The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จะทำให้เห็นภาพการเล่าเรื่องในหลวงรัชกาลที่ 9 ในมุมมองใหม่ การกลั่นกรองข้อมูลมหาศาลเป็นหนังสืออ่านง่ายขนาดถนัดมือ เป็นความตั้งใจของทีมงาน ‘สานต่อที่พ่อทำ’ ที่อยากถ่ายทอดแนวคิดการทรงงานของพระราชาให้เรียบง่ายที่สุด ไม่ใช่เพียงเพื่อชื่นชมพระองค์ในฐานะกษัตริย์ แต่มองเห็นหลักการทำงานและใช้ชีวิตของคนทำงานคนหนึ่ง ซึ่งผู้อ่านสามารถแกะรอยและลงมือปฏิบัติตามได้จริงทันที

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siriwan Siripirom, 2019-11-29 00:10:00

The Visionary ถอดรหัสกษัตริย์ผู้มองเห็นอนาคต

จะทำให้เห็นภาพการเล่าเรื่องในหลวงรัชกาลที่ 9 ในมุมมองใหม่ การกลั่นกรองข้อมูลมหาศาลเป็นหนังสืออ่านง่ายขนาดถนัดมือ เป็นความตั้งใจของทีมงาน ‘สานต่อที่พ่อทำ’ ที่อยากถ่ายทอดแนวคิดการทรงงานของพระราชาให้เรียบง่ายที่สุด ไม่ใช่เพียงเพื่อชื่นชมพระองค์ในฐานะกษัตริย์ แต่มองเห็นหลักการทำงานและใช้ชีวิตของคนทำงานคนหนึ่ง ซึ่งผู้อ่านสามารถแกะรอยและลงมือปฏิบัติตามได้จริงทันที

ถอดรหสั กษตั รยิ ์ผ้มู องเห็นอนาคต

หนังสอื เล่มนีไ้ ม่ได้จะมาเลา่ เรอื่ งราวของกษตั ริย์ผ้ยู ่งิ ใหญ่ แต่ตั้งใจ
บอกเล่าเรื่องราวของนักฝันคนหนึ่งที่มองไปยังเส้นทางในอนาคตด้วย
วสิ ัยทัศน์ทนี่ ่าอศั จรรย์
รูปแว่นตาบนหน้าปก คือตัวแทนในหลวงรัชกาลท่ี 9 ที่ลดทอน
รายละเอียดลงจนเหลือเพียงสัญลักษณ์แทนมุมมองหรือวิสัยทัศน์ของ
พระองค์ อันเปน็ มมุ มองที่ไมไ่ ดม้ หศั จรรยพ์ ันลึก ไม่ได้เป่ยี มดว้ ยอภินหิ าร
ตระการตา แต่เป็นมุมมองที่เกิดจากการท�ำงาน เพราะเมื่อถอดเคร่ือง
ทรงยศถาบรรดาศกั ดใิ์ นฐานะกษตั รยิ อ์ อกหมดแลว้ พระองคท์ รงเปน็ เพยี ง
แค่คนทำ� งานคนหนง่ึ ท่สี ่ังสมประสบการณ์ รวบรวมข้อมลู ลองผิดลองถกู
มานับคร้ังไม่ถ้วน และกล้าที่จะล้มเหลว เพื่อจะได้เรียนรู้จนค้นพบวิธีท่ีดี
ทีส่ ุดสำ� หรับการใชช้ วี ิตในวนั นี้และวนั ข้างหนา้
สิง่ นี้เอง ที่เราเรียกว่า THE VISIONARY
VISION ของในหลวงเกิดจากสองหลักการง่ายๆ เท่านั้น คือหน่ึง
มองปัญหาใหล้ กึ ซึง้ และสองก�ำหนดเป้าหมายใหช้ ัดเจน ดังทจี่ ะไดอ้ า่ นใน
หน้าต่อๆ ไป
หนงั สอื เลม่ นแี้ บง่ เปน็ 9 บท แตล่ ะบทพยายามวเิ คราะหก์ ารทำ� งาน
ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ออกมาเป็นหลักการ 9 ข้อ ผ่านแต่ละด้านของ
ชีวิตการท�ำงานตลอด 70 ปีของพระองค์ โดยต้ังใจให้ผู้อ่านทุกท่านรู้สึก

4 THE VISIONARY ห้ามจำ�หน่าย

เหมือนได้ย้อนเวลากลับไปยังเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน และมองมัน
ผ่านแว่นตาชนิดเดียวกันกับท่ีในหลวงทรงใช้มอง เพื่อจะได้เข้าใจวิธีการ
ท�ำงานและวิธีคิดของท่าน ซ่ึงไม่ใช่แนวคิดที่ซับซ้อนอะไรเลย แต่กลับ
ลกึ ซ้งึ และตรงประเด็นอย่างย่ิง
เราคดิ วา่ วธิ คี ดิ และวธิ ที ำ� งานของในหลวง มคี ณุ คา่ มากกวา่ แคอ่ า่ น
เพื่อระลึกถึงท่านเพียงอย่างเดียว แต่สิ่งเหล่าน้ีล้วนน�ำมาใช้ปรับกับ
ชวี ติ การงานและชวี ติ ประจำ� วนั ของทุกๆ คนไดท้ ั้งน้นั
เพราะเราเชอื่ วา่ การสานตอ่ สงิ่ ทใ่ี นหลวงทำ� คอื การนำ� วธิ คี ดิ ทเ่ี ปย่ี ม
ดว้ ยคุณคา่ ของพระองคม์ าใช้เพื่อชีวติ ที่ดีข้ึน และเม่อื ใดที่เรามีชีวติ ทดี่ ีขน้ึ
คนรอบตวั กด็ ขี น้ึ และสดุ ทา้ ยสงั คมนก้ี จ็ ะดขี นึ้ นนั่ ตา่ งหากถงึ จะสมประสงค์
กับสง่ิ ทใ่ี นหลวงทรงทุ่มเทกระทำ� มาตลอดอายขุ ยั ของท่าน
หลังจากหน้าสุดท้ายของหนังสือเล่มน้ีถูกพลิกปิดลง เราหวังว่า
ผู้อ่านทุกท่านจะเห็นโลกน้ีเปล่ียนไปในแว่นตาคู่ใหม่ สวมใส่วิสัยทัศน์
แลว้ มองออกไปยังอนาคต
ซึง่ เราเริม่ ท�ำไดเ้ ลย ณ ตอนน้ี โดยไมต่ อ้ งรีรอ

ทีมงานสานต่อทพี่ อ่ ท�ำ

ห้ามจำ�หน่าย 5

01

อยากส�ำเร็จให้

STAY CONNECTED





4,685
คอื จำ� นวนโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รขิ องในหลวงตลอด
ระยะเวลา 70 ปที ่คี รองราชย์
ถ้าคิดง่ายๆ ก็เท่ากับว่าทุกๆ หนึ่งปี พระองค์ทรงริเริ่มโครงการ
ไมต่ ำ่� กวา่ 60 โครงการ
และหากลองคำ� นวณใหล้ ะเอียดขึ้น กอ็ าจพดู ไดว้ ่าในหลวงทรงคิด
โครงการใหม่ทุกๆ สัปดาห์
คงเป็นเรื่องท่ีเชื่อได้ยากว่าจะมีมนุษย์คนไหนท�ำงานได้มากมาย
ถึงเพียงนี้
แต่เชื่อเถอะว่ามนุษย์แบบนั้นมีอยู่จริง และตัวเลขน้ีก็ไม่ใช่เร่ือง
เหนือจริงแตอ่ ย่างใด
ซึง่ การจะทำ� งานมากขนาดน้ีได้ มันมีเคล็ดลบั อยนู่ ิดเดียว
เคลด็ ลับอยูท่ ่ีการส่ือสาร

