ้างถึงใน กาญจนา สุภทนต์ (2538) อธิบายว่า การบริโภค
อาหารขบเคย้ี ว(Snacking) เปน็ การบรโิ ภคท่งี ่ายต่อการจดั การ ลักษณะผลิตภณั ฑอ์ าจร้อนหรือเย็นในรูป
ของแข็งหรือของเหลว ซึง่ อาศัยการเตรียมเพียงเล็กนอ้ ยหรือบริโภคโดยตรงและสามารถทำให้เกิดความ
พงึ พอใจไดเ้ มือ่ เกิดความร้สู ึกหวิ โดยอาหารขบเคี้ยวจะมีลกั ษณะพื้นฐานดงั นคี้ อื มีความสะดวกสบายใน
การใชห้ รอื การบรโิ ภค สามารถแบ่งเป็นสว่ นเลก็ ส่วนนอ้ ยได้ช่วยประทงั ความหวิ และมรี สชาติตอบสนอง
8
ความพงึ พอใจของความหวิ ในช่วงเวลาสั้นๆ อาจเป็นของหวานหรือของคาว มีน้ำหนกั เบาหรือแน่น อาจ
ใชเ้ ปน็ อาหารที่มีคณุ ลกั ษณะเฉพาะ เช่น อาหารเพื่อสขุ ภาพ หรืออาหารว่างในงานสังสรรค์ขนมขบเคี้ยว
นน้ั มบี ทบาทในวิถกี ารดำรงชีวิตของคนไทย และได้รับความนยิ มบรโิ ภคมากข้ึนอย่างต่อเนอ่ื ง ศูนย์วิจัย
กสิกรไทยรายงานว่า ปัจจุบันขนมขบเคี้ยวมกี ารผลิตออกมาจำหนา่ ยในท้องตลาดเป็นจำนวนมากมาย
หลายชนิด ประมาณว่ามมี ูลคา่ ปีหนึ่งๆไมต่ ่ำกวา่ 4,000-5,000 ลา้ นบาท และมีแนวโน้มว่าจะขยายตัวได้
อีก ขนมขบเค้ียวทีผ่ ลิตได้ในประเทศสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญๆ่ คอื ประเภทกง่ึ อาหารหลัก
ไดแ้ ก่ ขนมปังกรอบ เช่น คกุ กีแ้ ครกเกอรซ์ ึ่งมลู ค่าตลาดของสินค้าประเภทนีค้ าดว่า ประมาณรอ้ ยละ 40
ของตลาดอาหารว่างทั้งหมด ประเภทที่ 2 เป็นอาหารว่างที่รับประทานเป็นอาหารเล่น ซึ่งตลาดกำลัง
เจริญเตบิ โตและมีทีท่าว่าจะแยง่ ตลาดสนิ ค้าประเภทลูกอมลูกกวาด อกี ดว้ ย ไดแ้ ก่ ผลติ ภัณฑ์ท่ีผลิตจาก
แป้งปรุงรส ถั่ว ข้าวเกรียบ เป็นต้น ในปัจจุบัน เมื่อสังคมมีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่สถาบันพื้นฐานของ
ครอบครวั ไปจนถึงการพฒั นาเทคโนโลยีทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค ซ่งึ ปัจจุบันมี
แนวโน้มท่จี ะซ้ือสนิ ค้าโดยไมไ่ ด้พิจารณาทร่ี าคาถูกเพียงอย่างเดียว ยิง่ ผทู้ มี่ ีรายได้สูงอยู่แล้วจะพยายาม
เลือกซอ้ื สินค้าทีม่ คี ุณภาพดแี ม้ราคาจะแพงก็ตาม พฤตกิ รรมของผูบ้ รโิ ภคไทยเปลยี่ นไปให้ความสำคัญต่อ
สขุ ภาพมากขน้ึ สนใจกับสนิ คา้ เพอ่ื สุขภาพตามกระแสท่กี ำลังเกิดขึ้นในตะวนั ตกสำหรับอาหารวา่ งซงึ่ มัก
ถูกมองว่าเป็นอาหารที่ไม่มีคุณค่า และเป็นสาเหตุของการเกิดทุพโภชนาการโดยเฉพาะในเด็ก
(Sinthavalai, 1984) ก็ได้มีการพัฒนาโดยคำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการและผลต่อสุขภาพเป็นหลัก
เรียกได้ว่าเป็นขนมขบเคี้ยวยุคใหม่ (New generation snacks) ซึ่งหมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีไขมันต่ำใช้
วธิ ีการอบแทนการทอดมีใยอาหารสูง เป็นต้น โดยกลมุ่ ของผลิตภัณฑ์ท่ีกำลงั ได้รับความสนใจและมีการ
พัฒนาอย่างมาก ได้แก่ ขนมขบเคี้ยวแบบแท่ง (Snack bars) ขนมขบเคี้ยวผสม (Snack mixes) และ
ขนมขบเคย้ี วจากธญั พืช (Granola products) การตลาดของขนมขบเคี้ยวในประเทศไทยเป็นตลาด ท่ีมี
แนวโน้มการขยายตัวค่อนขา้ งสูง จะเข้าไปเบียดตลาดลูกอมเพราะกลุม่ เป้าหมายกลุ่มเดียวกันจนทำให้
ตลาดลูกอมไม่ค่อย จะมีอัตราการเติบโตมากนัก ประกอบกับตลาดขนมขบเคี้ยวมักจะมีอะไรแปลกๆ
ใหม่ๆ มานำเสนอบริโภคในรูปแบบรสชาตใิ หม่ รวมทั้งมกี จิ กรรมทางการตลาดอยา่ งสม่ำเสมอจนทำให้
ตลาดเกิดความเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ด้านการแข่งขันของตลาดขนมขบเคี้ยวก็มีหลายรูปแบบเพ่ือ
กระต้นุ ผู้บริโภคในรปู แบบตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการชงิ โชค การแจกของพรเี มี่ยม อาทิข้าวเกรยี บกงุ้ ได้จัด
โปรโมชั่นชงิ โชค หรือมันฝรั่งอย่างเลย์ได้จดั โปรโมชั่นอย่างหนกั และต่อเนื่องร่วมกบั โรงภาพยนตร์ส่ือ
วิทยุ เป็นต้นผู้ประกอบการจะใหค้ วามสนใจในตัวสินคา้ คือ ให้ความสำคัญกับรสชาตแิ ละคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์การออกสินค้าใหม่ ต้องแตกต่างจากสินค้าชนิดอื่นในท้องตลาด และมีจุดขายที่ชัดเจน มี
