The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตามโบราณราชประเพณี อันสะท้อนถึงความมั่งคั่งทางภูมิปัญญาด้านศิลปะทุกแขนง ซึ่งเกิดจากการสืบสานสั่งสม ด้วยหัวใจที่เปี่ยมด้วยความจงรักภักดี จนงานทุกอย่างเสร็จสิ้นอย่างสมบูรณ์ และสมพระเกียรติยศสูงสุด พร้อมอัญเชิญพระเสด็จสู่สวรรคาลัย รวมถึงคติที่มา ตลอดจนเรื่องราวของผู้คน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการเตรียมงานสำคัญของแผ่นดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siriwan Siripirom, 2019-11-28 23:43:33

หัวใจของแผ่นดิน

นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตามโบราณราชประเพณี อันสะท้อนถึงความมั่งคั่งทางภูมิปัญญาด้านศิลปะทุกแขนง ซึ่งเกิดจากการสืบสานสั่งสม ด้วยหัวใจที่เปี่ยมด้วยความจงรักภักดี จนงานทุกอย่างเสร็จสิ้นอย่างสมบูรณ์ และสมพระเกียรติยศสูงสุด พร้อมอัญเชิญพระเสด็จสู่สวรรคาลัย รวมถึงคติที่มา ตลอดจนเรื่องราวของผู้คน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการเตรียมงานสำคัญของแผ่นดิน

ประตมิ ากรรมมหาเทพ N
ประติมากรรมชา้ ง
ประติมากรรมม้า
ประติมากรรมโค
ประตมิ ากรรมสิงห์
ประตมิ ากรรมจตุโลกบาล
ประติมากรรมคชสีห์
ประตมิ ากรรมราชสีห์

2 หวั ใจของแผน่ ดนิ

ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของสานกั หอสมุดแหง่ ชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
ทมี ขา่ วศลิ ปวัฒนธรรมและบันเทิง สถานโี ทรทัศน ์ Thai PBS.
หวั ใจของแผ่นดิน.-- กรงุ เทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ,์ ๒๕๖๐.
๕๖ หน้า.
๑.ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา, ๒๔๗๐-๒๕๕๙.
I. ชอ่ื เร่ือง.
923.1593
ISBN 978-616-7864-19-8

หัวใจของแผน่ ดิน : ธรี ภาพ โลหติ กุล
ท่ีปรกึ ษา : พรรณ ี รุ่งสว่าง
บรรณาธิการ : สุรษิ า มุง่ มาตร์มติ ร
ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ทีมข่าวศิลปวัฒนธรรมและบันเทงิ
กองบรรณาธิการ สถานีโทรทศั น์ Thai PBS
: วัฒนา อศั วภูมิ, กษิพัฒน ์ ลัดดามณีโรจน์
ภาพโดย : ตุลาคม ๒๕๖๐
พิมพค์ ร้งั แรก : ๒๐,๐๐๐ เล่ม
จ�านวนพมิ พ ์ : หจก. เรอื นแกว้ การพมิ พ์
พมิ พท์ ี่

หัวใจของแผ่นดิน 3

สำรบญั

ค�ำนิยม ๕
ค�ำนำ� ๖
จกั รวำลในงำนพระเมร ุ ๙
แรกสรำ้ งพระเมรุ ๑๐
พระเมรุมำศในหลวงรัชกำลที่ ๙ ๑๑
“แดนหิมพำนต”์ กำ้ วแรกสูป่ ระตูสวรรค ์ ๑๔
แดนสวรรคช์ นั้ ท่ ี ๑ “จำตุมหำรำชกิ ำ” ๒๒
เย่ยี มแดนดำวดึงส ์ ๒๔
“พระจิตกำธำน” สง่ เสด็จส่สู วรรคช์ น้ั ดสุ ิต ๓๐
คต ิ “นำค” ในรำชรถ ๔๔
พิธีกรรมควำมตำยในอษุ ำคเนย ์ ๕๐

4 หวั ใจของแผน่ ดิน

ค�ำนิยม

กุมภาพันธ ์ ๒๕๖๐ เกือบคร่ึงปี ท่พี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั
รชั กาลที่ ๙ เสดจ็ สวรรคตแล้ว แต่พระบรมฉายาลกั ษณ์คราเสด็จเยย่ี ม
พสกนิกรที่หาดราไวย์ บนเกาะภูเก็ต พ.ศ. ๒๕๐๒ ยังเป็นหลักฐาน
ชิ้นส�าคัญท่ีศาลน�ามาพิจารณา แล้วพิพากษาให้ชาวเล เผ่าอูรักลาโว้ย
ซงึ่ พกั พงิ บนหาดราไวยม์ านาน ชนะคดที มี่ กี ลมุ่ ทนุ ฟอ้ งวา่ ชาวเลบกุ รกุ
ทดี่ นิ ของเขา ตามโฉนดทีอ่ า้ งวา่ ออกใน พ.ศ. ๒๕๓๐

ในทา่ มกลางความทกุ ข์โศกประหน่ึงผืนแผน่ ดินยังร่�าไห ้ จากการ
เสด็จสวรรคตของภัทรกษัตริย์ ผู้เป็นที่รักย่ิง เรายังได้ประจักษ์ถึงการ
เตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ตามโบราณ
ราชประเพณ ี อนั สะทอ้ นถงึ ความมง่ั คง่ั ทางภมู ปิ ญั ญาดา้ นศลิ ปะทกุ แขนง
อนั เกดิ จากการสงั่ สมทางวฒั นธรรมเปน็ เวลายาวนาน และกลน่ั ออกมาจาก
จติ ใจทเ่ี ปย่ี มดว้ ยความจงรกั ภกั ดขี องเหลา่ ชา่ งฝมี อื ทง้ั ทเี่ ปน็ ขา้ ราชการ
และช่างจติ อาสา เพ่ือส่งเสด็จพระภูมินทรใ์ นดวงใจส่สู วรรคาลยั

หนังสือ “หัวใจของแผ่นดิน” ที่ผ่านการศึกษาค้นคว้าว่าด้วย
พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ มาอย่างประณีต โดยทีมข่าว
ศลิ ปวฒั นธรรมและบนั เทงิ สถานโี ทรทศั นไ์ ทยพบี เี อส จงึ ถอื เปน็ ประจกั ษ์
พยานส�าคัญ ยืนยันความรุ่งเรืองเฟื่องฟูของสรรพวิชาศิลปกรรมของ
ชาตไิ ทย และความรกั ความผูกพัน อีกท้ังความอาลยั ของราษฎรไทย
ท่มี ตี อ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลท่ ี ๙ อยา่ งหาที่สดุ มไิ ด้


ธรี ภาพ โลหติ กลุ

หวั ใจของแผ่นดนิ 5

คำ� น�ำ

การเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-
อดุลยเดช วนั พฤหัสบดีที ่ ๑๓ ตุลาคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ น�ามาซ่งึ
ความโศกเศร้าของพสกนิกรทั้งแผ่นดิน สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
ไดจ้ ดั รายการพเิ ศษ เพอ่ื นอ้ มรา� ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ และถวายอาลยั
ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ผ่านการรายงานขา่ ว รายการสารคด ี และกจิ กรรม
ในโครงการแสงจากพ่อส่คู วามยง่ั ยืน

หนงั สอื “หวั ใจของแผน่ ดนิ ” คน้ ควา้ เรยี บเรยี ง และคดั สรรขอ้ มลู
ส่วนหนึ่งจากรายการสารคดีเชิงข่าว “หัวใจของแผ่นดิน” ผลิตโดย
ทมี ขา่ วศลิ ปวัฒนธรรมและบนั เทิง ถ่ายทอดเบ้ืองหลังงานศิลป์ รวมถึง
คติที่มา ตลอดจนเรื่องราวของผู้คนซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงในการเตรียมงาน
สา� คญั ของแผน่ ดนิ “พระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพในหลวง
รัชกาลที่ ๙”

ภูมิปัญญางานช่างท่ีส่ังสม สืบสานผ่านการสร้างพระเมรุมาศ
การบูรณปฏสิ งั ขรณร์ าชรถ พระยานมาศ และการจดั ทา� เครอ่ื งประกอบ
พระราชอสิ รยิ ยศ เกรด็ นา่ รพู้ รอ้ มคตทิ ม่ี าเกยี่ วกบั โบราณราชประเพณ ี คอื
เรอื่ งราวทถ่ี า่ ยทอดไวใ้ นหนงั สอื เลม่ น ้ี หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ ขอ้ มลู ทรี่ วบรวม
และรอ้ ยเรยี งเพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การทา� ความเขา้ ใจจะเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ สู้ นใจ
และรว่ มเปน็ หนึง่ ในการบนั ทกึ ประวตั ิศาสตร์ครัง้ สา� คัญของแผน่ ดิน

พรรณี รงุ่ สว่าง
ตลุ าคม ๒๕๖๐
6 หัวใจของแผน่ ดิน

พระเมรมุ ำศแห่งแผ่นดิน

การจดั พระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ โดยการสรา้ งพระเมรมุ าศ
เป็นการถวายพระเกียรติยศอย่างสูงแด่พระมหากษัตริย์ที่เสด็จ
สวรรคต ในอดีตยังแสดงถึงความม่ันคงของบ้านเมือง และความ
รงุ่ เรอื งทางศลิ ปกรรมของชาต ิ เพราะเปน็ ทร่ี วมสรรพวชิ างานชา่ ง
ทุกแขนง โดยเฉพาะงานพระราชพิธีพระบรมศพในหลวงรัชกาล
ที่ ๙ นี ้ สะทอ้ นถงึ ความแนบแนน่ ของสถาบันพระมหากษตั ริย์กบั
ราษฎรในแผน่ ดนิ

หัวใจของแผ่นดิน 7

8 หวั ใจของแผน่ ดนิ

จักรวำล
ในงำนพระเมรุ

ต้นธารของงานพระบรมศพในไทยรวมถึงเอเชียตะวันออก
เฉียงใต ้ รับมาจากอนิ เดยี พรอ้ มการเขา้ มาของศาสนาพทุ ธ และ
พราหมณ์ หรือฮินดู โดยเฉพาะในกลุ่มของผู้ปกครอง คติฮินดู
ถูกน�ามาใช้เพ่ือรองรับสถาบันพระมหากษัตริย์ท่ีปกครองในเวลา
น้ัน ที่เห็นชัดคืออาณาจักรเขมรโบราณ อาณาจักรจามปา ทาง
ตอนใต้ของเวียดนาม และอาณาจักรมัชปาหิต ในชวาตะวันออก
ประเทศอินโดนีเซยี เชอ่ื กันวา่ กษัตรยิ เ์ ป็นองคอ์ วตารของเทพเจา้
ทรงจุติจากสวรรค์ลงมาปกครองมนุษย์ เม่ือเสด็จสวรรคตจึงต้อง
ส่งพระองค์กลับคืนสู่ดินแดนเทพเจ้าท่ีจากมา โดยจ�าลองแดน
สวรรค์บนโลกมนุษย์เพื่อประกอบพระราชพิธีปลงพระบรมศพให้
สมพระเกยี รติ