10 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

การส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพย่อมก่อให้เกิดโครงข่ายของข้อมูลขึ้น
เหมือนกับการวาดจุดลงบนกระดาษสักสิบจุด แล้วลากเส้นจุด
เหล่านั้นให้เช่ือมกันทุกจุด หากเปรียบเส้นเหล่าน้ันเป็นสัญญาณวิทยุ
คนที่อยู่ในจุดที่หน่ึงก็จะรู้เรื่องราวจากทุกจุดได้อย่างท่ัวถึง และที่พิเศษ
ไปกว่าน้ันคือไม่ว่าเราจะเดินทางไปท่ีจุดไหนเราก็ยังคงรู้เรื่องราวจากจุด
อื่นๆ อย่างครบถว้ นไมม่ ีขาดตกบกพรอ่ ง

การท�ำงานก้าวแรกของในหลวงคือการพยายามสร้างเครือข่าย
ในฝนั ที่วา่ นใี้ หก้ ลายเป็นจริง

ห้ามจำ�หน่าย 11

CONNECTING PEOPLE

เรื่องเริ่มข้ึนในวันที่ในหลวงข้ึนครองราชย์ ด้วยความท่ีใช้ชีวิตอยู่
ในยุโรปเป็นส่วนใหญ่ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์มาจนถึงช่วงขึ้นครองราชย์
ในระยะแรก คงไมใ่ ชเ่ รอื่ งแปลกทจี่ ะบอกวา่ ในเวลานนั้ ประชาชนสว่ นใหญ่
แทบจะไม่รู้จกั พระองค์เลย
คงคล้ายกับบริษัทที่มีผู้บริหารระดับสูงคนใหม่เข้ามารับต�ำแหน่ง
แต่ด้วยความท่ีผู้บริหารคนนั้นเพิ่งกลับจากเมืองนอกท�ำให้ยังไม่ค่อยมี
พนกั งานรจู้ กั มากนกั ซง่ึ แนน่ อนวา่ มผี ลตอ่ ความนา่ เชอ่ื ถอื และการทำ� งาน
ท่ีจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต
ถ้าคุณคอื ผู้บริหารคนน้ัน สิ่งแรกทค่ี ุณจะท�ำคืออะไร?
บางคนอาจเลือกที่จะโฆษณาประวัติเกียรติคุณของตัวเองให้
พนกั งานรู้ บางคนอาจเลอื กทจี่ ะเรง่ ทำ� งานเพอ่ื สรา้ งผลงานใหเ้ หน็ เรว็ ทสี่ ดุ
หรือบางคน อาจจะใช้วิธีส่ังการแบบเฉียบขาดเพ่ือสร้างฐานอ�ำนาจอย่าง
รวดเรว็
แตส่ งิ่ ทใี่ นหลวงทรงเลอื ก คอื ทำ� ความรจู้ กั กบั ประชาชนของพระองค์
เสยี ก่อน

12 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

ครั้งน้ันเมื่อในหลวงเสด็จฯ กลับมาถึงเมืองไทย สิ่งแรกที่ทรงคิด
คือหาช่องทางที่จะท�ำให้พระองค์สามารถสื่อสารกับประชาชนได้โดยตรง
แบบไม่ต้องมีขน้ั ตอนหรือพิธีการใดๆ ให้วนุ่ วาย
ในยุคท่ีโลกยังไม่มีการส่ือสารออนไลน์ ไม่มีเว็บไซต์ ไม่มีโซเชียล-
เน็ตเวิร์ก ไม่มีแอปพลิเคชันแชตต่างๆ ให้เราคุยกันได้อย่างสะดวก หรือ
แมแ้ ตโ่ ทรทศั นก์ ย็ งั ไมม่ ใี หด้ กู นั อยา่ งแพรห่ ลาย การสอ่ื สารผา่ นวทิ ยจุ งึ เปน็
ทางเลือกท่ดี ที ี่สดุ
และน่นั จึงเป็นทม่ี าของสถานีวทิ ยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต
ในช่วงแรกเริ่ม ในหลวงทรงจัดคล่ืน อ.ส. ให้เป็นรายการดนตรี
โดยท่านจดั รายการและเปดิ แผน่ เสยี งเอง บ้างคร้ังกม็ ีเปดิ บนั ทกึ เสยี งจาก
วงดนตรขี องโรงเรยี นสอนคนตาบอด และจดั แสดงดนตรสี ดดว้ ย เพราะทา่ น
ทรงมองวา่ ดนตรเี ปน็ ภาษาสากล ซงึ่ สามารถกา้ วขา้ มผา่ นอปุ สรรคทางภาษา
วัย ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และวฒั นธรรมทแ่ี ตกต่างได้
และเมอื่ เรารจู้ กั กนั แลว้ จะพดู คยุ ปรกึ ษาอะไรกง็ า่ ยขน้ึ เปน็ ธรรมดา
เมื่อสถานีวิทยุ อ.ส. ออกอากาศไปพักหน่ึง ในหลวงก็ทรงเห็น

ห้ามจำ�หน่าย 13

ชอ่ งทางการใชว้ ทิ ยใุ หเ้ กดิ ประโยชนม์ ากขน้ึ ชว่ งนนั้ ประเทศไทยกำ� ลงั เผชญิ
วกิ ฤติโรคโปลโิ อระบาด พระองค์จึงทรงริเรมิ่ โครงการ ‘ท�ำบญุ กบั ในหลวง’
โดยใหก้ อ่ ตง้ั กองทนุ โปลโิ อสงเคราะหข์ น้ึ จากนนั้ กใ็ ชว้ ทิ ยชุ กั ชวนประชาชน
ให้ร่วมกันบริจาคทรัพย์ พร้อมจัดรายการสารคดีให้ความรู้เร่ืองการท�ำ
กายภาพบ�ำบัดส�ำหรับผู้ป่วยโปลิโอควบคู่ไปด้วย ผลคือมีประชาชน
สมทบทุนเป็นจ�ำนวนมาก จนสามารถสร้างตึกและซื้ออุปกรณ์เคร่ืองมือ
เพอื่ รกั ษาผ้ปู ว่ ยไดอ้ ยา่ งเต็มที่
จากความส�ำเร็จในครั้งนี้ ในหลวงจึงเร่ิมใช้สถานีวิทยุ อ.ส. เป็น
เคร่ืองมือส่ือสารแบบสองทางกับประชาชน แทนที่จะใช้วิทยุส่งสารให้แก่
ประชาชนเพียงทางเดียว
อยา่ งเชน่ เมอ่ื ครัง้ เกิดเหตุพายุโซนร้อนแฮเรยี ตพัดถลม่ 12 จงั หวัด
ภาคใตจ้ นไดร้ บั ความเสยี หายอยา่ งหนกั เม่อื ปี 2505
ขณะน้ันในหลวงก�ำลังทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี อ.ส. วันศุกร์
ออกอากาศในสถานี เม่อื ทราบข่าว พระองคก์ ็โปรดฯ ใหน้ ักดนตรรี ว่ มวง
ประกาศออกไมโครโฟนเพอ่ื ขอรบั บรจิ าคทนั ที พรอ้ มเปดิ สายใหป้ ระชาชน
โทรศพั ท์เข้ามาขอเพลงแลกกับการบริจาค