คุณคา่ ทางโภชนาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณคา่ ทางโภชนาการ ซ่งึ ผู้บรโิ ภคมแี นวโน้มที่จะมีพฤติกรรมใน
การใสใ่ จสุขภาพของตนเองเลอื กสนิ ค้าทมี่ ีประโยชนก์ ับร่างกายมากข้นึ ดังน้นั ถ้าสินคา้ ขนมขบเค้ียวตัวใด
ทจ่ี ดั ว่ามีคุณค่าทางอาหาร หรอื ภาพพจนข์ องสนิ คา้ ที่ดีกส็ ามารถเกิดไดเ้ รว็ ในตลาดสนิ คา้ ขนมขบเคี้ยว
9
2.4 น้ำตาลไอซิง
รปู ที่ 2.3 ผงน้ำตาลไอซิง
น้ำตาลไอซิง (อังกฤษ: icing sugar หรือ powdered sugar, confectioner's sugar) คือ
น้ำตาลทรายที่ผ่านกระบวนการบดละเอยี ด ลักษณะเป็นผงสีขาว ละเอียดคล้ายแป้ง (Powder Form)
มีส่วนผสมของแป้งข้าวโพด (Corn Starch) ประมาณร้อยละ 3 ซึ่งทำหน้าที่เป็นสารป้องกันการจับตัว
(Anti-Caking Agent) ในผงน้ำตาล
น้ำตาลไอซงิ เป็นหน่ึงในวัตถดุ ิบสำหรับการทำผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ มลี ักษณะเฉพาะในการใช้งาน
แตกต่างจากน้ำตาลทรายทั่วไป กล่าวคือ น้ำตาลไอซิง ซึ่งอยู่ในรูปของผง (Powder Form) สามารถ
ละลายน้ำได้ดี ช่วยให้ไม่มีเหลือตกคา้ งในการทำละลาย แตกต่างจากนำ้ ตาลทราย ซึ่งอยู่ในรูปของผลึก
(Crystal Form) จะละลายน้ำได้ไม่ดีนัก ต้องใช้ทั้งเวลาพลังงาน และความพยายามในการละลายที่
มากกว่าและน้ำตาลไอซิง เหมาะสำหรับการทำผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ประเภท เค้ก ครีมตกแต่งหน้าเค้ก
โดนัท และตุ๊กตาไอซิง น้ำตาลไอซิ่งสามารถทำเองได้ที่บ้าน หรือหาซื้อได้ทั่วไปจากร้านจำหน่าย
วัตถดุ ิบเบเกอร่ี
10
2.5 สแตนเลส
รูปท่ี 2.4 สแตนเลส
สเตนเลส คือ ชื่อเรียกของเหล็กกลุ่มที่มีความต้านทานการกัดกร่อน (เหล็กกล้าไร้สนิม) โดยมี
โครเมีย่ มผสมอยูอ่ ยา่ งนอ้ ย 10.5% ซ่งึ จะทำหน้าท่สี ร้างฟลิ มบ์ างๆ ขน้ึ เพอื่ ทานการกดั กรอ่ นและจะสร้าง
ฟลิ มข์ นึ้ ใหมไ่ ด้เอง หากผวิ ฟิลม์ ถูกขีดขว่ น ทำลาย นอกจากน้ียงั มีการเติมธาตุผสมอน่ื ๆ เช่น นกิ เกิล โม
ลิบดินัม ไททาเนียมเพื่อเพิ่มความต้านทานการกัดกร่อน หรือปรับคุณสมบัติ ทางกลที่ต้องการ ซึ่งมี
รายละเอียดเพ่ิมเติมเกย่ี วกบั คณุ สมั บตั ิพเิ ศษของสเตนเลสดังนี้
1. ทนทานต่อการกัดกร่อน สเตนเลสทุกตระกูลทนทานต่อการกัดกร่อน แต่จะแตกต่างกันไป
ตามส่วนผสมของโลหะ เช่น เกรดที่มีโลหะผสมไม่สูงสามารถต้านทานการกัดกรอ่ นในบรรยากาศทั่วไป
ในขณะท่ีเกรดท่มี โี ลหะผสมสูงจะสามารถต้านทานการกัดกรอ่ นในกรด ด่าง สารละลาย บรรยากาศคลอ
ไรด์ไดเ้ กือบทั้งหมด
2. ความต้านทานต่ออุณหภมู ิสูงและอุณหภูมิต่ำ สเตนเลสบางเกรดสามารถทนความร้อนและ
ความเย็น รวมถึงการเปลี่ยนอณุ หภมู ิโดยฉับพลันได้ดี และดว้ ยคุณสมบัติพิเศษในการทนไฟ ทำให้มีการ
นำ สเตนเลสไปใช้ในอตุ สาหกรรมขนส่ง อตุ สาหกรรมปิโตรเคมอี ยา่ งแพรห่ ลาย
3. งา่ ยตอ่ การประกอบหรือแปรรูป สเตนเลสส่วนใหญ่สามารถตัด เช่อื ม ตกแตง่ ทางกล ลากข้ึน
รปู ขึน้ รูปนูนต่ำไดง้ ่าย ด้วยรปู ร่าง คณุ สมบัติ และลักษณะตา่ ง ๆ ของสเตนเลสช่วยให้ผู้ผลิตสามารถ
นำสเตนเลสไปประกอบกับวสั ดอุ น่ื ๆ ไดง้ า่ ย
4. ความทนทานคุณสมบัติเด่นอีกประการหนึ่งของสเตนเลสคือความแข็งแกร่งทนทาน สเตน
เลสสามารถเพิ่มความแข็งได้ด้วยการขึ้นรูปเย็น ซึ่งใช้เพื่อออกแบบงาน โดยลดความหนา น้ำหนักและ
ราคา สเตนเลสบางเกรดอาจใช้งานในที่ทนความรอ้ นและยงั คงความทนทานสงู
5. ความสวยงาม ด้วยรูปทรงและพ้นื ผิวท่ีหลากหลายรูปแบบที่สวยงาม ทำความสะอาดได้ง่าย
ปจั จุบนั สเตนเลสมีสีให้เลอื กมากมายด้วยกรรมวิธีชุบเคลอื บผิวเคมไี ฟฟ้า สามารถทำให้สเตนเลสมีผิวสี
11
ทอง บรอนซ์ เขียว เงิน และสีดำ ทำให้สามารถเลือกประยุกต์ใช้สเตนเลสได้อย่างมากมาย นอกจากนี้
ความเงางามของสเตนเลสในอ่างล้างจานอุปกรณ์ประกอบอาหารหรือเฟอร์นิเจอร์ทำให้บ้านดูสะอาด
และน่าอย่อู กี ด้วย
6. ความปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ การทำความสะอาด การดูแลรักษาสเตนเลสจะมีความ
เป็นกลางสูงจงึ ไม่ดูดซึมรสใดๆ เป็นเหตุผลสำคญั ทีส่ เตนเลสถกู นำมาใช้ในโรงพยาบาล เครื่องครวั ด้าน
โภชนาการและดา้ นเภสชั กรรม เนือ่ งจากความทนทาน ต้องการการดแู ลรักษาน้อย และค่าใชจ้ ่ายต่ำเมื่อ
เปรียบเทียบกับระยะเวลา การใช้งาน การใช้อุปกรณ์เครื่องครัวสเตนเลสในบ้านเรอื นใหค้ วามรู้สึก ถึง
ความปลอดภัยแกผ่ ูใ้ ช้ และนอกจากนี้สเตนเลสยงั ชว่ ยอนุรักษส์ งิ่ แวดลอ้ มคอื สามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่
เกือบ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์
2.6 อลมู ิเนียมโปรไฟล์ (Aluminum Profile)
รปู ที่ 2.5 อลมู เิ นยี มโปรไฟล์
อลูมิเนียมโปรไฟล์ ( Aluminum Profile ) เป็นโลหะที่สะสมอยู่ภายใต้ผิวโลกมากเป็นอันดับ
สาม ในบรรดาธาตตุ า่ งๆท่ีมใี นผวิ โลก ผู้คนจึงหันมานยิ มการใช้งานสินค้าท่ที ำจากอลูมิเนียมโปรไฟล์
(Aluminum Profile) มากข้ึน ดว้ ยอตั ราการนำอลมู ิเนียมจากผวิ โลกข้นึ มาใชใ้ นปจั จบุ นั สนิ แรบ่ อกไซด์
จะยังคงพอเพียงกับ การบรโิ ภคได้อกี เป็นเวลาหลายรอ้ ยปี อลมู ิเนียม ( Aluminum Profile ) สามารถ
นำกลับมาหมุนเวียนใช้ได้ใหม่ จึงเป็นทางเลือกที่จะช่วยประหยัดทรัพยากรโลกได้ เหมาะสำหรับงาน:
อตุ สาหกรรมยานยนต์, อเิ ลก็ ทรอนิกส์, ก่อสรา้ ง, สถาปัตยกรรม, เฟอนิเจอร์ ดว้ ยอลั ลอย 6063, 6061,
6005A, 6082
12
1.คุณสมบัติอลูมเิ นยี ม ( Aluminum Profile ) ที่ดกี วา่ โลหะท่วั ไปคอื
1.1.เบาแต่แขง็ แรง
1.2.ทนทานต่อการสึกกร่อน
1.3.นำพาความร้อนและกระแสไฟไดด้ ี ไม่เป็นพษิ และไมต่ ิดไฟ
1.4.สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานตา่ ง ๆไดม้ ากมาย
1.5.สามารถนำไปประกอบ, ตัด, เจาะ, ดดั , ปมั๊ ได้ตามตอ้ งการ
1.6.สามารถเช่ือมต่อได้ด้วยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย
2.การนำอลูมิเนยี มโปรไฟล์ ( Aluminum Profile ) ไปใช้งาน
เดิมทกุ คนอาจคนุ้ เคยกับอลมู เิ นียมเสน้ รปู หน้าตดั ทใี่ ชส้ ำหรับงานกอ่ สรา้ งอาคารและท่ีอยอู่ าศัย
เพียงอย่างเดียว แต่ด้วยคุณสมบัติพิเศษต่าง ๆ ของอลูมิเนียม ( Aluminum Profile ) ทำให้ทุกวันนี้มี
การนำอลูมเิ นยี มมาใชง้ านในอุตสาหกรรมท่ีหลากหลายเกินกว่า ที่คณุ เคยรู้ นอกจากการนำมาใช้ในงาน
ประตู, หน้าต่าง, ฝ้า, ฯลฯ แล้ว เรายังสามารถดัดแปลงอลูมิเนียมไปใช้เป็นชิ้นงานสำหรับธุรกิจผลิต
รถยนต์, รถจักรยานยาน, เคร่ืองมือช่างและอุปกรณ์, มอเตอร์, ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์, และอื่น ๆอีก
มากมาย
2.7 รางเล่ือน
รางเลอ่ื นแบบตลับลกู ปืนหรือลเิ นยีร์ไกด์ (Linear Guide) คอื รางเลื่อนทีป่ ระกอบดว้ ยตัวรางซ่ึง
เปน็ ส่วนที่จะถูกประกอบเขา้ กับเหล็กฐานหรอื เสาของเครื่องจักรทอี่ ย่กู ับที่ ด้านบนและด้านข้างของตัว
รางจะมีร่องที่รูปทรงเข้ากับชุดตลับลกู ปืน ภายในตลับจะมีเม็ดลูกปืน (Bearing) เรียงรายกนั เป็นวงจร
ตามในภาพดา้ นลา่ ง
รูปที่ 2.6 รางเลอ่ื นแบบตลับลูกปืนหรอื ลิเนียร์ไกด์
ด้านบนของตลับลูกปืนจะถูกประกอบเข้ากับชิ้นส่วนที่ต้องการให้เคลื่อนที่ เช่น โต๊ะงานของ
เครื่องกัดหรือ ป้อมมีด เครื่องกลึง โดยจำนวนของตลับลูกปืนที่ใช้อาจเป็น 4, 6, 8 ตลับหรือมากกว่า
13
ขนึ้ อยกู่ ับระยะความยาวของช้นิ ส่วนนั้น ๆและความสามารถในการกระจายแรงตามความเหมาะสม ซึ่ง
เมื่อตลับลูกปืนเคลื่อนที่ เม็ดลูกปืนภายในจะหมุนวนกันไปทำให้ชิ้นส่วนสามารถเคลื่อนที่โดยเกิดแรง
เสยี ดทานเพียงเล็กนอ้ ยเท่าน้ันทั้งน้ี Linear Guide ก็ยงั สามารถแบง่ ย่อยได้อีกเป็นสองประเภทคือ Ball
Bearing Guideway ท่ีใช้ลูกปนื ทรงกลมท่ัวไป และแบบ Roller Bearing Guideway หรือทเี่ รียกกันว่า
Roller Guide ที่ใช้ลูกปืนทรงกระบอกหรือเม็ดหมอน (Cylindrical Roller Bearing) ซึ่งจะมีความ