แดนสวรรคท์ ีก่ ลา่ วมาน้ันก็คือ “เขาพระสเุ มร”ุ ศนู ยก์ ลาง
จักรวาล รายล้อมด้วยทิวเขาทั้ง ๗ หรือ “สัตบริภัณฑ์” ได้แก่
ยคุ นธร, อสิ ินธร, กรวิก, สทุ สั นะ, เนมินธร, วินตกะ และอัสกณั
คนั่ ด้วยทะเล ๗ ชั้น “มหานทสี ที นั ดร” โดยมที วีป ๔ ทศิ ไดแ้ ก ่
อตุ รกุรุทวปี อยูท่ ิศเหนอื , ชมพูทวปี ทศิ ใต,้ บพุ วิเทหทวีป ทิศ
ตะวนั ออก และอมรโคยานทวปี ทศิ ตะวันตก บนยอดเขาเปน็ ท่ี
ต้งั ของ “สวรรคช์ ้ันดาวดงึ ส์” มี “ไพชยนตม์ หาปราสาท” ที่
ประทับของพระอินทร์ ดังน้ัน พระเมรุมาศท่ีสร้างจึงต้องมีความ
สงู ใหญ่และมียอดแหลม ให้เหมอื นกับวมิ านไพชยนต ์

หัวใจของแผ่นดนิ 9

แรกสรา้ งพระเมรุ

แม้อาณาจกั รเขมรโบราณจะสร้างปราสาทหนิ เช่น นครวดั
ประหนึ่งเป็นเมรุมาศถาวรเอาไว้ติดแผ่นดินมาตั้งแต่สมัยเมือง
พระนคร แต่เชื่อกันว่าเพิ่งมีการสร้างพระเมรุมาศในสมัยกรุงศรี
อยุธยาตอนปลาย รชั สมยั พระเจา้ ปราสาททอง ด้วยชว่ งเวลานัน้
มกี ารรบั เอาประเพณขี องเขมรเขา้ มาหลายอยา่ ง แทนทจี่ ะสรา้ งดว้ ย
ศิลาขนาดใหญ่ พระเมรุมาศซ่ึงสร้างบนท่ีลุ่มเจ้าพระยา เลือกท�า
เป็นเครื่องไมเ้ น้นความงดงามอลังการ
10 หัวใจของแผ่นดนิ

โดยก�าหนดท่ีตั้งพระบรมศพ
ไว้ที่พระท่ีนั่งสุริยาศน์อมรินทร์
กล่าวกันว่าเป็นต้นแบบพระที่น่ังดุสิต
มหาปราสาท สมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่ง
ใชป้ ระดษิ ฐาน “พระบรมศพพระเจ้า
อยู่หัวในพระบรมโกศ” เช่นกัน
คร้ันถึงเวลาออกพระเมรุก็จะเคลื่อน
ขบวนแห่พระบรมศพผ่านสนามชัย
พระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์, วัดพระ
ศรีสรรเพชญ์ ไปถวายพระเพลิงท่ี
“ทุ่งพระเมรุ” บริเวณหน้าวัดมงคล-
บพติ รในปจั จบุ นั

ภาพรา่ งพระเมรุมาศในหลวงรชั กาลที่ ๙

  พระเมรมุ าศในหลวงรัชกาลที ่ ๙

จากพระปรมาภิไธย “พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรี
นฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร” ทรงมสี รอ้ ยพระนาม
“รามาธิบดี” แสดงคติที่ว่าทรงเป็น “องค์นารายณ์อวตาร”
พระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” เห็นได้ชัดว่า
ทรงยดึ หลกั ทศพธิ ราชธรรมในการปกครอง เปรยี บดงั พระโพธสิ ตั ว์

หัวใจของแผน่ ดนิ 11

รปู พระโพธิสัตว ์
ตราประจ�าพระราชวังดสุ ติ

ในการจดั สรา้ งพระเมรมุ าศจงึ เนน้ ความเปน็ มหาราชา ตกแตง่ โดย
ใช ้ สญั ลกั ษณ์ครฑุ เคร่อื งราชกกธุ ภณั ฑ์ และยอดฉตั รสงู สุด
๙ ชนั้ “นพปฎลเศวตฉัตร”

ตามคตไิ ตรภมู ิ หลงั เสดจ็ สวรรคตพระมหากษตั รยิ ท์ รงอยใู่ น
สถานะ “พระโพธสิ ตั ว”์ สถติ อยบู่ น “สวรรคช์ น้ั ดสุ ติ ” เครอื่ งยอด
พระเมรุมาศจึงออกแบบให้มีประติมากรรมพระโพธิสัตว์ โดยน�า
ตน้ แบบมาจากรปู พระโพธสิ ตั วต์ ราประจา� พระราชวงั ดสุ ติ ลกั ษณะ
ประทับนง่ั บนบลั ลังกด์ อกบวั ห้อยพระบาทขวา พระหตั ถซ์ า้ ยถือ
ดอกบัวตูม มีพระธยานิพุทธตรงเศียร การส่ือถึงพระโพธิสัตว์
ยงั มใี นงานสถาปตั ยกรรมกลมุ่ อาคารในมณฑลพธิ ที อ้ งสนามหลวง
ประกอบดว้ ย พระท่ีนั่งทรงธรรม ศาลาลูกขุน ทับเกษตร และทิม

พระเมรมุ าศในหลวงรัชกาลท่ ี ๙ มีรปู ทรงบษุ บก ๙ ยอด
ส่วนฐานกวา้ งด้านละ ๖๐ เมตร สูง ๕๐.๔๙ เมตร ตรงกลาง
เป็นบุษบกขนาดใหญ่ ๗ ชั้นเชิงกลอน แสดงความย่ิงใหญ ่
สอื่ ถงึ มหาปราสาทเทยี บเคยี งพระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท ใชส้ า� หรบั
ประดษิ ฐานพระบรมโกศ ตงั้ อยบู่ นชน้ั ชาลารปู สเี่ หลยี่ มจตั รุ สั ๓ ชนั้
มีบันไดทางข้ึน ท้ัง ๔ ทิศ ทิศตะวันตกหันหน้าเข้าพระที่น่ัง
ทรงธรรม โครงสร้างพระเมรุมาศเป็นเหล็กยึดด้วยน็อต ฐานราก
ใช้พื้นดินรับน�้าหนักโดยไม่มีเสาเข็ม แม้วัสดุจะต่างไปจากเดิม
ท่ีเคยสร้างด้วยซุงและไม้ แต่ยังคงยึดหลักความเช่ือเร่ืองไตรภูมิ
12 หวั ใจของแผน่ ดิน

ตามคติทางพระพุทธศาสนา ซ่ึงรับอิทธิพลจากคติความเชื่อของ
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมาอีกทอดหน่ึง ที่กล่าวถึงจักรวาล มีเขา
พระสุเมรุเป็นศูนย์กลาง รายล้อมด้วยวิมานท้าวจตุโลกบาล และ
เขาสตั บริภัณฑ ์

ผังของพระเมรุมาศ ณ มณฑลพิธที อ้ งสนามหลวง สัมพันธ์
กับศาสนสถานท่ีส�าคัญ โดยวางแนวแกนทิศเหนือและทิศใต้เป็น
แนวเดียวกับพระศรีรัตนเจดีย์ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และ
แนวแกนทิศตะวันออกและทิศตะวันตก เป็นแนวเดียวกับพระ
อุโบสถ วดั มหาธาตยุ วุ ราชรังสฤษฎริ์ าชวรมหาวหิ าร พระเมรุมาศ
ประกอบด้วยช้ันตา่ งๆ ดังน ้ี

ลานอตุ ราวรรต หรอื พนื้ โดยรอบพระเมรมุ าศ มสี ระอโนดาต
ทง้ั ๔ ทศิ และเขามอจา� ลอง ภายในสระประดบั ดว้ ยประตมิ ากรรม
สตั วห์ มิ พานต ์ ไดแ้ ก ่ ชา้ ง สงิ ห ์ โค มา้ และสตั วห์ มิ พานตต์ ระกลู ตา่ งๆ
ฐานชาลาช้ันท่ี ๑ เป็นช้ันล่างสุด มีร้ัวราชวัติฉัตรแสดง
อาณาเขตพระเมรุมาศ และมีเทวดาน่ังคุกเข่าถือบังแทรก ส่วนท่ี
มมุ ทงั้ สข่ี องฐานมปี ระตมิ ากรรมทา้ วจตโุ ลกบาลประทบั ยนื หนั หนา้
เขา้ ส่บู ษุ บกองค์ประธาน

ฐานชาลาช้ันที่ ๒ มี “หอเปลื้อง” ทรงบุษบก ๔ องค ์
ต้ังอยู่ที่มุมท้ังสี่ ส�าหรับจัดเก็บพระโกศทองใหญ่ พระโกศจันทน์
และอุปกรณ์ส�าหรับพระราชพธิ ี เช่น ดอกไม้จันทน ์ ขันนา้�

ฐานชาลาชนั้ ท่ี ๓ ฐานบษุ บกประธานประดบั ประตมิ ากรรม
เทพชุมนมุ จา� นวน ๑๐๘ องค์โดยรอบ รองรับดว้ ยฐานสิงห ์ ซึง่
ประดบั ประตมิ ากรรมครฑุ ยดุ นาคโดยรอบอกี ชนั้ หนง่ึ มมุ ทงั้ สข่ี อง
ฐานช้ันท ่ี ๓ นี ้ เป็นที่ต้งั ของ “ซา่ ง” ทรงบุษบกยอดมณฑปชน้ั เชงิ
กลอน ๕ ชนั้ ใชส้ า� หรบั พระพธิ ธี รรม ๔ สา� รบั นง่ั สวดพระอภธิ รรม
สลับกันไปตลอดนับต้ังแต่อัญเชิญพระบรมโกศขึ้นประดิษฐานบน
พระจติ กาธาน จนกระทง่ั การถวายพระเพลิงเสร็จส้นิ