14 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ ทรงเล่าดว้ ยพระอารมณ์ขันวา่ “จ�ำ
ไดม้ ีคนโทรศพั ทบ์ ริจาคเงินขอเพลง และมคี นโทรศพั ท์มาบรจิ าคเงนิ ขอให้
หยดุ ร้องดว้ ย กร็ วบรวมเงินได้พอควร”
กจิ กรรมนดี้ ำ� เนนิ ต่อเน่ืองไปถงึ สบิ เดือน มียอดผู้บริจาคเข้ามากวา่
สบิ ลา้ นบาท หลงั จากเปลย่ี นเงนิ บรจิ าคใหเ้ ปน็ อาหาร เสอ้ื ผา้ เครอื่ งนงุ่ หม่
อุปกรณ์ซ่อมแซมบ้านท่ีพัก รวมท้ังสร้างสถานสงเคราะห์เด็ก เพ่ือรับ
บตุ รหลานของผปู้ ระสบภยั ทก่ี ำ� พรา้ บดิ ามารดา จนเหตกุ ารณบ์ รรเทาลงแลว้
แตก่ ย็ งั มเี งนิ บรจิ าคเหลอื อยถู่ งึ สามลา้ นบาท ในหลวงจงึ นำ� ไปกอ่ ตงั้ มลู นธิ ิ
ราชประชานเุ คราะห์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เพอ่ื แจกถงุ ยงั ชพี พระราชทาน
ไปทวั่ ประเทศเมื่อท่ใี ดเกิดเหตภุ ัยพบิ ตั ิ
การเปิดสถานวี ทิ ยุ อ.ส. ของในหลวงนั้น ท�ำใหธ้ รรมชาตทิ ีเ่ ปน็ การ
สือ่ สารทางเดียวของวิทยเุ ลือนหายไป
หายไปพร้อมๆ กบั ช่องว่างระหวา่ งพระราชากับประชาชน

ห้ามจำ�หน่าย 15

สายอากาศสุธี 2 นั้น
มีตวั ขยายสัญญาณ
มากถงึ 16 ตวั ต่อหนงึ่ เสา

พ.ศ.2517 สายอากาศสุธี 2 ถกู พัฒนาจนสำ� เรจ็ สามารถรบั สญั ญาณ
เครอื่ งส่งวิทยุก�ำลงั ไม่เกิน 10 วตั ต์ ในระยะ 600 กิโลเมตร

CONNECTING
INFORMATION

ตอ่ มา ในหลวงก็เร่ิมมแี นวคิดทจ่ี ะพัฒนาอุปกรณ์การสอื่ สารอ่นื ๆ
นอกเหนือไปจากสถานีวิทยุ ด้วยทรงมองเห็นว่าเทคโนโลยีการสื่อสาร
นี่แหละคอื กุญแจส�ำคัญทีจ่ ะชว่ ยใหก้ ารงานมปี ระสิทธิภาพมากข้นึ
อุปกรณช์ นิ้ แรกทีใ่ นหลวงทรงใช้ คือ วิทยสุ อ่ื สาร ที่เร่ิมแรกทรงใช้
เพ่ือแก้ปัญหาจราจรส่วนพระองค์ เน่ืองจากทรงทราบว่าเวลาท่ีเสด็จฯ
ไปงานพระราชพิธีต่างๆ ต�ำรวจจะปิดกั้นถนนล่วงหน้าเป็นเวลานาน
ทรงเกรงวา่ ประชาชนจะเดอื ดรอ้ น จงึ โปรดใหต้ ำ� รวจและกรมราชองครกั ษ์
ติดตอ่ กันผ่านวทิ ยสุ ่ือสาร เพือ่ เชก็ วา่ รถพระทน่ี ่ังแลน่ ไปถึงไหนแล้ว จะได้
ปดิ ถนนส่วนตอ่ ไปและเปิดถนนสว่ นทีแ่ ลน่ ผ่านไปแลว้ ทนั ที ร่นระยะเวลา
การปดิ ถนนลงให้ส้ันทส่ี ดุ เท่าท่จี ะท�ำได้
แต่ดูเหมือนน่ันจะไม่ใช่ส่ิงที่พระองค์ต้องการอย่างแท้จริง เพราะ
งานปิดเปิดถนนนี้เป็นแค่ธุระส่วนพระองค์เท่าน้ัน ยังมีการงานอ่ืนๆ
ในประเทศท่ีต้องการการสอื่ สารทท่ี ว่ั ถึงและครอบคลมุ ชัดเจนยิง่ กวา่ นี้
ดว้ ยเหตนุ ี้ พระองคจ์ งึ ทรงทดลองคน้ หาหนทางการสอื่ สารทด่ี ที ส่ี ดุ
เพราะหน่ึงในหัวใจส�ำคัญของการสื่อสาร คือความถูกต้องของข้อมูล

ห้ามจำ�หน่าย 17



ท่ีได้รับ จึงโปรดฯ ให้ รศ.ดร.สุธี อักษรกิตต์ิ ผู้เชี่ยวชาญด้านสายอากาศ
ซ่ึงเคยท�ำงานกับนาซาเข้ามาช่วยพัฒนาระบบ จนเกิดเป็นมาตรฐานใหม่
ของสายอากาศที่เรยี กกนั วา่ รอยัล สแตนดาร์ด (Royal Standard)
ขณะท่ีมาตรฐานของสายอากาศทั่วๆ ไป จะสูญเสียความชัดเจน
จากตน้ ทางไดไ้ มเ่ กนิ รอ้ ยละสบิ แตส่ ายอากาศรอยลั สแตนดารน์ นั้ สญู เสยี
ความชัดเจนจากตน้ ทางแคไ่ มเ่ กินรอ้ ยละหนึ่งเทา่ นัน้
ความชัดเจนที่ต่างกัน สร้างความแตกต่างของผลงานไปได้
เปน็ คนละเรอ่ื งเลยทเี ดยี ว
และนอกจากพัฒนาคณุ ภาพของความชัดเจนแล้ว ในหลวงยงั ทรง
พัฒนาพื้นที่ครอบคลุมของสัญญาณวิทยุอีกด้วย ลองนึกถึงยุคท่ีการส่ง
สัญญาณจากกรุงเทพฯ ไปปริมณฑลยังเรียกได้ว่ายาก พระองค์โปรดให้
พฒั นาสายอากาศคุณภาพสูง ทสี่ ามารถส่งสัญญาณจากเมอื งหลวงไปยัง
หัวเมืองต่างๆ ได้ท่ัวประเทศ ต้ังแต่พิษณุโลก ตราด ประจวบคีรีขันธ์
ไปจนถงึ เชยี งใหมท่ อี่ ยู่หา่ งจากกรงุ เทพฯ เกอื บ 600 กโิ ลเมตร