แขง็ แรงมากวา่ แบบ Ball Bearing แต่ก็มีราคาสูงกวา่ และมีแรงเสยี ดทานในการเคล่อื นทม่ี ากกว่า
รปู ที่ 2.7 รางเลอื่ นแบบเหลก็ สเ่ี หล่ยี ม
รางเลื่อนแบบเหล็กสี่เหลี่ยม (Boxway Guide) คือ รางเลื่อนที่ส่วนของรางจะถูกหล่อมาเป็น
เน้ือเดยี วกันกับโครงสร้างเหลก็ หล่อของเครือ่ งจักร และผา่ นการกัดผวิ ชุบแข็ง และเจียระไนผิวให้เรียบ
เป็นรูปทรงคล้ายสี่เหล่ียมเงาวาว และอกี สว่ นท่ีนำมาประกบเข้ากบั รางเลื่อน จะมีรูปทรงเว้าเป็นส่ีเหลี่ยม
รบั กับตัวรางเลื่อน และถกู เคลือบผิวหน้าสัมผสั ด้วยวสั ดพุ ิเศษที่เรยี กวา่ ทำไกหรอื Turcite B ซึ่งเปน็ วัสดุ
ประเภทเรซิ่นที่มีค่าความเสียดทานต่ำและทนต่อสารเคมีและการสึกหรอสูงมาก โดยผิวทาไกจะถูก
ปรับแต่งด้วยการขูดเนื้อวัสดอุ อกทีละน้อยด้วยกรรมวิธีที่เรียก ว่าสแครปปิ่ง (Scraping) เพื่อให้ผิวของ
ทาไกสามารถสัมผัสแนบกับผิวรางเลือ่ นเหล็กหล่อได้อย่างสม่ำเสมอตลอดท้ังหน้าพื้นผิวสัมผัส ในขณะท่ี
ยงั คงมชี ่องว่างขนาดเล็ก สำหรบั ใหน้ ้ำ มันหล่อลื่นแทรกตัวเขา้ มาได้ซ่ึงการสแครปป่งิ ผิวทาไกถือ
เปน็ ขนั้ ตอนที่ สำคญั มากสำหรบั ผู้ผลิตเครือ่ งจักร
14
2.8 มอเตอร์เกยี ร์ (Gear Motor)
รูปท่ี 2.8 มอเตอร์เกยี ร์
มอเตอร์เกียร์ (Gear Motor) คือ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับควบคมุ รอบการทำงานของการเคลื่อนที่
วัตถุได้อย่างเหมาะสม เช่น เครื่องลำเลียงสินค้า เป็นต้น โดยอาศัยหลักการทำงานจากมอเตอร์แปลง
พลังงานไฟฟา้ ให้เป็นพลังงานกลทำใหว้ ตั ถุสามารถเคลื่อนที่ได้ และฟนั เฟืองหรอื เกยี รท์ ำหน้าท่ีลดรอบ
ความเร็วหรือทดรอบแรงบิด ซึ่งลักษณะภายนอกของอุปกรณ์นี้จะมีรูปทรงคล้ายกับท่อนโลหะ
ทรงกระบอกที่ประกอบด้วยตัวเรือน หน้าแปลน และก้านเพลายื่นออกมา ส่วนด้านในประกอบด้วย
กลไกการทำงานต่าง ๆเช่น ก้านเพลา แบริ่ง ฟันเฟือง ฯลฯ ทั้งนี้เนื่องจากมอเตอร์เกียร์มหี ลายรูปแบบ
ดังนน้ั จงึ ควรพจิ ารณาเลอื กใช้ให้เหมาะสมกับประเภทงานเพ่ือการทำงานท่ีมีประสิทธภิ าพสงู
2.9 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั
2.9.1 ศกึ ษาและปรบั ปรงุ ขั้นตอนการผลิตสาหร่ายให้มปี ระสิทธ์ิภาพมามากขึ้น
2.9.2 เพอื่ ควบคมุ ประสทิ ธิภาพในกระบวนการผลิตสาหรา่ ย
2.9.3 เพื่อใหก้ ารปรงุ รสสาหรา่ ยมีความสม่ำเสมอในเรือ่ งของรสชาติ
15
บทที่ 3
วิธดี ำเนนิ การวิจัย
3.1 การสร้างและหาประสิทธภิ าพส่ิงประดษิ ฐห์ รือวิธกี ารพัฒนา
3.1.1 ใช้โปรแกรม Solid works ในการออกแบบและพัฒนาผลงาน
3.1.2 ใชแ้ บบทดสอบหาประสทิ ธภิ าพจาการใช้งานจริง
3.2 ประชากรและการสมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง
3.2.1 ประชากร คอื กล่มุ คนทใ่ี ช้บริการเกีย่ วกับเคร่ืองรอ่ นผงปรงุ รสสาหรา่ ย
3.2.2 กลุ่มตัวอยา่ ง คอื สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มไดแ้ ก่ กลุ่มผู้ใชบ้ รกิ ารและกลมุ่ ผู้ให้บริการ
3.3 เครอ่ื งมอื ในการวิจัยและการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ
เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจยั คร้งั นี้เปน็ แบบสอบถามและการทดลอง โดยไดด้ ำเนินการสร้าง
ตามลำดบั ขน้ั ตอน
3.3.1 ศึกษาแนวความคดิ ทฤษฎี เอกสารและวรรณกรรมท่ีเกย่ี วขอ้ งกับงานวิจยั
3.3.2 ศกึ ษาหลักเกณฑ์และวิธสี รา้ งแบบสอบถามและการทดลอง จากตำราเอกสารทเี่ กีย่ วข้อง
เพอื่ นำมาปรับปรุงและสร้างแบบสอบถามและแบบทดลอง
3.3.3 สรา้ งแบบสอบถามตามหลกั เกณฑ์ใหค้ รบคลุมเนอ้ื หาและทดลองตามขัน้ ตอนการใชง้ าน
3.3.4 นำแบบสอบถามและแบบทดลองนำไปใช้งานจริง
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยครั้งนี้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนในทุกๆ ด้าน จึงรวบรวมข้อมูล
ทั้ง 2 ประเภทคือ ข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลทตุ ิยภูมิ โดยใช้หลักการ(PDCA) คือ การวางแผนการลงมอื