หัวใจของแผน่ ดนิ 13

“แดนหมิ พำนต”์ กำ้ วแรกสปู่ ระตสู วรรค ์

แบบร่างสตั วป์ ระจ�าทิศ ชา้ ง สิงห ์ โค ม้า

“หิมพานต”์ เปน็ ดนิ แดนศกั ด์สิ ิทธ์ ิ มีสระน้�าใหญ ่ ๗ สระ
หนึ่งในน้ันคือ “สระอโนดาต” ธารน้�าท้ังหลายไหลลงมาสระน ี้
พนื้ สระเปน็ แผ่นหนิ กายสทิ ธิ์ชือ่ มโนศลิ า มีดนิ กายสิทธช์ิ ื่อหรดาล
มีน้�าใสสะอาด บริสุทธ์ิดังแก้วมณี เย็นอยู่เสมอ และเต็มเปี่ยม
ไมม่ วี นั เหอื ดแหง้ จนกวา่ จะสน้ิ มหากปั มที า่ อาบนา�้ มากมาย เปน็ ท ่ี
14 หวั ใจของแผน่ ดิน

สรงสนานของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต ์
ทัง้ หลายรวมถึงผู้วิเศษมีฤทธ์ ิ เชน่ ฤๅษี วิทยาธร ยักษ ์ นาค และ
เทวดา

สระอโนดาต แปลวา่ “ไม่ถูกแสงสอ่ งให้ร้อน” ท้ังน้ีเพราะ
มีภูผาโค้งโอบบังแสงไว้ด้านบน ท�าให้แสงอาทิตย์หรือพระจันทร์
ไม่สามารถส่องผ่านไปโดนน�้าได้ จากสระอโนดาตมีปากทางให ้
น�้าไหลระบายสู่ ๔ ทิศ มีสัตว์ประจ�าทิศ คือ ช้าง สิงห์ โค ม้า
โดยธารน�้าด้านทศิ ใต ้ ซึง่ มีโคประจา� ทศิ ไหลสู่ชมพูทวีปกลายเป็น
แมน่ า�้ ๕ สาย หลอ่ เลยี้ งมนษุ ยใ์ นนาม “ปญั จมหานท”ี ประกอบดว้ ย
คงคา ยมนุ า อจิรวดี มหิ และสรภู

จากคติดังท่ีกล่าวมาน้ันน�าไปสู่การจัดสร้างตกแต่งพ้ืน
ดา้ นลา่ งของพระเมรมุ าศ ดว้ ยการจา� ลองเปน็ สระอโนดาต โดยขดุ สระ
ข้ึนมาจริงๆ ประดับด้วยเขามอ ไม้ดัดโบราณอย่างไทย และ
พนั ธพ์ุ ชื สวยงาม รวมถงึ รปู ปน้ั สตั วข์ นาดยอ่ สว่ น โดยมสี ตั วม์ งคล
๔ ทศิ คอื ช้าง สิงห ์ โค มา้

ทิศเหนือ มีชา้ งประจ�าทศิ
ในตา� ราคชลักษณ ์ ชา้ งเผือกมี ๔ ตระกูล คือ อิศวรพงศ์
พรหมพงศ์ วิษณุพงศ์ และอัคนิพงศ์ แบ่งตระกูลตามเทพเจ้า
ผสู้ รา้ ง ถอื กนั วา่ เปน็ ชา้ งมงคลทหี่ ากมาสพู่ ระบารมจี ะบงั เกดิ ความ
เจริญรุ่งเรือง เป็นท่ีมาของแนวคิดในการสร้างประติมากรรมช้าง
มงคลเพอื่ ประดบั เขามอในสระอโนดาต โดยทมี ชา่ งประตมิ ากรรม
ไทย วทิ ยาลยั เพาะชา่ ง ผ้รู บั หนา้ ทปี่ ้ันประติมากรรม เลือก “ชา้ ง
ตระกูลพรหมพงศ์” เน่ืองจากพ้องเสียงกับ “พรหมวิหาร ๔”
เมตตา กรณุ า มทุ ติ า อเุ บกขา อนั เปน็ หลกั ธรรมในการปกครอง
ของในหลวงรชั กาลที ่ ๙

หวั ใจของแผน่ ดิน 15

ภาพสระอโนดาตแยกเปน็ ๔ ทศิ และมสี ตั วป์ ระจา� ทศิ ตา่ งๆ จากสมดุ
ภาพไตรภมู ิฉบับกรุงศรีอยุธยา เลขท่ี ๖

16 หวั ใจของแผ่นดนิ

ช้างตระกูลพรหมพงศ์มีท้ังหมด ๑๐ หมู่ หรือเรียกว่า
“ชา้ งสิบตระกลู ” ประกอบด้วย ฉัททันตหตั ถี อโุ บสถหตั ถ ี เหม-
หัตถี มงคลหัตถี คันธหัตถี ปิงคลหัตถี ตามพหัตถี ปัณฑรหัตถ ี
คงั ไคยหัตถี และกาฬาวกหัตถี

ที่กล่าวถึงเป็นพิเศษ คือ “มงคลหัตถี” กับ “ฉัททันต-
หัตถี” โดยฉัททันต์ถือกันว่าเป็นพญาช้างซึ่งเป็นพระโพธิสัตว ์
ลงมาบ�าเพ็ญบารมี ต�าราคชลักษณ์ระบุว่ามีผิวกายขาวดุจสีเงิน
ยวง ขณะที่ในชาดกบอกว่ามีงาเปล่งรัศม ี ๖ ประการ ในการจัด
สรา้ งประติมากรรมจึงออกแบบให้เป็นชา้ งสขี าว มีงา ๖ แฉก

ส่วน “มงคลหตั ถ”ี ต�าราวา่ มผี วิ กายสนี ิลอญั ชนั ออกแบบ
เ ช่ื อ ม โ ย ง กั บ ใ น ห ล ว ง
รัชกาลท่ี ๙ ด้วยการเพ่ิม
ลักษณะพิเศษของช้างใน
ตระกูลอิศวรพงศ์เข้าไป
ด้วย น่ันคือลักษณะ “งา
อ้อมจักรวาล” หรือมีงา
ขวายาวกว่างาซ้าย อ้อม
โอบงวง ซ่ึงเป็นลักษณะ
มงคลทพ่ี บใน “พระเศวต-
อดุลยเดชพาหนฯ” ช้าง
เผือกประจ�ารชั กาลที ่ ๙

ประตมิ ากรรมชา้ ง สตั วม์ งคลประจา�
ทิศเหนือ ปนั้ โดยสา� นกั ช่างสิบหมู่

หัวใจของแผ่นดนิ 17

ทิศตะวันออก มสี ิงห์ประจา� ทิศ
“สงิ ห์ ๔ ตระกูล” เจา้ แห่งปา่ เป็นผ้นู า� แหง่ จตุรงคบาท
หรือสัตว์ส่ีเท้าท้ังปวง นอกจากมีก�าลังมหาศาล ยังมีลักษณะ
แตกต่างกันไป คือ ไกรสรราชสีห์ ขาวดุจสีสงั ข์ มขี นแผงคอ
ริมฝีปาก ขนหาง และเล็บเป็นสีแดงด่ังผ้ารัตนกัมพล, กาฬ
ราชสีหะ รูปร่างโตดุจโคหนุ่มผิวกายด�า, ตินสีหะ สีแดงมีกีบ
เทา้ เปน็ มา้ กนิ พชื เปน็ อาหาร และบณั ฑรุ าชสหี ์ กนิ เนอ้ื สกี าย
ดจุ ใบไมเ้ หลอื ง รปู แบบประตมิ ากรรมยงั แฝงความหมายตา่ งๆ
เช่น ออกแบบใหส้ ิงหส์ วมมงกฎุ สง่างามสมเปน็ สตั วม์ งคลใน
พระมหากษตั รยิ ์ นอกจากนย้ี งั มที า่ ทางตา่ งกนั เชน่ ใหม้ กี ริ ยิ า
ก้าวย่าง ส่อื ถึงชวี ิตที่ยังต้องเดนิ ไปข้างหน้า

ประติมากรรมสิงห ์
สตั วม์ งคลประจ�าทศิ ตะวันออก
ปน้ั โดยสา� นกั ช่างสิบหมู่

18 หวั ใจของแผ่นดนิ

ทศิ ใต ้ (ฝัง่ วัดพระแก้ว) มีโคประจ�าทิศ
ประกอบดว้ ย โค ๘ ตระกลู ไดแ้ ก่ โคอุสภุ ราช มสี กี ายด�า
นวล มดี ่าง ๗ แหง่ ท่ ี หนา้ หนอก หาง และเท้าทัง้ ส,่ี โคกระบนิ
กายสแี ดง (บางฉบับเรยี ก โคจงกลน ี หรือ โคนลิ ), โคหา กายสี
ขาว, โคหงษ ์ กายสเี หลอื ง, โคสีเมฆ, โคสที องแดง, โคม ี ลายดุจ
เกลด็ ปลา และโคสดี งั เสยี้ นโตนด มสี นี า้� ตาลอมแดง ปน้ั โดยยดึ ตาม
จิตรกรรมสัตว์หิมพานต์ในพระวิหารหลวง วัดสุทัศน์ เน้นความ
สง่างามเปรียบดังโคในพระราชพิธี
จรดพระนังคลั แรกนาขวญั

ประติมากรรมโค
สัตว์มงคลประจา� ทศิ ใต ้
ปัน้ โดยส�านกั ช่างสิบหมู่

หวั ใจของแผน่ ดิน 19

ทิศตะวันตก มมี า้ ประจ�าทศิ
(ทางขน้ึ ส�าหรบั วางดอกไม้จนั ทน)์
มา้ ๔ ตระกูล คอื วลาหก กายสีขาว ศีรษะดา� ปากและ
เท้าสแี ดง, อาชาไนย สเี ล่อื มด่งั ทอง, สนิ ธพมโนมยั มีหนา้ เป็นมา้
กายเป็นฬ่อ พ่อเป็นลา และอัสดร สีของม้ามีความจ�าเพาะ
ต้องตามจิตรกรรมสัตว์หิมพานต์ในพระวิหารหลวง วัดสุทัศน์
ซึ่งถือว่าเป็นสุดยอดของการรวบรวมเรื่องสัตว์หิมพานต์ ปั้นม้า
ทงั้ ทา่ ยนื และทา่ วงิ่ จดั วางองคป์ ระกอบตามจงั หวะของหนิ และนา้�
ตามที่ส�านักช่างสิบหมู่ได้ออกแบบไว้ รูปปั้นม้ายังโดดเด่นตรง
ที่ลดทอนกล้ามเน้ือ แต่คงกล้ามเน้ือมัดใหญ่ไว้ ใส่เครื่องทรง
แสดงความเป็นไทยประเพณ ี ลกั ษณะม้าคกึ คะนอง
หยอกลอ้ เล่นกนั ในหมอู่ าชา