ห้ามจำ�หน่าย 19

หรือการที่ทรงคิดพัฒนาระบบโทรศัพท์ให้สามารถคุยได้พร้อมกัน
สามสาย และการน�ำเคร่ืองเทเลกซ์ ท่ีสามารถรับข่าวสารจากหน่วยงาน
ต่างๆ ได้ตลอด 24 ช่วั โมง เขา้ มาใชใ้ นห้องทรงงาน
และถงึ แมส้ ง่ิ ทคี่ ดิ ขน้ึ มานนั้ จะมที สี่ ำ� เรจ็ บา้ ง ลม้ เหลวบา้ ง แตส่ ดุ ทา้ ย
ขอ้ มลู ทงั้ หมดก็เช่อื มต่อกันเปน็ เครือขา่ ยขนาดยักษ์ พร้อมนำ� ไปใชท้ �ำงาน
ในหลวงเคยให้สัมภาษณ์แก่นักข่าวสถานีโทรทัศน์ BBC ท่ีถามว่า
ท�ำไมท่านต้องมีเครื่องมือส่ือสารในห้องทรงงานมากมายเช่นนี้ว่า
“เครอื่ งมอื สอ่ื สารน้ี มปี ระโยชนใ์ นการตดิ ตามขา่ วสาร หากมภี ยั พบิ ตั ติ า่ งๆ
จะทำ� ให้สามารถเขา้ ไปช่วยเหลอื ไดอ้ ยา่ งทันทว่ งท”ี
เพราะปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนนั้นเกิดข้ึนได้เสมอ
ไม่เลือกเวลา ไม่เลือกสถานท่ี ทางเดียวท่ีพระองค์ท�ำได้คือต้องมีข้อมูล
ท่ีอัพเดตอยู่เสมอ
ตัวอย่างเช่นคร้ังหน่ึง เกิดเหตุวาตภัยขึ้นท่ีอ�ำเภอสวนผ้ึง จังหวัด
ราชบรุ ี นกั วทิ ยอุ าสาจำ� นวนมากเขา้ ไปชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั แตต่ ดิ ปญั หา
วา่ หาวธิ จี ดั ตง้ั เครอื ขา่ ยสญั ญาณวทิ ยไุ มไ่ ดเ้ สยี ที ในหลวงทรงฟงั เรอื่ งอยใู่ น
ห้องทรงงาน ก็ต่อสายเข้ามาแนะน�ำ ด้วยการให้น�ำรถยนต์ท่ีติดตั้ง

20 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

เครือ่ งรบั -สง่ วทิ ยไุ ปจอดในพืน้ ท่ีสงู ใกล้ๆ ทเี่ กิดเหตุ ทง้ั ยงั กำ� ชับใหเ้ ตรยี ม
แบตเตอรีส�ำรองพร้อมฉนวนหุ้มขั้วแบตเตอรี เพื่อป้องกันการลัดวงจร
ดว้ ยความรอบคอบอีกด้วย
หรืออีกคร้ังหนึ่งตอนน้�ำท่วมกรุงเทพฯ บริเวณซอยศูนย์วิจัย
ถนนพระราม 9 ถูกท�ำให้เป็นคันกั้นน้�ำเพ่ือไม่ให้น้�ำทะลักเข้าเขตเมือง
มาเปน็ ระยะเวลาหนง่ึ ในหลวงทรงเหน็ ดงั นนั้ กม็ รี บั สง่ั ใหร้ ะบายนำ�้ โดยดว่ น
เจ้าหน้าที่ก็แย้งพระองค์ว่าฝนก�ำลังท�ำท่าจะตก คงปล่อยน�้ำไม่ได้
แต่ในหลวงก็ยังทรงยืนกรานให้ระบายน้�ำ เพราะพระองค์ทรงดูเรดาร์
ของกรมอุตุนิยมวิทยาควบคู่ไปด้วย จึงทราบว่าฝนไม่ตกแน่นอน ควรจะ
ระบายน้�ำออก เพื่อให้ประชาชนแถวน้ันไม่ตึงเครียดกับสถานการณ์น�้ำ
มากเกนิ ไป
และเหตุการณ์ทั้งหมดท่ีเล่ามานี้ ในหลวงทรงติดตามสถานการณ์
มาจากพระต�ำหนกั ทักษณิ ราชนเิ วศน์ จังหวดั นราธิวาส
ที่ทรงท�ำเช่นน้ีได้ ก็เพราะการส่ือสารท่ีสมบูรณ์พร้อมท้ัง
ความถกู ตอ้ ง ความครอบคลมุ และความรวดเร็ว

ห้ามจำ�หน่าย 21

STAY CONNECTED

และเมือ่ ทกุ จดุ connect เขา้ ด้วยกันเรยี บรอ้ ยแลว้ ส่ิงส�ำคัญลำ� ดับ
สุดท้ายทต่ี ้องทำ� คอื การ stay connected
เพราะนอกจากการใชเ้ ครอื ขา่ ยการสอ่ื สารเพอื่ เกบ็ ขอ้ มลู เพอ่ื ตดิ ตอ่
ประสานงานแล้ว ในหลวงทรงใช้เครือขา่ ยนี้เพอ่ื ตดิ ตามความคบื หน้าของ
โครงการท่ีทา่ นไดเ้ รมิ่ ไว้ จนกวา่ โครงการน้ันๆ จะสำ� เรจ็ ลลุ ่วง
มีเรอ่ื งเล่าวา่ เมื่อครง้ั ท่ี คณุ เกรียงศักดิ์ หงษ์โต ไดร้ บั คำ� สั่งใหเ้ ขา้ รับ
ต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนาเขาหินซ้อน จังหวัดฉะเชิงเทรา
เมื่อปี 2537 ซ่ึง ณ ตอนน้ันในหลวงไม่ได้เสด็จฯ มาหลายปีแล้ว สภาพ
เขาหินซอ้ นเสอื่ มโทรมลงมาก
แค่คุณเกรียงศักดิ์ก็ตั้งใจท่ีจะพลิกฟื้นให้ศูนย์พัฒนาเขาหินซ้อน
กลับมามีประสิทธิภาพอีกคร้ัง นับแต่น้ัน ทุกวันพุธคุณเกรียงศักดิ์จะท�ำ
รายงานความคบื หนา้ ของโครงการตา่ งๆ สง่ ไป แมจ้ ะไมร่ วู้ า่ ในหลวงไดท้ รง
อ่านหรอื ไมแ่ ต่ก็ยงั คงทำ� แบบนี้อยถู่ งึ สามปีเตม็
จนวันหน่ึงในหลวงมีรับส่ังกลับมาว่าจะเสด็จฯ ไปดูความคืบหน้า
ของโครงการที่เขาหินซ้อนอีกคร้ัง หลังจากที่พระองค์ทรงติดตาม
ความสำ� เรจ็ จากรายงานทีค่ ณุ เกรียงศักดิส์ ่งไปให้มาตลอดสามปนี ่นั เอง
นค่ี อื หลกั ฐานทที่ ำ� ใหเ้ ราเหน็ วา่ การสอื่ สารทำ� ใหโ้ ครงการอนั ยาวนาน

22 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

ของในหลวงสามารถพฒั นาไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งโดยทต่ี วั ทา่ นไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งอยู่
ทน่ี น่ั เลยด้วยซ�้ำ
ตั้งแต่วันแรกที่ขึ้นครองราชย์ ในหลวงทรงให้ความส�ำคัญกับ
การ connect การเช่ือมต่อผู้คน ประชาชน คนท�ำงาน และพระองค์เอง
เขา้ ดว้ ยกนั เปน็ เหตผุ ลใหท้ รงตอ้ งจรงิ จงั กบั การเฟน้ หาอปุ กรณแ์ ละวธิ กี าร
สือ่ สารทด่ี ที สี่ ุดและเหมาะกับการท�ำงานท่สี ดุ
และสงิ่ สำ� คญั ทส่ี ดุ นอกเหนอื ไปจากการเชอื่ มตอ่ คอื การตดิ ตามงาน
เพราะการท�ำงานจะไม่สามารถคืบหน้าหรือมีทิศทางไปได้ดีเลย หาก
ทุกการ connect ขาดการ stay connected
ด้วยเครื่องมือที่มีท�ำให้ในหลวงสามารถติดตามโครงการต่างๆ
ไปได้ทุกที่ ท�ำงานได้ในทุกเวลา และเป็นค�ำตอบของค�ำถามที่ว่า อะไรที่
ท�ำให้โครงการมากมายถึง 4,685 โครงการที่กระจายอยู่แทบทุกภูมิภาค
ของประเทศไทย เกดิ ขึ้นและด�ำเนินการไปไดด้ ้วยดี
ก็เพราะพระองค์ทรงท�ำทุกอย่างไปพร้อมๆ กัน ด้วยระบบ
โครงข่ายการส่ือสารที่เช่ือมร้อยทุกโครงการให้มาอยู่ภายในห้อง
ทรงงานของพระองค์นนั่ เอง