ปฏิบัติ การตรวจสอบ การประเมนิ ผล
3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ใช้หลักการแบบสอบถาม แบบบันทึกผลการทดลอง การทดลองไปใช้งานจริง โดยกำหนด
ขั้นตอนการทดลอง วัสดุ และ รูปภาพ เพื่อให้ได้ผลการทดลองที่แน่นอน พร้อมกับแจกแบบสอบถาม
วิเคราะห์ผลการทดลอง และนำผลจากแบบสอบถามมาสรุปเพิม่ เตมิ เพื่อนำไปแก้ไขปัญหาและพัฒนา
สิ่งประดษิ ฐใ์ ห้มีคุณภาพมากยง่ิ ข้ึน
16
3.6 ขน้ั ตอนการดำเนนิ การจดั ทำส่งิ ประดษิ ฐ์
3.6.1 การออกแบบร่อนผงปรุงรสสาหรา่ ย
รปู ท่ี 3.1 เครอื่ งรอ่ นผงปรงุ รสและนำ้ ตาล สำหรบั ทำสาหร่ายมว้ นอบกรอบ
3.6.2 ดำเนินการสร้างเคร่อื งร่อนผงปรุงรสและนำ้ ตาล สำหรบั ทำสาหร่ายม้วนอบกรอบ
รปู ท่ี 3.2 อุปกรณเ์ พอื่ ทำโครงสรา้ งฐาน
17
3.6.3 วดั ขนาดของวสั ดุตามที่ได้ออกแบบไว้
รปู ที่ 3.3 แสดงการวัดขนาดของวสั ดุ
3.6.4 ทำการประกอบโครงสรา้ งฐาน
รูปที่ 3.4 ประกอบอลมู ิเนยี มโปรไฟล์เพ่อื ข้นึ โครงสร้างฐาน
รปู ที่ 3.5 ประกอบอลูมเิ นียมโปรไฟลเ์ พอ่ื ขน้ึ โครงสร้างฐาน
18
บทที่ 4
ผลการวิจัย
4.1 ขนั้ ตอนการทดลองเครือ่ งร่อนผงปรงุ รสสาหรา่ ย
ตารางท่ี 4.1 แสดงการทดลองเครื่องรอ่ นผงปรุงรสสาหรา่ ย
คุณลกั ษณะ ผลการทดลอง
ปานกลาง พอใช้
ลำดับ รายการ ดมี าก ดี ปรบั ปรงุ
1 การจดั วางโครงสรา้ ง ✓
2 ความแขง็ แรงของโครงสรา้ ง ✓
3 การออกแบบโครงสรา้ ง ✓
4 ความสมบรู ณ์ของกลไกล ✓
5 ความสามารถในการใชง้ าน ✓
6 ระยะเวลาการใชง้ าน ✓
7 ความคล่องแคลว่ ในการใช้งาน ✓
8 ความสะดวกและความปลอดภัย ✓
9 ความเข้าใจในการใชง้ าน ✓
10 การบำรงุ รักษามีความงา่ ย ✓
4.2 การทดลองเครอ่ื งรอ่ นผงปรุงรสสาหรา่ ย
4.2.1 การทดลองเครื่องรอ่ นผงปรุงรสสาหรา่ ยอตั โนมตั ิ โดยทดลองการร่อน เพ่ือเปรียบเทยี บ
กับวิธีเดมิ
ตารางที่ 4.2 แสดงการทดลองเครอ่ื งรอ่ นผงปรุงรสรสสาหร่าย เครอื่ งจกั ร
ครัง้ คน สมำ่ เสมอ
1 ไมส่ มำ่ เสมอ สม่ำเสมอ
2 ไม่สม่ำเสมอ สม่ำเสมอ
3 ไม่สม่ำเสมอ
19
ตารางที่ 4.3 แสดงประสิทธภิ าพของเครื่องรอ่ นผงปรุงรสรสสาหรา่ ย
ขอ้ รายการ แบบทดสอบ ผลรวม รอ้ ยละ ระดบั ความ
(แผ่นสาหร่าย) คะแนน พึงพอใจ
1 ประโยชนจ์ ากการใชง้ าน 20 18 90 มากท่ีสุด
2 ความสะดวกในการใช้งาน 20 16 80 มาก
3 คณุ ภาพแผ่นสาหร่าย 20 20 100 มากทสี่ ุด
4 ความสมำ่ เสมอ 20 20 100 มากทีส่ ดุ
5 ประสิทธภิ าพในการใช้งาน 20 18 90 มากที่สดุ
รวม 100 92 92 มากท่สี ดุ
4.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉล่ีย (Mean) คา่ ความเบีย่ งมาตรฐาน (Standard Beviaion) (ร้อย
ละ) คำบรรยายประกอบและการแปลงผลใหแ้ กนสมบูรณ์ (Absolute Criteria) ตามแนวคดิ ตอ่ ไปนี้
90 - 100 หมายถงึ เหน็ ด้วยในระดบั มากท่สี ุด
80 - 89 หมายถงึ เห็นดว้ ยในระดบั มาก
70 – 79 หมายถึง เห็นดว้ ยในระดบั ปานกลาง
60 – 69 หมายถึง เห็นดว้ ยในระดบั นอ้ ย
50 - 59 หมายถงึ เห็นด้วยในระดับน้อยท่ีสดุ
20
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัยอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย
สรปุ ผลการทดลองตารางท่ี 4.1 การจดั วางโครงสร้าง ความแข็งแรงของโครงสร้าง การออกแบบ
โครงสร้าง ระยะเวลาการใช้งาน ความเข้าใจในการใช้งาน ผลการทดลองอยู่ในระดับ ดีมาก และความ
สมบูรณ์ของกลไกล ความสามารถในการใช้งาน ความคล่องแคล่วในการใช้งาน ความสะดวกและความ
ปลอดภยั การบำรงุ รักษามีความงา่ ย ผลการทดลองอยู่ในระดับ ดี
สรปุ ผลการทดลองตารางท่ี 4.2 การทดลองเครอ่ื งร่อนผงปรงุ รสสาหรา่ ย แสดงใหเ้ ห็นว่า เครอ่ื ง
รอ่ นผงปรุงรสสาหร่าย ร่อนผงสาหรา่ ยได้สมำ่ เสมอกว่าคน
สรุปผลการทดลองตารางที่ 4.3 การทดลองเครื่องร่อนผงปรุงรสสาหร่ายโดยพิจารณาจาก
ประโยชนจ์ ากการใช้งาน คณุ ภาพแผ่นสาหรา่ ย ความสม่ำเสมอ ประสิทธิภาพในการใช้งาน อยู่ในระดบั มาก
ที่สุด ความสะดวกในการใช้งาน อยใู่ นระดับ มาก
5.2 อภิปรายผล