ประติมากรรมม้า สัตว์
ม ง ค ล ป ร ะ จ� า ทิ ศ ต ะ วั น ต ก
สา� นกั ชา่ งสบิ หมพู่ ยายามเนน้
ที่ความสมจริงของกล้ามเนื้อ
และผวิ หนงั โดยลงสเี สน้ เลอื ด
กอ่ นทาสที บั ทา� ใหด้ เู หมอื นม ี
เส้นเลือดใต้ผวิ หนงั สมจรงิ

20 หัวใจของแผ่นดิน

ประติมากรรม
มา้ ๔ ตระกูล โดย
ชา่ งเมืองเพชร

ประติมากรรมสัตว์หิมพานต์ สิงห์ โค และม้า ปั้นโดย
“กลมุ่ ชา่ งปนู ปน้ั เมอื งเพชรบรุ ”ี นอกจากน ี้ ยงั ม ี “นกทณั ฑมิ า”
เป็นนกยืนถือกระบอง ตามต�านานว่าคอยยืนยามอยู่เชิงเขา
พระสเุ มรุ มีลกั ษณะคล้ายครุฑ มเี ขี้ยว ตาแบบจระเข ้ หางอยา่ งไก ่
ปีกและขาอยา่ งนก คอยปกปอ้ งไม่ใหส้ ่งิ ชว่ั รา้ ยเขา้ มา

งานปูนปั้นสกุลช่างเมืองเพชร มี
ลักษณะอ่อนช้อยงดงามอย่างพิเศษ จึง
ได้ถวายงานในพระราชพิธีส�าคัญเสมอมา
นอกจากลวดลายประณีตเป็นเอกลักษณ์
กรรมวิธีการผสมปูนยังมีรูปแบบเฉพาะ
ตวั สบื ทอดมานบั รอ้ ยป ี ผสมปนู ขาว ทราย
เยอื่ กระดาษ กากนา�้ ตาล และกาวหนงั เมอื่
จะใช้จึงค่อยๆ เติมน�้าในเน้ือปูนและต�าให้
เข้ากัน จะได้ “ปูนสด” สูตรเฉพาะช่าง
เมืองเพชร ทมี่ ีคณุ สมบตั ิพิเศษคอื ยดื หยุน่
สูง ขึ้นรปู ได้งา่ ย

หัวใจของแผน่ ดิน 21

แดนสวรรค์ชน้ั ท ่ี ๑ “จำตมุ หำรำชิกำ”

ประตมิ ากรรมทา้ ว
กุเวร ตามคติคือเจ้า
แห่งยักษ์ ถือกระบอง
เป็นอาวุธ และท้าว
ธตรฐ ตามคติถือกัน
ว่าเป็นผู้ปกครองเหล่า
คนธรรพ์ หรือเทวดา
ท่ีท�าหน้าท่ีเล่นดนตรี
บนสวรรค์ พระหัตถ์
จงึ ถือพิณ

สวรรคช์ นั้ ท ่ี ๑ “จาตมุ หาราชกิ า” ม ี “ทา้ วจตโุ ลกบาล” มหี นา้
ที่ดูแลรักษาโลก เป็นเทวดาผู้ป้องกันอันตรายที่จะเกิดแก่มนุษย์
ประจา� ๔ ทศิ

ทา้ วกเุ วร หรอื ทา้ วเวสสวุ รรณ ดแู ลรกั ษาโลกดา้ นทศิ เหนอื
ทา้ ววิรุฬหก ดูแลรกั ษาโลกดา้ นทิศใต ้
ทา้ วธตรฐ ดแู ลรกั ษาโลกด้านทศิ ตะวันออก
ท้าววิรปู กั ษ์ ดแู ลรักษาโลกด้านทศิ ตะวนั ตก
ท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่เสด็จลงมาจากสวรรค์ เพ่ือรับเสด็จ
ในหลวงรชั กาลที ่ ๙ เสด็จสสู่ วรรค์ ประติมากรรมท้งั ส่นี ี้ประดษิ ฐาน
ไว้บนฐานไพทชี นั้ ท ่ี ๑ บรเิ วณมุมล้อมรอบองค์พระเมรมุ าศ

22 หวั ใจของแผ่นดนิ

เย้ืองกรายกล้าหาญ รูปร่างโอ่อ่า คชสีห ์ และรำชสีห ์
สร้อยคอสะสวย, ไม่นอบน้อมต่อ สัตว์ใหญ่ทรงพลังอ�านาจอยู่
สัตว์ใดแม้ต้องแลกด้วยชีวิต, พบ
อาหารที่ใดก็จะกินอ่ิมเสียที่นั่น ไม่ เหนือสัตว์ทั้งปวงในป่าหิมพานต์
เลือกว่าอาหารดีหรือไม่, ไม่สะสม ทั้งยังเป็นสัญลักษณ์แทนข้าราช-
อาหาร และไม่กินเกินต้องการ บริพาร โดย “คชสีห์” เป็นตรา
ซ่ึ ง ทั้ ง ห ม ด เ ป ็ น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ท ่ี ประจ�าเสนาบดีสมุหกลาโหม เป็น
ข้าราชการพลเรือนพึงมี ประติ- สัญลักษณ์ผู้พิทักษ์แผ่นดินและ
มากรรมคชสีห์และราชสีห์ ติดต้ัง พระมหากษตั รยิ ์ แทนเหลา่ ทหารและ
ไว้ข้างบันไดด้านขวาและซ้ายของ ต�ารวจทุกเหล่าทัพ สว่ น “ราชสีห”์
ทางขนึ้ ไพทชี นั้ ท ี่ ๒ ทกุ ทศิ ของพระ เป็นตราประจ�าเสนาบดีสมุหนายก
เมรุมาศ มีหน้าท่ีในการช่วยดูแลราษฎร ใน
หนังสือปัญหาพระยามิลินท์ ระบุ
คณุ ลกั ษณะ ๗ ประการของราชสหี ์
ไว้ คือ เป็นสัตว์สะอาดหมดจดไม ่
มัวหมอง, เที่ยวไปด้วยเท้าทั้งส่ี,

หัวใจของแผ่นดนิ 23

เย่ยี มแดนดำวดงึ ส ์

บริเวณเชิงเขาพระสุเมรุนอกเขตป่าหิมพานต์ มี “วิมาน
ฉิมพลี” ถิ่นอาศัยของ “ครุฑ” คนไทยรับรู้เรื่องของครุฑผ่าน
ศาสนาและความเชื่อ ทั้งในเชิงสัญลักษณ์พระมหากษัตริย์ เช่น
ครุฑบนตราพระราชลัญจกร และธงครุฑพ่าห์ จากความเชื่อ
ที่ว่าพระมหากษัตริย์คือองค์อวตารของ
“พระนารายณ์” ซ่ึงมีครุฑเป็น
เทพพาหนะ ดงั นี้ ครฑุ จึงตดิ ตาม
พระมหากษตั รยิ ์ไปทกุ แห่งหน

พ ร ะ เ ม รุ ม า ศ ใ น ห ล ว ง
รชั กาลท ่ี ๙ จงึ มกี ารสรา้ งประต-ิ
มากรรมครุฑ มีความสูงถึง
๒๗๕ เซนติเมตร ประดิษฐาน
บรเิ วณบนั ไดทางขนึ้ ฐานไพที
ชั้นที่ ๓ นอกจากนี้ยังม ี
การจดั สรา้ งประตมิ ากรรม
ขึ้นเป็นพิเศษ คือ
พระพิเนก-พระ
พนิ าย เทพที่มี
เศียรเป็นช้าง
ประดิษฐานคู่
กัน ชั้นเดียว
กบั ครฑุ

24 หวั ใจของแผ่นดนิ

การปั้นประติมากรรม
พระพเิ นก-พินาย ค�านึงถงึ
ความสมจริงทางกายวิภาค
จึงมีการใช้คนจริงเป็นแบบ
ปน้ั และออกแบบใหย้ นื แบบ
“นาฏยลกั ษณ”์ หรอื ทว่ งทา่
แบบโขน เพื่อความงดงาม
ไม่ว่าจะมองในมุมนาฏศิลป์
หรือทศั นศิลป์

ประติมากรรมครุฑ
ต้นแบบดินเหนียว ใน
อริ ยิ าบถยืนถอื ดอกบวั

หัวใจของแผน่ ดิน 25

เทพยดำแห่งแดนสวรรค ์
ส่ิงที่ขับเน้นให้พระเมรุมาศเป็นแดนศักดิ์สิทธ์ิอย่างสมบูรณ์

แบบก็คือประติมากรรมเหล่าเทพ ซ่ึงในคร้ังน้ี มีแนวคิดชุมนุม
เทพยดาทุกชั้นฟ้าให้รว่ มสง่ เสดจ็ สู่สวรรค์
ประตมิ ำกรรมมหำเทพ

ตามคติฮินด ู มมี หาเทพสูงสดุ ๓ องค์ คือ “พระพรหม”,
“พระนารายณ”์ และ “พระอศิ วร” ทา� หนา้ ทใี่ นจกั รวาลคอื สรา้ ง
รกั ษา และท�าลาย หากในคตไิ ตรภมู ิ ยอดเขาพระสุเมรุเป็นทต่ี ้ัง
ของ “นครไตรตรงึ ษ”์ หรอื สวรรคช์ น้ั ดาวดงึ ส์ ม ี “พระอนิ ทร”์
เปน็ ผปู้ กครอง จงึ เพม่ิ เปน็ หนงึ่ ในกลมุ่ มหาเทพ ประดษิ ฐานบรเิ วณ
ชั้นชาลาท ่ี ๓