ห้ามจำ�หน่าย 23



KEYS OF SUCCESS

� ทำ� ความร้จู ักกับคนอยา่ งรวดเร็ว
เม่ือไดร้ ้จู ักกันแล้ว จะทำ� อะไรกง็ า่ ยขึน้ เป็นธรรมดา
� สร้างเครอื ขา่ ยการสอ่ื สารให้เป็นระบบ
เพ่อื การทำ� งานท่ีรวดเรว็ ถูกตอ้ ง ชัดเจน
� ตดิ ตามผลอย่างสมำ่� เสมอ
เพอ่ื ผลักดนั ชิ้นงานต่างๆ ใหเ้ ดนิ หนา้ ไปพร้อมกนั ได้

02

อุปกรณ์ทเี่ หมาะ
จะสร้างงานทด่ี ี





จะท�ำงานให้มีประสิทธิภาพ อาวุธคู่กายก็ต้องเหมาะกับมือและ
เหมาะกบั งาน
หากคณุ เปน็ พอ่ ครวั คณุ กต็ อ้ งมมี ดี เลม่ โปรดทต่ี อ้ งคอยลบั ใหค้ มอยู่
เสมอ
หากคณุ เป็นชา่ งภาพ คณุ กต็ ้องมกี ล้องตัวเกง่ คลอ้ งคอตดิ ตวั ไว้
หรือถ้าคุณเป็นโปรแกรมเมอร์ คุณก็ต้องมีคอมพิวเตอร์คู่ใจ
ท่หี ยบิ มาเปดิ เขียนโค้ดโปรแกรมตา่ งๆ ไดต้ ามแต่ใจ
แลว้ อาวุธค่ใู จของในหลวงละ่ คืออะไร?

30 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

PERSONALISED TOOLS

“คนเขาหาว่าฉันบ้าแผนที่” คอื พระราชดำ� รสั ท่พี ระองค์ตรสั ไว้
ในหลวงทรงเห็นความส�ำคัญของแผนท่ีมาก และทรงรู้ว่าหากใช้
อย่างมีประสิทธิภาพ แผนที่จะสามารถแก้ไขปัญหาความทุกข์ยากให้
ประชาชนได้มากเกินกวา่ ท่ีใครจะคาดคดิ
แล้วด้วยความท่ีงานของพระองค์นั้นกระจายอยู่ทั่วทั้งประเทศ
แผนที่นี้จึงต้องสามารถพาท่านไปแก้ปัญหาของประชาชนในแต่ละพ้ืนท่ี
ให้ได้ ซง่ึ แนน่ อนว่าแผนท่ธี รรมดานั้นไม่ตอบโจทย์
ในหลวงจงึ เรม่ิ สร้างแผนที่เฉพาะตวั ขึน้ มา
ซามูไรชน้ั ยอดย่อมพกพาอาวธุ ชั้นเยีย่ ม
แตไ่ มใ่ ชด่ าบทกุ เลม่ จะเหมาะกบั ซามไู รทกุ คน นกั ดาบทลี่ ะเอยี ดลออ
จงึ ต้องรจู้ กั สร้างและเสาะหาดาบที่เข้ากบั สไตล์การตอ่ สู้ของตน
กวา่ จะไดแ้ ผนทที่ เี่ หมาะกบั การทรงงาน ในหลวงกท็ รงตอ้ งสรา้ งมนั
ขึน้ มาเองเชน่ กนั

ห้ามจำ�หน่าย 31



แผนท่ีตั้งต้นของพระองค์น้ันเป็นของกรมแผนท่ีทหาร มีขนาด
มาตรฐาน 5 x 12 เมตร มาตราส่วน 1 : 50,000 ซ่งึ ถอื ว่าละเอียดมากแลว้
แต่จุดอ่อนของแผนที่แบบน้ีคือมองได้เป็นบริเวณแคบมาก ไม่ครอบคลุม
เหมือนเวลาเราดูแผนท่ีในสมาร์ตโฟนแล้วซูมเข้าไปเยอะๆ แม้จะเห็นว่า
ตรงน้ันมีตึกหรือถนนอะไรอยู่บ้าง แต่แน่นอนว่าเราก็จะเห็นได้แค่ไม่กี่ตึก
ในบริเวณนนั้ จนกวา่ เราจะซูมออกมานน่ั แหละ ถงึ จะเหน็ พืน้ ทร่ี อบๆ ได้
กว้างขึน้ แตแ่ นน่ อนว่ากจ็ ะเหน็ รายละเอยี ดน้อยลงไปเป็นธรรมดา
ดว้ ยความทที่ รงอยากไดแ้ ผนทที่ มี่ คี วามละเอยี ดสงู แตข่ ณะเดยี วกนั
กอ็ ยากจะมองภาพมมุ กวา้ งไดด้ ้วย ในหลวงจงึ แก้ปญั หาด้วยวิธที ่ีงา่ ยทส่ี ดุ
แตก่ ไ็ ดผ้ ลทสี่ ดุ นนั่ คอื เอาแผนทค่ี วามละเอยี ดสงู มาตอ่ เขา้ ดว้ ยกนั เสยี เลย
ท�ำให้แผนท่ีฉบับที่ทรงถือติดมือน้ันมีขนาดใหญ่มาก เพราะทรงน�ำแผนท่ี
มาต่อกันถึง 9 แผ่น แต่พระองค์ก็ทรงหาวิธีพับจนได้ขนาดเหมาะมือ
ถือได้สะดวก และพลกิ ออกมาดูได้งา่ ย

ห้ามจำ�หน่าย 33



หากอยากรู้ว่าใหญ่ขนาดไหน เอาเป็นว่าคร้ังหน่ึงตอนเสด็จฯ ไป
ภาคเหนอื ในหลวงโปรดฯ ให้ผู้วา่ ราชการจงั หวัดน่านเขา้ เฝ้าฯ ด้วยความ
รอบคอบ ผู้ว่าฯ ก็เตรียมแผนที่ไปด้วยเพ่ือถวายรายงานเรื่องน�้ำ เมื่อ
ทอดพระเนตรไปได้สักพักพระองค์ก็มีรับสั่งว่าแผนท่ีนี้ไม่เหมาะกับ
การทำ� งาน เจา้ หนา้ ทอี่ าจจะดแู ลว้ ไมร่ เู้ รอ่ื ง จงึ ทรงหยบิ แผนทข่ี องพระองค์
ขึ้นมากางออกดู ก็ปรากฏว่าแผนที่น้ันใหญ่มากจนกางได้เต็มพ้ืนห้อง
เลยทเี ดยี ว