เคร่ืองร่อนผงปรุงรสสาหร่าย เปน็ เครือ่ งมอื ท่ีช่วยในกระบวนการผลิตสาหร่ายม้วนอบกรอบใน
ขั้นตอนการร่อนผงปรุงรส ทำให้ผงปรุงรสมีความสมำ่ เสมอและสามารถช่วยลดการสูญเสียวตั ถุดิบจาก
การใช้แรงงานคน
5.3 ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ยั ไปใช้
การเปลย่ี นลกั ษณะของเครือ่ งรอ่ นผงปรุงรสสาหร่าย ให้มีขนาดการลำเลยี งท่ีกว้างขึ้น
5.4 ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ัยครงั้ ต่อไป
1. สามารถเปลย่ี นให้เป็นระบบอตั โนมตั ิ 100 %
2. สามารถทดแทนแรงงานคนได้ 100 %
21
บรรณานกุ รม
[1] สุวรรณา วรสงิ ห.์ 2551.ผลของความเค็มที่เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตของสาหร่ายผักกาดทะเล.
ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาประมงชายฝั่งจันทบุรี
[2] นวรตั น์ เหลา่ ชวลติ กลุ . 2544.สาหรา่ ยทร่ี ับประธานได้.สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่
ประเทศไทย.ปทมุ ธานี
[3] สาหร่ายมว้ นอบกรอบ .(ออนไลน)์ .2563. เข้าถึงได้จาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/สาหรา่ ยม้วนอบกรอบ
[4] นำ้ ตาลไอซิ่ง .(ออนไลน)์ .2560. เข้าถึงได้จาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/นำ้ ตาลไอซิ่ง
[5] สแตนเลส .(ออนไลน์) .2560. เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://www.moonlerstainless.com
[6] สแตนเลส .(ออนไลน์) .2560. เข้าถงึ ได้จาก :
https://www.vrh.co.th/index.php/th/product/what_is_stainless
[7] Aluminum Profile (อลูมิเนียมโปรไฟล)์ .(ออนไลน์) .2560. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
https://www.mostori.com/blog_detail.php?b_id=14
[8] Linear Guide .(ออนไลน)์ .2563. เข้าถงึ ได้จาก :
https://plusmax.co.th/wp-content/uploads/2020/06/know-ledge-Linear-
Guide-box-way.pdf
[9] มอเตอร์เกียร์ (Gear Motor) .(ออนไลน)์ . เข้าถึงได้จาก :
https://th.misumi-ec.com/en/pr/recommend_category/gear_motor/
[10] มอเตอร์ไฟฟา้ .(ออนไลน)์ .2564. เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/มอเตอร์ไฟฟ้า
22
ภาคผนวก
23
ภาคผนวก ก
คูม่ อื การใช้งาน
24
คู่มอื การใชง้ าน เครอื่ งร่อนผงปรงุ รสสาหร่าย
คุณลักษณะเฉพาะ
1. โครงสร้างทางกายภาพมีความเหมาะสม เลอื กใช้วสั ดุที่มีคณุ ภาพ แข็งแรงทนทาน
2. มีขนาด กว้าง 43 เซนตเิ มตร ยาว 91.5 เซนติเมตร สงู 103.5 เซนติเมตร
3. ใชม้ อเตอรไ์ ฟฟา้ 220 VAC
4. โรยผงปรงุ รสสาหร่าย
ขั้นตอนการติดต้ังใช้งาน
1. เตรียมผงปรงุ รสใสใ่ นตะแกรงรอ่ น
2. หมุน Select Switch ไปท่ี On จะแสดงไฟสถานะสเี ขยี วขน้ึ มา
3. กด Switch Start Conveyer เพ่อื ใหส้ ายพานลำเรยี งทำงาน พร้อมกบั หมนุ สวิตซ์
ไทริสเตอร์ เพือ่ ปรบั ความเรว็ ของสายพานลำเรียงให้เหมาะสม
25
4. กด Switch Start Motor ร่อนผงปรุงรสสาหร่าย พร้อมกบั หมนุ สวิตซไ์ ทริสเตอร์
เพ่ือปรับความเร็วของตะแกรงร่อนผงปรงุ รสใหเ้ หมาะสม
5. นำสาหร่ายวางลงบนสายพานลำเรียง
ขอ้ ควรระวังการบำรุงรักษา
1. ทำความสะอาดสายพานลำเรยี งและตะแกรงรอ่ นผงปรงุ รส
26
2. ตรวจสอบมอเตอรแ์ ละชดุ ข้อเหวีย่ งเขยา่ ตะแกรง
3. ตรวจสอบความตงึ – หยอ่ นของสายพาน
4. ตรวจสอบระบบควบคมุ ไฟฟ้าในต้คู อนโทรล
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพมิ่ เติม
สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ ส์และหุ่นยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ อุตสาหกรรมยานยนต์
ท่อี ยู่ เลขท่ี 55 ม.9 ถ.โรจนะ ต.คานหาม อ.อทุ ัย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 13210
เบอร์โทรติดต่อ 035-800661
27
User Manual
Seaweed seasoning sifter
Unique feature
1. The physical structure is appropriate. Choose quality materials that are
strong and durable.