26 หัวใจของแผ่นดนิ

ประตมิ ากรรมมหาเทพทงั้ ส ี่ คงรปู ลกั ษณต์ ามคมั ภรี ป์ รุ าณะ
ผสานกับแนวคิดประติมากรรมร่วมสมัย ท�าให้มีความสมจริง
ทั้งในส่วนกล้ามเน้ือ รวมไปถึงพระพักตร์ท่ีเน้นศิลปะแนวเสมือน
จรงิ องค์ส�าคัญคอื “พระนารายณ”์ ผิวพระวรกายสมี ่วง ม ี ๔ กร
เปน็ ประตมิ ากรรมเพยี งชน้ิ เดยี วทพี่ ระพกั ตรค์ ลา้ ยพระบาทสมเดจ็ -
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช สะทอ้ นคตพิ ระมหากษตั รยิ ท์ รง
เป็นนารายณ์อวตาร โดยแย้มพระโอษฐ์แสดงพระมหากรณุ าธคิ ณุ
ต่อพสกนิกร ขณะที่ฐานรองประติมากรรมออกแบบเป็นรูปครุฑ
และศลิ ปะนนู ตา่� รปู พชื พรรณผลไม ้ เชน่ ทเุ รยี น มงั คดุ และดอกไม้
นานา ส่ือถึงความอดุ มสมบรู ณ ์

ประตมิ ากรรม “พระ
พรหม” ครั้งน้ี มีความ
พิเศษท่ีพระพักตร์ทั้งสี่มี
ลักษณะแตกต่างกัน พระ
พักตร์หน้าเป็นชายหนุ่ม
พระพักตร์หลังเป็นชาย
ชรา พระพักตร์ขวาเป็น
เดก็ และพระพกั ตรซ์ า้ ยเปน็
สตรี เป็นจินตนาการของ
ช่างและส่ือถึงวัฏฏะที่ไม่มี
ผู้ใดหลกี พ้น

หัวใจของแผน่ ดนิ 27

งานเขียนสีประติมากรรมเทวดานัง่ -ยืน ท่หี อประตมิ ากรรมตน้ แบบ
กรมศิลปากร

ประตมิ ำกรรมเทวดำ
บนชั้นชาลาชั้นท่ี ๑-๓ ตกแต่งด้วยประติมากรรมเทพเทวดา

ได้แก่ “เทวดาน่ังอัญเชิญบังแทรกและพุ่ม” ประดิษฐานบนฐานไพท ี
ช้ันที่ ๑ ๒ และ ๓ รวม ๕๖ องค์ และ “เทวดายืนอัญเชิญฉัตร”
ประดิษฐานไว้บนฐานไพทีชั้นที่ ๓ ติดกับบันไดทางข้ึนพระมณฑป
พระเมรุมาศ รวม ๘ องค์ สว่ นส�าคญั ของประติมากรรมชุดน้ีคือการลง
สกี าย โดยใช้ “สีขาวกระบงั ” หรอื สขี าวหม่น (ค�าว่า “กระบัง” หมาย
ถึง “ดนิ ขาว”) ขณะที่ดวงตาใชถ้ งึ ๕ ส ี คอื สีทอง สที องแดง สีน้�าเงิน
สสี ม้ และสเี น้อื เพอื่ สรา้ งมติ สิ มจรงิ ส่วนผา้ นุ่งถอดแบบจากลายผา้ ใน
จิตรกรรมโบราณ และลวดลายผ้าโพกศีรษะเป็นลายตามจินตนาการ
ของชา่ งเขียน ผกู ขนึ้ จากลายพรรณพฤกษา และลายนกคาบ-นาคขบ
ซึง่ เครื่องทรงเหล่าน้จี ะไม่ซา้� กันในแตล่ ะคู่เทวดา

28 หวั ใจของแผน่ ดิน

หัวใจส�าคัญของงานปั้น คือ
ประตมิ ากรรมตน้ แบบในการทา� พมิ พ์
หล่อไฟเบอร์กลาส ซ่ึงต้องใช้ดิน
ชนิดพิเศษตามแบบช่างโบราณ คือ
“ดินขี้งูเหลือม” เป็นดินเหนียวท่ีมี
เน้ือละเอียดมาก เงางาม สว่างใน
ตวั เมื่อน�ามาขึ้นรปู ไม่ด่าง เนอื้ ดินสี
เสมอกนั แลเหน็ แสงเงาและความตนื้ สามารถหาซือ้ ไดอ้ ีกแลว้ โดยดนิ ข้ี
ลึกได้ชัดกว่าดินเหนียวทั่วไป ส่วน งูเหลือมท่ีส�านกั ช่างสิบหมใู่ ชน้ ้ ี ผ่าน
ใหญ่พบตามแหล่งใกล้แม่น�้า เช่น การใช้งานประติมากรรมต้นแบบ
นครปฐม และปทมุ ธาน ี สา� นกั ชา่ งสบิ ตา่ งๆ มากวา่ ๓๐ ป ี เมื่อเสร็จงาน
หมู่เคยหาซ้ือได้จากร้านขายดินย่าน ก็จะเก็บรักษาไว้ในห้องเป็นอย่างดี
พรานนกซ่ึงในอดีตเป็นย่านโรงหล่อ เพื่อน�ามาใช้ในงานประติมากรรม
พระ ปัจจุบันมีราคาสูงมาก และไม่ ครั้งตอ่ ไป

หวั ใจของแผ่นดนิ 29

“พระจติ กำธำน”
สง่ เสด็จสสู่ วรรคช์ ้นั ดุสติ

บริเวณช้ันชาลาบนสุด มีบุษบกองค์ประธาน ถือเป็นสัญลักษณ ์
เขาพระสเุ มร ุ เปน็ ทต่ี ง้ั ของ “พระจติ กาธาน” หรอื ฐานทที่ า� ขน้ึ สา� หรบั ถวาย
พระเพลงิ พระบรมศพ เปน็ สถานทส่ี า� คญั ในการกลบั คนื ส ู่ “ทพิ ยส์ ภาวะ”

พระจิตกาธานเป็นค�าเรียกเฉพาะส�าหรับพระเจ้าแผ่นดิน และ
พระบรมวงศานุวงศ์ ขณะทค่ี นสามัญเรียก “เชิงตะกอน” ประกอบดว้ ย
แทน่ ฐานส�าหรบั เผาทรงส่เี หลย่ี ม ภายในใสด่ นิ เสมอปากฐานส�าหรบั วาง
ทอ่ นฟืนไม้จนั ทน ์ ตกแตง่ ด้วยกระดาษส ี และเครอื่ งสดส�าหรับเปน็ เครอื่ ง
ป้องกันไฟ

ณ ทแี่ หง่ น ้ี ถอื เปน็ สถานทส่ี ดุ ทา้ ยบนโลกมนษุ ย ์ จงึ ตอ้ งประดบั อยา่ ง
งดงามสมพระเกียรติสภาวะแห่งเทพที่ก�าลังจะมาถึง โดยภายในพระ-
จิตกาธานยังมีเคร่ืองประกอบพระราชอิสริยยศตามโบราณราชประเพณ ี
และงานช่างชั้นสูง ประกอบด้วย พระโกศจันทน์, ฉากบังเพลิง และ
ประติมากรรมสุนัขทรงเล้ียงท่ีสร้างข้ึนเป็นพิเศษ ท้ังหมดสร้างตามคติ
ความเชื่อ และความส�านึกในพระมหากรุณาธคิ ณุ
พระโกศจนั ทน์

“...แล้วจิงยกศพไปสงสการด้วยแก่นจันทน์กฤษณาทั้งห้าแล้ว
บชู าดว้ ยเขา้ ตอกดอกไมท้ งั้ หลาย ครน้ั วา่ สงสการเสรจ็ แลว้ คนทงั้ หลาย
จงิ เกบ็ เอาธาตพุ ระญามหาจกั รพรรดริ าชนนั้ ไปประจแุ ลกอ่ พระเจดยี .์ ..”

ขอ้ ความจาก “ไตรภมู ิกถา” หรอื ไตรภมู ิพระร่วง พระราชนิพนธ์
ในพญาลไิ ท แหง่ กรงุ สโุ ขทยั กลา่ วถงึ การใช ้ “ไมจ้ นั ทน”์ ในพระราชพธิ ี
พระบรมศพ แสดงถึงความส�าคัญของไม้หอมชนิดนี้ท่ีใช้ในพระราชพิธ ี
มาอย่างยาวนาน ในแง่คุณสมบัติไม้จันทน์ช่วยดับกล่ิน และเป็นไม้ที่มี

30 หวั ใจของแผ่นดิน

คา่ หายากยง่ิ การใชไ้ มจ้ นั ทนป์ ระกอบพระราชพธิ พี ระบรมศพ จงึ ถอื เปน็
การถวายสักการะอย่างสงู สุด

ในพระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ “พระโกศจนั ทน”์ สรา้ งขนึ้ เปน็ การ
เฉพาะในพระราชพธิ แี ตล่ ะครง้ั ใชเ้ ปน็ ฟนื หรอื เชอ้ื เพลงิ สา� หรบั พระบรมศพ
มลี กั ษณะเปน็ โกศแปดเหลยี่ ม ประกอบดว้ ยโครงลวดตาขา่ ย ประดบั ลาย
ซอ้ นไมท้ งั้ องค ์ สามารถถอดแยกได ้ เมอ่ื ถวายพระเพลงิ จะเปลอ้ื งพระโกศ
ทองออก เหลือแต่พระโกศลองในแล้วน�าพระโกศจันทน์เข้าประกอบ
พระโกศลองในซ่ึงประดิษฐานบนพระจิตกาธาน เมื่อพระโกศจันทน์
ซ่ึงเป็นโครงตาข่ายมีลายประดับแบบฉลุโปร่ง ติดไฟ จะท�าให้เพลิงลุก
ไหมไ้ ดโ้ ดยสะดวกและส่งกลน่ิ หอม

แต่เดิมนั้นจะอัญเชิญพระศพลงในพระโกศ อยู่ในท่ายืน, นั่ง,
คกุ เขา่ หรอื กอดเขา่ ประสานมอื เพื่อสง่ พระวญิ ญาณเสด็จกลับสู่สวรรค ์
แตเ่ มอ่ื ครงั้ งานพระบรมศพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนน ี เปลย่ี น