ห้ามจำ�หน่าย 35

UP-TO-DATE TOOLS

แต่แค่เพียงขนาดที่ใหญ่และรายละเอียดทางภูมิประเทศที่ชัดเจน
ก็อาจจะยังไมต่ อบโจทยก์ ารใช้งานทัง้ หมด
การลงพื้นท่ีอย่างต่อเน่ืองท�ำให้ในหลวงทรงต้องปรับปรุงแผนที่
ใหอ้ พั เดตอย่างสม่ำ� เสมอ
ตอ้ งเลา่ กอ่ นวา่ นอกจากแผนทภ่ี มู ปิ ระเทศแบบปกตแิ ลว้ กรมแผนที่
ทหารจะมกี ารจดั ทำ� แผนทที่ างอากาศถวายดว้ ย แตด่ ว้ ยเทคโนโลยสี มยั นนั้
กว่าจะท�ำแผนท่ีเสร็จสักแผ่นนึงก็ใช้เวลานาน หลายครั้งภูมิประเทศ
แถบน้ันท้ังถนน เทือกเขา ร่องน�้ำ บ้านเรือนต่างๆ ก็เปลี่ยนไปจนแทบ
ไม่เหมือนในแผนทท่ี ที่ รงถืออยเู่ ลย
นน่ั ท�ำให้ในการเดนิ ทางแตล่ ะคร้ัง ในหลวงจะทรงตรวจสอบแผนที่
ไปด้วยอยู่เสมอ สมเด็จพระราชินีทรงเล่าว่า ไม่ว่าจะเสด็จฯ ไปที่ไหน
จะมีแผนท่ีวางอยู่ข้างพระองค์ตลอดเวลา ถ้าประทับเฮลิคอปเตอร์ ก็จะ
ทอดพระเนตรสภาพพื้นท่ีจริงเทียบกับแผนที่ไปตลอดทาง และเมื่อถึง
ที่หมายก็จะพูดคุยอัพเดตข้อมูลในแผนท่ีน้ันกับชาวบ้าน ว่าช่ือหมู่บ้าน
แมน่ ำ้� ลำ� คลอง หรอื ถนน ตรงกบั แผนทไ่ี หม หรอื มหี มบู่ า้ นใดเกดิ ขน้ึ มาใหม่
บ้างหรือเปล่า

36 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

คร้ังหนึ่ง พระองค์เสด็จฯ ไปหมู่บ้านแห่งหน่ึงที่จังหวัดนราธิวาส
และไดส้ อบถามชาวบา้ นวา่ ทน่ี ที่ ไี่ หน ชาวบา้ นคนนน้ั ตอบวา่ บา้ นเจาะบากง
ซ่ึงปรากฏว่าไม่มีหมู่บ้านแห่งน้ีอยู่ในแผนท่ี ขณะเดียวกันอีกหมู่บ้านหน่ึง
ท่ีมีชื่อในแผนที่ แต่พอไปถึงกลับพบว่าไม่มีอยู่แล้ว เพราะชาวบ้านย้าย
ถน่ิ ฐานไปอยใู่ กลก้ บั ถนนทเี่ พงิ่ ตดั ใหมก่ นั หมด ในหลวงจงึ ปรบั แกแ้ ผนทท่ี นั ที
และรับสั่งให้นายทหารแผนที่จดไว้ เพื่อน�ำไปแก้ไขให้ถูกต้องตอนพิมพ์
ครง้ั ต่อไป
กล้องถ่ายรูปเป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่ในหลวงน�ำมาปรับแต่งแผนที่
ให้ใช้งานได้ดีย่ิงข้ึน โดยพระองค์ได้น�ำภาพภูมิประเทศที่ถ่ายเก็บไว้มาท�ำ
เป็นแผนที่ทางอากาศแบบง่ายๆ วิธีการก็คือเวลาประทับเฮลิคอปเตอร์
พระองคจ์ ะทรงถา่ ยภาพพน้ื ทแ่ี ถวนน้ั ไวห้ ลายๆ ภาพ แลว้ นำ� มาปะตดิ ปะตอ่
เข้าด้วยกันด้วยสก๊อตช์เทป กลายเป็นแผนที่ทางอากาศที่อัพเดตและพอ
จะใชว้ างแผนโครงการพัฒนาพื้นทอ่ี ยา่ งคร่าวๆ ต่อไปได้
นั่นท�ำให้แผนท่ีของในหลวงเป็นแผนที่ที่อัพเดตท่ีสุดใน
ประเทศไทย

ห้ามจำ�หน่าย 37

OPTIMISING TOOLS

พอได้แผนที่ท่ีเหมาะแก่การใช้งานแล้ว ก็ถึงเวลาเติมส่ิงที่ท�ำให้
แผนทข่ี องในหลวงพเิ ศษกว่าแผนท่ขี องใคร
น่ันกค็ ือข้อมูลของประชาชนในพน้ื ที่
หลายคนอาจจะเคยได้ยินค�ำพูดท่ีว่า “เกิดเป็นคนต่างจังหวัดนั้น
โชคดีกว่าเป็นคนกรุงเทพฯ เพราะมีโอกาสได้ใกล้ชิดกับในหลวงมากกว่า”
นี่ไม่ใช่ค�ำพูดท่ีเกินเลยแม้แต่น้อย เพราะแต่ละปีในหลวงจะเสด็จฯ ไป
เยย่ี มเยยี นราษฎรตามพน้ื ทตี่ า่ งๆ ในตา่ งจงั หวดั เฉลย่ี ปลี ะ 8 เดอื น ดว้ ยกนั
และทกุ ครง้ั จะทรงเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนไดเ้ ลา่ ปญั หาชวี ติ ของตวั เอง
ใหฟ้ งั ซง่ึ กม็ ตี งั้ แตป่ ญั หาเรอื่ งเงนิ เรอ่ื งโรงเรยี น เรอ่ื งสขุ ภาพ เรอ่ื งการเกษตร
หลังจากน้ันก็จะทรงแวะไปตามวัดวาอารามต่างๆ ซ่ึงหัวข้อท่ีไปพูดคุย
นอกจากเรอื่ งธรรมะแลว้ ยงั ถอื โอกาสสอบถามปญั หาของพน่ี อ้ งประชาชน
ในพืน้ ที่ เพราะทรงทราบดวี า่ พระสงฆ์ยอ่ มใกลช้ ิดกับประชาชนมากท่สี ุด
ซึ่งข้อมูลจากประชาชน ข้าราชการ ข้าราชบริพาร และผู้ใกล้ชิด
จะถกู บนั ทึกลงในแผนท่ีแผ่นนี้
ทำ� ใหน้ อกจากจะมขี อ้ มลู ทางภมู ศิ าสตรแ์ ละขอ้ มลู การปกครอง
อย่างแผนที่ทั่วไปแล้ว แผนที่ของในหลวงยังมีข้อมูลสุขทุกข์ของ
ประชาชนอยใู่ นนนั้ ด้วย