2. The size is 43 centimeters wide 91.5 centimeters long 103.5 centimeters
high.
3. Use an electric motor 220 VAC.
4. Sprinkle with seaweed seasoning powder.
Installation steps
1. Prepare the seasoning powder and put it in a sieve.
2. Turn the Select Switch to On a green indicator light will appear.
3. Press the Switch Start Conveyer to run the conveyor. with a rotating
thyristor switch to adjust the speed of the conveyor belt accordingly
28
4. Press Switch Start Motor to sift seaweed seasoning powder. with a rotating
thyristor switch to adjust the speed of the seasoning sieve accordingly.
5. Place the seaweed on the conveyor belt.
Maintenance Precautions
4. Clean the conveyor belt and the seasoning sieve.
29
5. Check the motor and crankshaft shake sieve.
6. Check the tension – slack of the belt.
4. Check the electrical control system in the control cabinet.
Contact for more information
Mechatronics and Robotics Department. Automotive Industry Technical
Address 55 Moo 9 Rojana Road Khanham Subdistrict Uthai District
Phra Nakhon Si Ayutthaya Province 13210, contact number 035-800661
30
ภาคผนวก ข
แบบคุณลกั ษณะผลงานสง่ิ ประดษิ ฐ์ฯ
31
32
ภาคผนวก ค
แบบรับรองการนำสิ่งประดษิ ฐ์ไปใช้งานจรงิ
33
34
การทดสอบใช้งานสง่ิ ประดษิ ฐ์ “เคร่อื งร่อนปรงุ ปรงุ รสสาหรา่ ย”
ผ้ทู ดลอง : นายศุภกร ชุมประทีป โทรศพั ท์ : 061-1858480
ชื่อหนว่ ยงาน : สาหร่ายกรอบ ผลติ และจำหนา่ ยสาหรา่ ยมว้ นอบกรอบ ( เพจ : สาหร่ายกรอบ )
หมายเหตุ เนอื่ งจากสถานการณโ์ ควิค - 19 ทางรา้ นสาหรา่ ยกรอบ ไมอ่ นุญาตให้ผู้วจิ ยั นำเครอ่ื งรอ่ นผงปรงุ รสสาหรา่ ย
เข้าไปทดลองใชใ้ นพ้นื ของร้าน ทางผวู้ จิ ยั จงึ เชญิ คณุ ศุภกร ชมุ ประทปี เจ้าของรา้ นมาทดลองใชเ้ ครอื่ งฯ ทีแ่ ผนกเมคคา
ทรอนิกสแ์ ละหนุ่ ยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ อตุ สาหกรรมยานยนต์ เลขที่ 55 ม.9 ถ.โรจนะต.คานหาม อ.อทุ ัย จังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา 13210 เบอร์โทรตดิ ต่อ 035-800661
35
ภาคผนวก ง
หลกั ฐานการซือ้ ขายเชงิ พาณิชย์
36
37
ภาคผนวก จ
แบบสอบถามความพงึ พอใจ
38
แบบสอบถามความพึงพอใจ
“เครีอ่ งร่อนผงปรงุ รสสาหรา่ ย”
คำช้ีแจง แบบสอบถามนีจ้ ัดทำเพื่อศึกษาความคิดเห็นของท่านตอ่ การจัดโครงการวิจยั ส่งิ ประดิษฐ์ของ
คนรุ่นใหม่ “สุดยอดนวตั กรรมอาชวี ศกึ ษา”การประกวดส่ิงประดิษฐข์ องคนรนุ่ ใหม่ ประจำปีการศกึ ษา
2564
ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผู้ตอบ 1. เพศ (.....) ชาย (.....) หญิง
ตอนที่ 1 ความคิดเห็นโปรดทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ความคิดเหน็ ของทา่ น
รายการ ระดับของความคดิ เหน็
มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ
1. การจัดวางโครงสร้าง
2. ความแขง็ แรงของโครงสร้าง
3. การออกแบบโครงสร้าง
4. ความสมบรู ณ์ของกลไกล
5. ความสามารถในการใชง้ าน
6. ระยะเวลาการใชง้ าน
7. ความคล่องแคลว่ ในการใชง้ าน
8. ความสะดวกและความปลอดภัย
9. ความเขา้ ใจในการใช้งาน
10. การบำรุงรกั ษามคี วามง่าย
ตอนท่ี 2 ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม
............................................................................................................................. ........................................................................................ .....
..........................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................... ................
ขอขอบคณุ ที่ทา่ นกรุณาตอบแบบสอบถามครบทุกข้อ
39
ประวัตผิ จู้ ัดทำ
1. ชือ่ - นามสกลุ นายวธั นชัย ภาคาพรต
Name – Surname Mr.Watthanachai Pakahapot
2. เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1-1499-00680-29-1
3. ระดบั การศึกษา ปวช. ชนั้ ปที ่ี ........ ปวส. ชัน้ ปีที่ 2 ทล.บ. ชั้นปีท่ี ......
สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขางานเมคคาทรอนกิ ส์
ระยะเวลาที่ใช้ทำวิจัย เดอื นพฤศจกิ ายน 2564 - เดือนมกราคม 2565
4. ทอ่ี ยทู่ ี่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศพั ท์ โทรสาร และไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนิกส์
บ้านเลขท่ี 120 หมู่ 6 ตำบลลำตาเสา
อำเภอวังนอ้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา รหสั ไปรษณยี ์ 13170
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 093-227-1226
E-mail [email protected]
1. ชื่อ - นามสกุล นายวษิ ณุ รืน่ เรงิ
Name – Surname Mr.Wisanu Reuanroeng
2. เลขหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 1-2001-01856-74-8
3. ระดบั การศกึ ษา ปวช. ชั้นปที ี่ ........ ปวส. ช้ันปีที่ 2 ทล.บ. ชั้นปที ่ี ......
สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ ส์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์
ระยะเวลาที่ใช้ทำวิจยั เดอื นพฤศจิกายน 2564 - เดอื นมกราคม 2565
4. ทอี่ ยู่ที่ตดิ ตอ่ ได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศพั ท์ โทรสาร และไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์
บ้านเลขท่ี 100/846 หมู่ 12 ตำบลลำตาเสา
อำเภอวังนอ้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา รหัสไปรษณีย1์ 3170
เบอรโ์ ทรศัพท์ 089-805-4421
E-mail [email protected]
40
1. ชือ่ - นามสกุล นายกิตตพิ ันธ์ โกศลสทิ ธ์
Name – Surname Mr.Kititpan Kosolsit
2. เลขหมายบตั รประจำตัวประชาชน 1-1499-00676-67-7
3. ระดับการศึกษา ปวช. ช้นั ปที ี่ ........ ปวส. ชน้ั ปีท่ี 2 ทล.บ. ชน้ั ปที ่ี ......
สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์
ระยะเวลาที่ใชท้ ำวิจัย เดอื นพฤศจกิ ายน 2564 - เดือนมกราคม 2565
4. ทอ่ี ยู่ท่ีตดิ ต่อไดส้ ะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์
บ้านเลขท่ี 100/803 หมู่ - ตำบลบา้ นสร้าง
อำเภอบางปะอิน จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา รหัสไปรษณยี ์ 13170
เบอรโ์ ทรศัพท์ 083-424-6442
E-mail [email protected]
1. ชอ่ื - นามสกุล นายวนิ ยั ไวยธริ า
Name – Surname Mr.Winai Waitira
2. เลขหมายบัตรประจำตวั ประชาชน 1-1499-00672-73-6
3. ระดับการศกึ ษา ปวช. ชน้ั ปีท่ี ........ ปวส. ช้นั ปีที่ 2 ทล.บ. ช้นั ปที ่ี ......
สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์
ระยะเวลาที่ใช้ทำวจิ ัย เดอื นพฤศจิกายน 2564 - เดือนมกราคม 2565
4. ที่อย่ทู ี่ตดิ ต่อไดส้ ะดวก พร้อมหมายเลขโทรศพั ท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์
บ้านเลขที่ 26 หมู่ 4 ตำบลบา้ นสร้าง
อำเภอบางปะอนิ จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา รหัสไปรษณยี ์ 13170
เบอรโ์ ทรศัพท์ 080-661-3106
E-mail [email protected]
41
1. ช่อื - นามสกุล นายธนกร เนตรวิจติ ร
Name – Surname Mr.Thanakorn Netwijit
2. เลขหมายบตั รประจำตัวประชาชน 1-1802-00081-42-7
3. ระดับการศึกษา ปวช. ช้นั ปีท่ี ........ ปวส. ชนั้ ปีท่ี 2 ทล.บ. ช้ันปีท่ี ......
สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขางานเมคคาทรอนกิ ส์
ระยะเวลาที่ใช้ทำวจิ ยั เดือนพฤศจกิ ายน 2564 - เดือนมกราคม 2565
4. ท่ีอยทู่ ่ีติดต่อไดส้ ะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์
บ้านเลขท่ี 17/1 หมู่ 1 ตำบลวังไก่เถือ่ น
อำเภอหนั คา จงั หวดั ชัยนาจ รหัสไปรษณีย์ 17130
เบอร์โทรศพั ท์ 096-028-0709
E-mail [email protected]
1. ชื่อ - นามสกลุ นายเอกรักษ์ สุขเจริญ
Name – Surname Mr.Ekkarak Sukcharoen
2. เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1-1007-03272-15-0
3. ระดบั การศึกษา ปวช. ชน้ั ปที ี่ ........ ปวส. ชั้นปีที่ 2 ทล.บ. ช้นั ปีที่ ......
สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์
ระยะเวลาท่ีใช้ทำวจิ ัย เดือนพฤศจกิ ายน 2564 - เดือนมกราคม 2565
4. ที่อยู่ท่ีตดิ ตอ่ ไดส้ ะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์
บ้านเลขที่ 55/388 หมู่ - ตำบลอทุ ยั
อำเภออทุ ัย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา รหัสไปรษณีย์ 13210
เบอร์โทรศพั ท์ 085-568-5047
E-mail [email protected]
42
1. ชื่อ - นามสกุล นายพงศกร แผนกทาน
Name – Surname Mr.Pongsakorn Phanaektarn
2. เลขหมายบัตรประจำตวั ประชาชน 1-1499-00678-66-1
3. ระดบั การศึกษา ปวช. ชน้ั ปีท่ี ........ ปวส. ช้ันปีที่ 2 ทล.บ. ชน้ั ปีที่ ......
สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ ส์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์
ระยะเวลาที่ใช้ทำวิจยั เดือนพฤศจกิ ายน 2564 - เดือนมกราคม 2565
4. ทอ่ี ยทู่ ี่ติดต่อได้สะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์
บ้านเลขที่ 19/7 หมู่ 4 ตำบลคานหาม
อำเภออุทัย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา รหสั ไปรษณีย์ 13210
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 092-825-7815
E-mail [email protected]
1. ชอ่ื - นามสกลุ นายกฤษณะ โนนดี
Name – Surname Mr.Kritsana Nondee
2. เลขหมายบตั รประจำตัวประชาชน 1-6706-00185-88-8
3. ระดบั การศกึ ษา ปวช. ชั้นปที ี่ ........ ปวส. ชัน้ ปีท่ี 2 ทล.บ. ชน้ั ปที ี่ ......
สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ ส์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์
ระยะเวลาท่ีใช้ทำวจิ ยั เดือนพฤศจิกายน 2564 - เดอื นมกราคม 2565
4. ทีอ่ ย่ทู ี่ติดต่อไดส้ ะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
บ้านเลขที่ 273 หมู่ 10 ตำบลสระกรวด
อำเภอศรีเทพ จงั หวดั เพรชบูรณ์ รหัสไปรษณยี ์ 67170
เบอรโ์ ทรศัพท์ 064-675-1931
E-mail [email protected]