แบบร่างพระโกศและฐานรองพระโกศจันทน์

หัวใจของแผน่ ดิน 31

มาเป็นการเชิญพระบรมศพลงหีบ
พระศพแทน ตามพระประสงค์
ของสมเด็จย่าท่ีทรงเห็นการท�า
พระสกุ า� หรอื มดั ตราสงั พระบรม-
ศพสมเด็จพระนางเจ้าร�าไพพรรณ ี
พระบรมราชนิ ีในรชั กาลที ่ ๗ เป็น
ไปด้วยความทุลักทุเล จึงตรัส
ว่า “อย่าท�ากับฉันอย่างนี้ อึดอัด
แย่” เช่นเดียวกันกับงานพระศพ

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า ก้นั อยู ่ โดยงานพระศพของสมเดจ็
กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าส พระเจ้าภคนิ เี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตน-
ราชนครินทร์ และพระบรมศพ ราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรง
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหา- เป็นเจ้านายพระองค์สุดท้ายท่ีได้
ภมู พิ ลอดุลยเดช ซึง่ สามารถท�าได้ อัญเชิญลงประทับยังพระโกศทอง
ตามพระราชอัธยาศัย ดังนั้น ใน ใหญ ่ ซง่ึ เปน็ พระประสงคว์ า่ จะดา� รง
พระโกศจึงไม่มีพระบรมศพสถิต พระเกียรติยศของการเป็นขัตติย-
อย ู่ แตต่ ง้ั ไวเ้ พอ่ื เปน็ พระบรมราช- นารีแห่งพระราชวงศ์จักรีอย่างสูง
อสิ ริยยศ ส่วนหีบทรงพระบรมศพ ท่ีสุด ส�านักพระราชวังจึงจัดตรง
ประดษิ ฐานหลงั พระแทน่ โดยมฉี าก ตามโบราณราชประเพณี เว้นตอน

32 หัวใจของแผน่ ดิน

สงิ่ สดุ ทา้ ยเพอื่ ถวายความอาลยั
คือ “ดอกไมจ้ ันทน”์ ท่พี สกนกิ รตา่ ง
รว่ มประดษิ ฐ ์ โดยดอกไมจ้ นั ทนค์ รง้ั น ี้
มถี งึ ๗ ชนดิ คอื ดอกดารารตั น ์ กหุ ลาบ
พุดตาน ลิลลี่ กล้วยไม้ ชบาทิพย ์
และชบาหนู ทั้งหมดมีความหมายลึก
ซ้ึง โดยเฉพาะ “ดอกดารารตั น์” หรือ Daffodil ดอกไม้ทรงโปรดของในหลวง
รชั กาลท่ ี ๙ ท่ีพระราชทานใหก้ บั สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ
เสมอ เมอ่ื ครงั้ ประทบั ทสี่ วติ เซอรแ์ ลนด ์ ดอกไมช้ นดิ นย้ี งั มคี วามหมายถงึ ความ
รกั ท่ไี มต่ อ้ งการสิ่งใดตอบแทน และยังเป็นสญั ลักษณ์แห่งความหวัง

พระราชทานเพลงิ ทอ่ี ญั เชญิ พระโกศเขา้ เชน่ กระจงั รวน กระจังฝา ดอกจอก
เตาไฟฟา้ แทนการตงั้ บนพระจติ กาธาน ทสี่ า� คญั คอื “เครอื เถาครฑุ ” ซง่ึ เปน็

ส�าหรับลวดลายของพระโกศ ลวดลายที่ผูกร้อยตัวครุฑเข้าด้วย
จันทน์ในพระราชพิธีคร้ังน ้ี ประกอบไป กันถงึ ๑๓๒ ตัว ใหค้ รฑุ เปน็ พาหนะ
ดว้ ยกลีบจงกล ๔ สว่ น คือ เกสร กลบี แทนความหมายถึงการกลับคืนสู่
แทรก กลีบใหญ่ และกลีบมุม บริเวณ สภาวะพระนารายณ์ ตามคติความ
ใจกลางประดบั ลายเทพบตุ รประจา� กลบี เช่ือเรื่องมหาเทพอวตารปราบยุค
จงกล มีการฉลุไม้ประกอบนับหม่ืนชิ้น เขญ็ ทงั้ น้ ี เฉพาะตวั ครฑุ อยา่ งเดยี ว
โดยรวบรวมลายที่มีความส�าคัญแสดง ต้องใชก้ ารซ้อนไม้ถงึ ๕๓ ชน้ิ
ถึงฐานานุศักดิ์พระมหากษัตริย์อย่าง
สมพระเกยี รต ิ เชน่ ลายบวั กลบี ขนนุ ซงึ่
ภายในลายน้ีจะมีรูปเทพนม เปรียบได้
กับเหลา่ เทพยดา

อีกส่วนส�าคัญ คือ ฐานรอง
พระโกศจันทน์ หรือท่ีเรียกว่า “หีบ
พระบรมศพจนั ทน”์ มลี วดลายทง้ั หมด
๑๙ ลาย รวมชน้ิ ไมฉ้ ลกุ วา่ ๓๓,๐๐๐ ชน้ิ

หัวใจของแผ่นดนิ 33

ภาพนารายณ์อวตารปางท่ี ๘ กฤษณาวตาร และปางที่ ๑๐
กลั กยาวตาร (บรุ ุษขมี่ า้ ขาว) ฉากบงั เพลงิ ดา้ นทิศตะวนั ตก

ฉำกบังเพลิง
“ฉากบังเพลิง” เป็นเครอื่ งกน้ั ทางขน้ึ ลงพระเมรมุ าศ เพ่ือ

มใิ หเ้ หน็ การถวายพระเพลงิ และใชบ้ งั ลม มลี กั ษณะเปน็ ฉากพบั ได้
ติดไว้กบั เสาพระเมรุทงั้ ๔ ด้าน เมอ่ื ใชง้ านจะดึงหรอื คล่ฉี ากท่ีพับ
ไว้เพอื่ บังพระจิตกาธาน

ท่ีผ่านมาฉากบังเพลิงมักประกอบด้วยภาพเทพยดา แทน
ความหมายการกลบั คนื สสู่ รวงสวรรค ์ โดยเพม่ิ เตมิ พระราชนยิ มและ
คณุ ปู การของพระบรมวงศานวุ งศพ์ ระองคน์ นั้ ๆ หากแตใ่ นงานพระ
ราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ไดท้ า� ฉากบงั เพลงิ เปน็ ภาพนารายณอ์ วตาร
34 หัวใจของแผ่นดนิ

ภาพจติ รกรรมบนฉากบงั เพลงิ เขยี นตามแนวทางทใ่ี นหลวง
รชั กาลท ี่ ๙ เคยรบั สงั่ ไวว้ า่ อยากใหเ้ ขยี น “ภาพจติ รกรรมไทยแต่
เปน็ ยคุ สมยั ปจั จบุ นั ” โดยมตี น้ แบบภาพจติ รกรรมบนผนงั ภายใน
พระพุทธรัตนสถานในพระบรมมหาราชวัง ลักษณะภาพมีความ
ผสมผสานระหวา่ งจติ รกรรมแบบตะวนั ตก ๓ มติ ิ กบั จติ รกรรมไทย
โบราณ ใหภ้ าพบคุ คลมกี ลา้ มเนอ้ื สมจรงิ มแี สงเงา ดรู ว่ มสมยั แตค่ ง
ความเปน็ ไทยประเพณดี ว้ ยการปดิ ทองคา� เปลวตามเครอื่ งประดบั
และตัดเสน้ รอบนอกเป็น “จติ รกรรมไทยในสมยั รชั กาลท่ี ๙”

รวม ๘ ปาง ตามคติความเช่ือเรือ่ ง
พระมหากษัตริย์เป็นองค์นารายณ์
อวตารปราบยุคเข็ญ ขณะท่ีด้าน
ล่างสร้างสรรค์เป็นภาพโครงการ
อันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ ๒๔
โครงการ แยกตามหมวด “ดนิ นา�้
ลม ไฟ” เป็นเสมือนเคร่ืองบันทกึ
พระมหากรุณาธิคุณตลอดรัชกาล
อนั ยาวนาน

ทศิ เหนอื หมวดน�า้
นารายณ์อวตารปางที่ ๑
มัตสยาวตาร (ปลากรายทอง)
และปางท่ี ๒ กูรมาวตาร (เต่า)
ประกอบด้วยภาพโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เช่น ฝนหลวง, ฝายต้นน้�า ศูนย ์
ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อ. ดอยสะเก็ด จ. เชียงใหม่, เขื่อน
ปา่ สกั ชลสทิ ธ,์ิ โครงการพฒั นาลมุ่ นา�้ ปากพนงั และกงั หนั นา้� ชยั พฒั นา

หัวใจของแผน่ ดิน 35

ทศิ ตะวนั ออก หมวดดิน
นารายณ์อวตารปางท่ี ๓
วราหาวตาร (หมปู า่ เขย้ี วเพชร) และ
ปางท ี่ ๔ นรสิงหาวตาร (สิงหค์ ร่ึง
คน) ประกอบด้วยภาพโครงการ
อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ด� า ริ
ได้แก่ โครงการการปรับปรุงดิน
กรวดศูนย์การศึกษาการพัฒนา
หว้ ยฮ่องไคร,้ ดินเค็ม ศูนยศ์ กึ ษา
การพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน, ดิน
ทราย ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขา
หนิ ซอ้ น, ดินดานลกู รัง ศูนยศ์ ึกษา
การพัฒนาห้วยทราย, ดินพรุและ
ดินเปรี้ยว ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
พิกุลทอง
ทิศใต้ หมวดไฟ
นารายณ์อวตารปางท่ี ๖
ปรศุรามาวตาร (ผู้ใช้ขวานเป็น
อาวุธ) และปางที่ ๗ รามาวตาร
(พระราม) ประกอบด้วยภาพ
โครงการสกัดน�้ามันจากสบู่ด�า
ศู น ย ์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ภู พ า น ,
โรงงานผลติ ไบโอดเี ซล ศนู ยศ์ กึ ษา
การพัฒนาพิกุลทอง, เช้ือเพลิง
อัดแท่ง แกลบอัดแท่ง โครงการ
ส่วนพระองค์สวนจิตรลดา, ก๊าซ
ชีวภาพ พลงั งานเซลลแ์ สงอาทติ ย ์

36 หัวใจของแผน่ ดิน

ผลิตกระแสไฟฟา้ , กังหนั น้�าผลิตไฟฟา้ ที่ประตนู ้�าคลองลัดโพธิ ์
ทิศตะวันตก หมวดลม
นารายณ์อวตารปางท่ี ๘ กฤษณาวตาร และปางท่ี ๑๐