38 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

และดว้ ยทกุ ขน้ั ตอนทกี่ ลา่ วมา แผนทขี่ องในหลวงจงึ กลายเปน็ อาวธุ
ท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งน�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาและความทุกข์ของ
ประชาชนไดใ้ นเกอื บทกุ พนื้ ทขี่ องประเทศไทย ไมว่ า่ จะเปน็ พน้ื ทที่ รุ กนั ดาร
หรือตกส�ำรวจขนาดไหนก็ตาม อย่างเช่นครั้งหนึ่งที่ในหลวงเสด็จฯ ไปยัง
บ้านธิ หมู่บ้านเล็กๆ บนรอยต่อระหว่างจังหวัดเชียงใหม่-ล�ำพูน ที่แทบ
ไม่มีใครย่างกรายเข้าไป เมื่อมาถึงพระองค์ก็สอบถามความเป็นอยู่ของ
ชาวบ้านจนได้ความว่าฝนไม่ตกท่ีหมู่บ้านแห่งนี้มาสามปีแล้ว ด้วยความ
หา่ งไกลของหม่บู า้ นท�ำใหค้ วามชว่ ยเหลือตา่ งๆ แทบจะเขา้ มาไมถ่ งึ
เมอื่ ทราบสถานการณท์ งั้ หมดในหลวงกถ็ ามชาวบา้ นถงึ ถนนหนทาง
ข้างหน้าเพื่อจะเดินต่อไปชายเขา แต่ชาวบ้านก็กราบทูลว่าไม่สามารถไป
ตอ่ ไดแ้ ลว้ เมอื่ ไดย้ นิ ดงั นนั้ พระองคก์ ท็ รงกม้ ลงดแู ผนทส่ี กั พกั แลว้ รบั สง่ั วา่
“เด๋ียวตามฉันมา” จากน้ันก็พาชาวบ้านเดินลงห้วยตัดทุ่งนาไปเร่ือยๆ
จนกระท่งั ถึงชายเขา และรับส่ังใหช้ าวบา้ นสรา้ งอ่างเก็บน้ำ� ตรงบริเวณน้ี
หากจะถามว่าในหลวงรู้เร่ืองราวทุกอย่างได้อย่างไร ก็คงจะ
ไม่เกินไปนักหากจะบอกวา่ ทรงรูไ้ ด้จากแผนทขี่ องพระองค์นน่ั เอง

ห้ามจำ�หน่าย 39



KEYS OF SUCCESS

� หาอาวธุ ทเี่ หมาะมือ
ใชเ้ ครอ่ื งมอื ทเ่ี ราถนัดและเหมาะกบั งาน
� มีอปุ กรณเ์ สริม
ถา้ เคร่อื งมอื ท่ีมีไมต่ อบโจทย์ก็ตอ้ งหาตวั ชว่ ย
� เตรยี มพรอ้ มก่อนใชง้ าน
หาข้อมลู ทำ� ทุกอย่างใหพ้ รอ้ มก่อนลงมือใช้จริง
� อพั เดตตลอดเวลา
ปรบั ปรงุ และแกไ้ ขความผดิ พลาดเพอ่ื การใชง้ านอยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ
ในคร้งั ต่อไป

03

จะน�ำใคร
ตอ้ งได้ใจคน

44 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

ห้ามจำ�หน่าย 45

คุณคิดวา่ คุณสมบตั ขิ องผูน้ ำ� ท่ีดีตอ้ งมีอะไรบ้าง
ความสามารถในการทำ� งาน? ความนา่ เชอ่ื ถอื ? การตดั สนิ ใจทเ่ี ฉยี บ
ขาด? หรอื วสิ ัยทัศนท์ ่ีกว้างไกล?
ทั้งหมดทุกข้อที่ว่ามาน้ันล้วนแต่เป็นคุณสมบัติของผู้น�ำที่ดีท้ังส้ิน
แตย่ ังมอี กี หนงึ่ ขอ้ ทผ่ี ู้น�ำจะขาดไปไม่ได้
นัน่ กค็ อื การเข้าถึงใจของผู้คนรอบกาย
และสำ� หรบั ในหลวงแลว้ สง่ิ นนั้ คอื การเขา้ ถงึ หวั ใจของประชาชน
ในหลวงทรงใหค้ วามสำ� คญั กบั คนมาก เราจงึ ไดย้ นิ เรอื่ งราวมากมาย
เกย่ี วกบั ความเมตตาและความเปน็ กนั เองของพระองค์ ซง่ึ ทำ� ใหท้ รงเปน็ ทรี่ กั
จากทั้งชาวบ้านและขา้ ราชบรพิ าร อย่างเชน่ ครงั้ หนงึ่ ทรงได้ยินเจ้าหนา้ ที่-
ตำ� รวจบน่ ผา่ นวทิ ยวุ า่ หวิ เพราะตอ้ งเขา้ เวรกะดกึ จงึ พระราชทานตเู้ ยน็ มาให้
เพื่อเกบ็ อาหารไวก้ นิ เวลาปฏิบัติหน้าทยี่ ามคำ่� คนื
หรอื ครง้ั หนง่ึ ชว่ งปใี หม่ พ.ศ.2516 ในหลวงกท็ รงวทิ ยไุ ปทสี่ ำ� นกั งาน
เขตการทางพษิ ณโุ ลก เพอื่ พระราชทานพรปใี หมใ่ หแ้ กพ่ นกั งานทน่ี นั่ ทที่ รง
ทราบมาวา่ ทำ� งานได้อยา่ งดีเยย่ี ม
หรืออีกครั้ง ตอนท่ีเสด็จฯ ไปเย่ียมชาวเขาทางภาคเหนือ แล้วมี
ผู้ใหญบ่ า้ นชาวลซี อกราบทูลชวนให้ไปเยีย่ มบา้ น ในหลวงกเ็ สดจ็ ฯ ไปตาม
ค�ำชวน และเสวยเหล้าท่ีผู้ใหญ่บ้านรินถวายในถ้วยที่ดูไม่ค่อยสะอาดนัก

46 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

แม้จะมีผู้คัดค้านด้วยความเป็นห่วง แต่พระองค์ก็รับส่ังว่า “ไม่เป็นไร
แอลกอฮอลเ์ ข้มขน้ เชอื้ โรคตายหมด”
ความใสใ่ จ ความมเี มตตา และทา่ ทที เ่ี รยี บงา่ ย สบายๆ ไมม่ พี ธิ รี ตี อง
มากมายเชน่ นี้เอง ทีท่ �ำให้ทกุ คนลว้ นประทบั ใจเม่ือไดพ้ บพระองค์
แต่กับพนื้ ทภี่ าคใต้นนั้ ทุกอยา่ งดูจะต่างออกไป
ในหลวงทรงใส่ใจปัญหาในภาคใต้มาก เพราะพ้ืนที่น้ีมีท้ังปัญหา
ความยากจน ปญั หาทดี่ นิ ทำ� กนิ ไปจนถงึ ปญั หาการสอ่ื สารระหวา่ งประชาชน
กบั หนว่ ยราชการ ซงึ่ มที ม่ี าจากวฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ ง ไมว่ า่ จะเปน็ ภาษาหรอื
ศาสนา ทำ� ใหค้ นในพนื้ ทส่ี ามจงั หวดั ชายแดนภาคใตส้ มยั นนั้ รสู้ กึ วา่ ตนเปน็
ชาวมลายซู ง่ึ มวี ฒั นธรรมใกลเ้ คยี งกนั มากกวา่ และเรยี กขานคนไทยในพนื้ ท่ี
อนื่ เป็นภาษายาววี า่ คนซแี ย หรือ คนสยาม
คร้ังแรกๆ ที่เสด็จฯ ลงพ้ืนที่ภาคใต้ในหลวงเองก็ถูกเรียกขานว่า
‘รายอซีแย’ หรอื กษตั รยิ ์ของชาวสยาม
แม้บรรยากาศที่น่ันจะเต็มไปด้วยความรู้สึกแปลกแยก แต่ปัญหา
ความเปน็ อยขู่ องประชาชนเปน็ เรอ่ื งสากลยง่ิ กวา่ ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
ดังน้ันในก้าวแรก ในหลวงจึงเร่ิมเปิดใจกับชาวใต้ เพื่อขจัดค�ำว่าพวกเขา
ใหห้ ายไป เหลอื เพียงคำ� ว่า พวกเรา
พระองคเ์ รมิ่ ด้วยขนั้ ตอนง่ายๆ อยา่ งการคยุ กนั