กลั กยาวตาร (บรุ ษุ ขมี่ า้ ขาว) ประกอบดว้ ยภาพโครงการฯ เชน่ กงั หนั ลม
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชด�าริ บ้านหนองคอไก่ จ. เพชรบุรี,
ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานลม และกังหันสูบน้�า ศูนย์ช่วยเหลือ
ผปู้ ระสบวาตภยั แหลมตะลมุ พกุ จ. นครศรธี รรมราช อนั เปน็ ทม่ี าของ
พระราชด�าริพ้ืนที่บางกะเจ้า อ . พระประแดง จ. สมุทรปราการ
เป็นพ้ืนท่ีสีเขียว และปอดของกรุงเทพฯ เนื่องจากลมมรสุมจาก
อา่ วไทยจะพดั พาอากาศบรสิ ทุ ธท์ิ ผ่ี ลติ จากพนื้ ทน่ี เ้ี ขา้ ฟอกอากาศเสยี
ในกรุงเทพฯ เป็นเวลา ๙ เดอื น

นอกจากภาพด้านหน้าที่มีความประณีตงดงาม ด้านใน
ยงั มคี วามหมายลกึ ซง้ึ โดยออกแบบบนพนื้ หลงั เปน็ สชี มพ ู ประดบั
ตราสญั ลกั ษณพ์ ระปรมาภิไธยยอ่ “ภ.ป.ร.” ประกอบดว้ ยเหล่าบวั
สวรรคจ์ า� ลองสวรรคช์ น้ั ดสุ ติ อนั เปน็ ทพี่ า� นกั ของพระโพธสิ์ ตั วก์ อ่ น
เสวยชาต ิ ขนาบซา้ ยขวาดว้ ยดอกมณฑาทพิ ย ์ ดอกไมส้ วรรคแ์ สดง
นัยถึงการถวายสักการะอยา่ งสูงสุด

นอกจากน้ียังออกแบบเป็นกลุ่มบัวสวรรค์ โดยสอดแทรก
สญั ลักษณต์ า่ งๆ สื่อถงึ พระมหากรุณาธิคณุ เช่น ปลานลิ อนั เปน็
พันธุ์ปลาพระราชทาน,
รวงข้าว หมายถึงความใส่
พ ร ะ ร า ช ห ฤ ทั ย พั ฒ น า
พนั ธข์ุ า้ ว, หญา้ แฝก ระลกึ ถงึ
ก า ร อ นุ รั ก ษ ์ ดิ น น�้ า ต า ม
แนวพระราชดา� ร,ิ หยาดฝน
สื่ อ ถึ ง ฝ น ห ล ว ง แ ล ะ น้�า
พระราชหฤทัย

หวั ใจของแผ่นดนิ 37

จติ รกรรมพระทน่ี ั่งทรงธรรม
ยังมีภาพจิตรกรรมขนาดใหญ่เรียงร้อยเร่ืองราวโครงการอันเนื่อง
มาจากพระราชด�าริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
จ�านวน ๔๖ โครงการ จากทง้ั หมดกวา่ ๔,๐๐๐ โครงการ ประดับบนฝา
ผนังพระทนี่ ง่ั ทรงธรรม 3 ด้าน

38 หวั ใจของแผ่นดนิ

หวั ใจของแผน่ ดนิ 39

40 หวั ใจของแผน่ ดนิ

ประตมิ ำกรรมสนุ ขั ทรงเล้ียง “ทองแดง-โจโฉ”
ในงานพระเมรุมาศคร้ังนี้ มีการออกแบบหุ่นปั้นสุนัข

ทรงเลยี้ ง คุณทองแดง และคณุ โจโฉ ตดิ ตงั้ บริเวณพระจติ กาธาน
“คุณทองแดง” เป็นสุนัขเพศเมีย ลูกของ “แดง” สุนัข

จรจดั บรเิ วณถนนพระราม ๙ ที่ในหลวงรชั กาลท่ ี ๙ ทรงเลี้ยงไว ้
ประติมากรรมมีความพิเศษตรงท่ีไม่เหมือนจริง เป็นศิลปะเชิง
นามธรรม ตีความตามพระราชนิพนธ์เร่ืองทองแดง ส่ือถึงความ
ถอ่ มตวั นอบน้อม และออ่ นโยน และปัน้ ให้ยืดตัวเกนิ จรงิ เลก็ นอ้ ย
เพ่ือให้ดูสง่างาม เนื่องจากในหลวงรัชกาลที่ ๙ เคยตรัสว่า
“คุณทองแดงสง่าเหมือนม้า” นอกจากน้ียังสื่อถึงความซื่อสัตย์
กตญั ญผู า่ นแววตา และเพมิ่ เตมิ ลกู เลน่ “ปลอกคอหกู ระตา่ ย” เพอ่ื
ให้สุนัขทรงเลีย้ งดูสภุ าพเหมาะกบั งานสา� คญั

ส่วน “คุณโจโฉ” เป็นสุนัขทรงเลี้ยงพันธุ์บ็อกเซอร์ช่วงปี
๒๕๐๐ มีความฉลาด แสนรู ้ และมีอริ ยิ าบถชวนย้ิม ดังปรากฏใน
ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ตีพิมพ์ในหนังสือโรงเรียนราชินี โดยภาพมี
อริ ิยาบถตา่ งๆ เช่น คาบไปป ์ สวมแวน่ ตา อา่ นหนงั สือ เล่นเปยี โน
ส�าหรับประติมากรรมคุณโจโฉใช้ต้นแบบจากภาพถ่ายฝีพระหัตถ์
ในท่าคาบไปป์ มีค�ากลอนเขียนใต้ภาพวา่

บัดนนั้ โจโฉปรีด์เิ ปรมเกษมศร ี
ไดด้ ดู กล้องสมใจในคราน ี้ ไมต่ ้องใส่บหุ รี่ก็ดแี ล้ว
วางท่าโกโ้ ออ่ ่าสง่านกั แต่ใจชักสงสัยน�้าในแก้ว
ใยมีฟองปุดปดุ ผดุ เป็นแนว ใสแจ๋วแหววพุทโธน่ า�้ โซดา

ประติมากรรมคุณโจโฉ เรียกได้ว่ามีความแตกต่างกับ
คณุ ทองแดง เพราะเปน็ ศลิ ปะแนวเสมอื นจรงิ เกบ็ รายละเอยี ดรอยยน่
ของผิวหนัง ไปจนถึงเส้นขน เหตุผลส�าคัญเพราะเรื่องราวของ
คุณโจโฉแทบไม่มีบันทึกถึง ศิลปินจึงเลือกปั้นให้มีความสมจริง
ตามภาพถ่าย

หัวใจของแผ่นดิน 41

ควำมพเิ ศษของ ๑
พระเมรุมำศ
รัชกำลท่ ี ๙ ชัน้ เชิงกลอน ๗ ชน้ั
บริเวณชั้นเหม เป็น
๒ พทุ ธภูมิ

ส่ื อ พ ร ะ อ ง ค ์ ท ร ง ๓
เ ป ็ น พ ร ะ โ พ ธิ สั ต ว ์
และนำรำยณอ์ วตำร พระเมรทุ ผ่ี ำ่ นมำม ี๒ -
๓ ช้ัน แต่ครั้งน้ีมี ๔
๔ ชั้น ย่ิงสูงย่ิงแสดง
ถึงควำมสมจริงของ
เขำพระสุเมรุ มีสระ
อโนดำตล้อมรอบ ๕พระเมรมุ ำศ
โดยสระทั้งส่ี มีกำร
ขุดสระข้นึ มำจริงๆ เ ข ำ โ ค ม ไ ฟ ค รุ ฑ
จ ำ ก เ ดิ ม เ ป ็ น ห ง ส ์
เพรำะครุฑเป็นสัตว์
พำหนะของพระ
นำรำยณ ์

42 หัวใจของแผน่ ดิน

พื้นที่ฝั่งทิศเหนือของพระเมรุมาศ จัดภูมิสถาปัตยกรรม
แปลงนาข้าวขนาดกวา่ ๑ ไร่ แบง่ แปลงนาเป็น ๓ สว่ น คอื ช่วง
ท่ีเป็นต้นกล้า แตกกอ และออกรวง ลดหล่ันไล่ระดับเพื่อความ
สวยงาม ภายในคนั นารปู เลขเกา้ ไทยสดี นิ ทอง พรอ้ มทา� ฝายนา้� ลน้
แกม้ ลงิ และจา� ลองกงั หนั นา้� ชยั พฒั นา ตามโครงการพระราชดา� รฯิ

พระเมรุมาศ และอาคารส่ิงปลูกสร้างประกอบในงานพระ
ราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพฯ ครงั้ น ี้ กนิ พืน้ ท่ีถึง ๒ ใน ๓
ของอาณาบริเวณท้องสนามหลวง เพ่ือถวายให้สมพระเกียรติยศ
อย่างสูงสดุ

หวั ใจของแผน่ ดิน 43

คต ิ “นำค” ในรำชรถ

คติไตรภูมิ ยังปรากฏใน “ราชรถ-ราชยาน” จากเอกสาร
“จดหมายการพระศพสมเด็จพระรูปวดั พทุ ไธสวรรย ์ กรุงเก่า” กลา่ วถงึ
“พระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธาร” ประดษิ ฐานพระบษุ บกหา้ ยอดทแ่ี สดง
ถงึ เขาพระสุเมรุ และรอบล้อมทวีปทงั้ ส ่ี คือ อตุ รกุรทุ วีป บุพวเิ ทหทวีป
อมรโคยานทวีป และชมพูทวีป ซ่ึงราชรถดังกล่าวเป็นต้นแบบของ
พระมหาพชิ ยั ราชรถกรุงรตั นโกสนิ ทร์

บุษบกของพระมหาพิชัยราชรถองค์ปัจจุบัน สื่อถึงความเป็น
44 หัวใจของแผน่ ดิน

เขาพระสเุ มรเุ ชน่ เดยี วกบั พระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธารเมอ่ื ครงั้ กรงุ เกา่
ช้ันเบญจารายรอบด้วยเหล่าเทวดาแสดงถึงสวรรค์ช้ันต่างๆ และครุฑ
ส่ือความหมายถงึ พระมหากษตั ริย์ผู้เป็นสมมตเิ ทพ ที่สา� คญั คอื เครอ่ื งไม้
แกะสลกั รปู “นาค” อนั เปน็ สญั ลักษณ์ของนา้� และความสมบูรณ์