ห้ามจำ�หน่าย 47

ในหลวงโปรดฯ ให้สรา้ งพระต�ำหนกั ทักษณิ ราชนเิ วศนข์ ึน้ ทจี่ งั หวดั
นราธิวาส และทรงตัดสนิ ใจลองเรียนภาษายาวี โดยโปรดฯ ให้ลา่ มประจ�ำ
พระองค์ไปซ้ือพจนานุกรมไทย-มลายูมาเล่มหน่ึง แล้วก็เร่ิมฝึกจากค�ำท่ี
ได้ยนิ ลา่ มแปลบอ่ ยๆ อย่างเช่นค�ำว่า ซาเกะปอลอ แปลวา่ ปวดหวั หรือ
ปาจ๊ะ แปลวา่ ทาก แถมยังโปรดฯ ใหส้ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ และ
เจา้ ฟ้าหญงิ จฬุ าภรณ์ฯ มาเรียนยาวีกนั ด้วย
แต่แค่พูดกันรู้เร่ืองอย่างเดียวคงยังไม่พอ ส�ำหรับในหลวงแล้ว
ความรู้สึกใกล้ชิดกันอาจเริ่มได้จากความเป็นคนบ้านเดียวกัน ท�ำให้
บางครั้งพระองค์ก็เสด็จฯ ด้วยพระบาทไปเย่ียมเยียนพูดคุยกับชาวบ้าน
ทป่ี ว่ ยถงึ บา้ น หรอื บางครงั้ กเ็ สดจ็ ฯ ไปเยย่ี มชาวบา้ นทม่ี สั ยดิ พรอ้ มบอกวา่
พระองคก์ ็มบี า้ นทีน่ ่ีเหมือนกัน มปี ญั หาอะไรกแ็ วะเวยี นไปพูดคยุ กันได้
เม่ือท�ำความคุ้นเคยกับคนใกล้ๆ แล้ว พระองค์ก็ออกเดินทางไป
พบปะประชาชนในพื้นท่ีอ่ืนๆ แม้ว่าจะเป็นพ้ืนที่ที่ล�ำบากและอันตราย
แค่ไหนพระองค์ก็จะพยายามไปให้ถึง อย่างคร้ังหน่ึงที่เสด็จฯ ไปอ�ำเภอ
บาเจาะ ซึ่งเคยได้ช่ือว่าอันตรายสุดๆ เพราะมีโจรผู้ร้ายชุกชุมถึงขนาด
สถานตี ำ� รวจยงั โดนบกุ แตใ่ นหลวงกย็ งั เสดจ็ ฯ ไปเกอื บตลอด แถมบางครง้ั
ก็ไปกลางดกึ ไม่เกรงกลัวตอ่ อนั ตรายเลย
เสน้ ทางทเี่ สดจ็ ฯ ไปกม็ สี ภาพยำ่� แยช่ นดิ ทไ่ี มม่ ใี ครคดิ วา่ จะไปตอ่ ได้
อยา่ งตอนทเ่ี สดจ็ ฯ ไปอ�ำเภอสุคิริน จงั หวัดนราธวิ าส ระหวา่ งทางกพ็ บวา่

48 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย

สะพานข้ามแม่น�้ำสายบุรีโดนน�้ำท่วมพัดเสียหายหมด จนมีผู้กราบทูล
ใหก้ ลบั เพราะไปตอ่ ไมไ่ ด้ ครน้ั ทรงวทิ ยไุ ปถามยงั จดุ รบั เสดจ็ เจา้ หนา้ ทก่ี ต็ อบ
กลับมาว่าตรงนั้นมีชาวบ้านมารอรับเสด็จประมาณพันคน ในหลวงจึง
ตดั สนิ ใจใหข้ บั รถลยุ นำ้� ทเ่ี ชยี่ วและสงู เกนิ ครงึ่ ตวั รถไปยงั จดุ รบั เสดจ็ จนทรง
เปียกปอนไปทง้ั ตวั ดว้ ยคิดวา่ เมอ่ื ชาวบา้ นมารอเรา เรากต็ อ้ งไป
การยึดถือตัวเองให้น้อยลง คิดถึงคนอ่ืนให้มากข้ึนอย่างน้ี ท�ำให้
ในหลวงทรงเป็นท่ีรกั ได้ไมย่ ากเลย
นอกจากความใกล้ชิดและความทุ่มเทของในหลวงเพื่อประชาชน
ภาคใต้แล้ว อีกหน่ึงหัวใจส�ำคัญที่ท�ำให้พระองค์เปิดใจกับชาวบ้านที่นี่
ไดส้ ำ� เรจ็ คือ การยอมรบั ในตวั ตนของเขา
เพ่ือให้เข้าใจความแตกต่างมากขึ้น ในหลวงจึงทรงเริ่มศึกษา
คมั ภีรอ์ ัลกรุ อาน
ในปี 2505 พระองค์ทรงได้รับคัมภีร์อัลกุรอานเล่มหน่ึงจากกงสุล
ซาอุดีอาระเบีย ก็เกิดความคิดจะแปลเป็นภาษาไทยข้ึนมาด้วยทรงอยาก
ใหค้ นไทยเขา้ ใจความหมายของคมั ภรี อ์ ยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� จงึ ทรงมอบหมาย
ใหจ้ ุฬาราชมนตรแี ปลจากตน้ ฉบับภาษาอาหรบั โดยตรง
ครน้ั แปลเสรจ็ กร็ บั สง่ั ใหน้ ำ� ไปพระราชทาน โดยทรงยำ�้ ใหร้ าชเลขา-
ธิการห่อพระคัมภีร์ด้วยผ้าเยียรบับสวยๆ เพราะนี่เป็นคัมภีร์สูงสุดของ

ห้ามจำ�หน่าย 49

พระต�ำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ต้ังอยู่บนเขาตันหยง ริมทะเล จังหวัด
นราธิวาส เป็นเขาเตี้ยๆ สูงราว 100 ฟุต ที่เชิงเขามีหาดทราย รอบ
พระต�ำหนักฯ รายล้อมไปด้วย บ้านเรือนของชาวมุสลิม มัสยิด โรงเรียน
สถานีอนามัย รวมไปถึงศูนย์ทดลองเกษตร เดิมพื้นท่ีส่วนหน่ึงของ
พระต�ำหนักฯ เป็นสุสานของชาวมุสลิม ซ่ึงพอสร้างเสร็จก็โปรดให้รักษา
พื้นที่เอาไว้ โดยรับสั่งให้ปลูกต้นเฟื่องฟ้าเป็นแนวเพ่ือแบ่งพ้ืนที่เป็นสัดส่วน
เวลาทใ่ี นหลวงเสดจ็ ฯ กจ็ ะทรงเรยี กชาวบา้ นเขาตนั หยงทงั้ หมดมาทำ� บญุ อทุ ศิ
สว่ นกุศลให้ผูท้ อ่ี ยใู่ นกุโบร์


Click to View FlipBook Version