คนพนื้ เมอื งอษุ าคเนยเ์ ชอื่ วา่ มนษุ ยม์ ตี น้ กา� เนดิ มาจากบาดาล หรอื
“นาคพิภพ” เม่ือตายไปวิญญาณจะกลับไปสู่แหล่งก�าเนิด เช่ือว่านาค
จะเป็นผู้น�าดวงวิญญาณผู้ตายให้กลับไปสู่โลกบาดาล หลังรับอิทธิพล
ศาสนาพทุ ธและพราหมณ ์ ความเชอื่ นยี้ งั คงเหลอื รอ่ งรอยในงานพระบรมศพ
พระเจ้าแผน่ ดนิ โดย “เฟอร์ดินนั ด์ เมนเดซ ปนิ โต” นกั เดินทางชาว
โปรตเุ กส บนั ทกึ ถงึ พระราชพธิ พี ระบรมศพของสมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช
วา่ เม่ือถวายพระเพลงิ และบรรจพุ ระอัฐิรวมถงึ พระอังคารแล้ว ใช้เรือรปู
สตั วอ์ ญั เชญิ พระอฐั ลิ อ่ งลา� นา�้ ไปยงั อาราม โดยมเี รอื สา� คญั เปน็ เรอื รปู งใู หญ ่
หรือนาคนน่ั เอง

เ รื อ น า ค ส ่ ง วิ ญ ญ า ณ เ ป ็ น ธ ร ร ม เ นี ย ม ท่ี มี ม า ก ่ อ น ก า ร ส ร ้ า ง
พระเมรุมาศเพื่อการถวายพระเพลิง โดยหลังจากมีธรรมเนียมการออก
พระเมรแุ ลว้ เรือนาคได้เปล่ยี นรูปไปเปน็ “ราชรถ” ซง่ึ ยังคงสัญลักษณ์
นาคดงั เดมิ แมใ้ นวฒั นธรรมดง้ั เดมิ หลายแหลง่ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ้
พบร่องรอยของธรรมเนียมเรือนาค แต่ปัจจุบันคติน้ีเลือนรางไปตาม
ระบบกษตั ริย์ เหลอื เพียงไม่กี่แห่งรวมถึงไทยทย่ี งั คงธรรมเนียมนใี้ นงาน
พระบรมศพพระราชวงศช์ ัน้ สูง

หัวใจของแผน่ ดิน 45

การบรู ณะพระมหาพชิ ยั ราชรถ ทพ่ี พิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาต ิ พระนคร

บูรณปฏสิ ังขรณร์ ำชรถ รำชยำน
ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวงรัชกาล

ท ี่ ๙ มกี ารบรู ณปฏสิ งั ขรณร์ าชรถ ราชยาน ครง้ั ใหญ ่ ไดแ้ ก ่ พระมหา
พิชยั ราชรถ ราชรถนอ้ ย ๓ องค ์ พระยานมาศสามลา� คาน ๒ องค์
พระท่นี ่งั ราเชนทรยาน และเกรนิ บันไดนาค ๒ ชุด

นับเป็นคร้ังแรกในรอบ ๒๐๐ ปี ที่มีการเปล่ียนกระจกเก่า
ต้ังแต่ฐานจนถึงยอดพระมหาพิชัยราชรถ โดยล้างรักท่ีงานซ้อน
ไม้ทั้งหมดเพ่ือแกะคัดลายให้มีความคมชัด ซ่ึงกลุ่มวิทยาศาสตร์
เพื่อการอนุรักษ์ กรมศิลปากร มีบทบาทส�าคัญในการร่วมบูรณะ
วิเคราะหภ์ าพถ่ายจากกล้องจลุ ทรรศน์ เพื่อดโู ครงสร้างความผุพัง
ของไม ้ และความถกู ต้องตามหลกั วิชาการ
46 หัวใจของแผ่นดนิ

เทพนมแกะสลักจากไม้สักทองของ
พระมหาพชิ ยั ราชรถ หลงั จากลา้ งรกั ออกทง้ั หมด
ท�าให้เห็นผิวในและลวดลายแกะสลักของช่าง
ชัน้ ครตู ง้ั แตต่ ้นกรุงรัตนโกสินทร ์

งานบูรณะพระท่ีน่ังราเชนทรยาน หัวใจของแผน่ ดนิ 47
ด�าเนินการโดยส�านักช่างสิบหมู่ มีส่วนงาน
สา� คญั คอื การคดั ลายซอ้ นไมใ้ หม้ คี วามคมชดั
ข้นึ ถอื เปน็ งานท่ีมีความละเอียดออ่ นเพราะ
ไมเ้ กา่ มอี ายกุ วา่ รอ้ ยป ี และมคี วามบางเพยี ง
ไม่ก่ีมิลลิเมตร และน�าการ “ลงรักสมุก”
เพื่อเติมเต็มพ้ืนผิวไม้ให้เรียบก่อนการลงรัก
ปิดทอง โดย “รักสมุก” ท่ีใช้ในงานครั้งน ี้
นายช่างได้พยายามให้มีผิวสัมผัสใกล้เคียง
กับไม้สกั ท่สี ุด จึงเลือกใช้สูตร “สมุกกะลา”
โดยผสมกะลาเผาบดละเอียดเข้ากับรัก คน
เขา้ กนั จนเนอ้ื ละเอยี ด ถอื เปน็ งานชา่ งทตี่ อ้ ง
อาศยั ทัง้ ประสบการณ์และความรู้

สร้ำงพระท่ีนัง่ รำเชนทรยำนน้อย
มีการจดั สรา้ งพระทีน่ ัง่ ราเชนทรยานขน้ึ ใหม่อกี องค์ เรยี ก “พระทน่ี ่ัง

ราเชนทรยานน้อย” เพื่อใช้ในการอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคาร ต้นแบบ
พระที่น่ังราเชนทรยานน้อยมาจากพระที่น่ังราเชนทรยานองค์เดิมที่ถือเป็น
ผลงานช่างชั้นครู มีองค์ประกอบท้ังหมด ๒๐ ส่วน ไม่ต่างจากต้นแบบ
เพียงแต่ปรับให้มีขนาดบุษบกย่อมกว่า และปรับจากกระจังปฏิญาณรวน
เปน็ กระจังปฏิญาณ เพื่อใหม้ ีความแตกตา่ ง
สรำ้ งรำชรถปนื ใหญ่

ในการนมี้ กี ารจดั สรา้ งราชรถปนื ใหญข่ นึ้ มา ๓ องค ์ โดยกรมสรรพาวธุ
ทหารบกถอดแบบมาจากปืนใหญ่ภูเขา ๕๑ ซึ่งประจ�าการในกองทัพบก
มาตงั้ แตส่ มยั รชั กาลท ่ี ๖ โดยคดั เลอื กปนื ใหญท่ สี่ มบรู ณท์ ส่ี ดุ มา ๓ กระบอก
ถอดปนื ใหญ่ออก เหลอื เพยี งโครงสรา้ งหลกั ที่ใช้ทา� ราชรถ เพอ่ื จดั สร้างและ
ประดบั ฐานรองพระบรมโกศ

ราชรถปืนใหญ่ ใช้ในการอัญเชิญพระบรมโกศของพระมหากษัตริย์
และพระโกศพระบรมวงศท์ ท่ี รงรบั ราชการทหารแทนพระยานมาศสามลา� คาน
ธรรมเนยี มนเ้ี กดิ ขน้ึ ในรชั กาลท ่ี ๖ ในการพระราชพธิ พี ระราชทานเพลงิ พระศพ
จอมพล พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๙
เป็นครั้งแรก และครั้งหลังสุดในการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
รัชกาลท ่ี ๘ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๓
พลฉุดชกั รำชรถ

การเคลอื่ นขบวนพระราชอสิ รยิ ยศอัญเชญิ พระบรมศพ จ�าเปน็ ตอ้ งใช้
ก�าลังพล และความพร้อมเพรียง กรมสรรพาวุธทหารบก เป็นผู้จัดหาและ
ฝกึ กา� ลังพลเพื่อท�าหน้าท่นี ้ ี มีท่าทางการฉุดชัก ๗ ทา่ คือ ทา่ ตรง, ท่าพกั ,
ท่าหันอยู่กับที่, ท่าถวายบังคม, ท่าหยิบเชือกและวางเชือก, ท่าเดินปกติ

48 หวั ใจของแผ่นดนิ

และหยดุ , และท่าเดินตาม
จังหวะเพลงพญาโศกลอย
ลมและหยดุ

เชอื กฉุดชกั รำชรถ
ใ น ก า ร ฉุ ด ชั ก พ ร ะ
มหาพิชัยราชรถซ่ึงมีน้�า
หนักมากจะใช้เชือกป่าน
มะนิลา เนื่องจากมีความ ไมม้ ะนาวปา่ ทใ่ี ชใ้ นการถกั เชอื กของกรม
เหนียว แข็งแรง และ อทู่ หารเรือ

มีความยืดหยุ่นน้อยกว่า
เชือกเปอร์ล่อนซึ่งใช้ฉุดชักราชรถองค์อ่ืนๆ โดยกรมอู่ทหารเรือเป็นผู้รับ
ผดิ ชอบในการถกั เชือก มีวธิ กี ารเหมือนถกั เชือกเรือ โดยใช ้ “ไม้มะนาวป่า”
ซึ่งทหารเรือใช้ในการท�าห่วงเชือกอยู่แล้ว เน่ืองจากเน้ือไม้มีความละเอียด
ล่ืน ไร้เสี้ยน เชือกที่ได้มีความเหนียวแน่น จากน้ันจึงน�าไปหุ้มด้วยผ้าแดง
โทเร แลว้ เยบ็ ดว้ ยมอื เกบ็ รายละเอยี ดใหเ้ รยี บเนยี นทส่ี ดุ เรยี กวา่ “สอยพนั ลา� ”
ซึ่งต้องใชค้ วามประณีตลงฝเี ข็มถแี่ ละแน่นกว่าเยบ็ จกั ร

หวั ใจของแผ่นดนิ 49

พิธกี รรมควำมตำยในอุษำคเนย์

หลกั ฐานเกา่ สดุ เก่ียวกับพธิ ีศพในไทย ราว ๑๐,๐๐๐ ปีมาแลว้ คอื
การฝังศพแบบวางราบเหยียดยาว พบที ่ จ. กระบ ่ี และ จ. แมฮ่ ่องสอน
ไม่มีพธิ ีกรรมซับซอ้ น เมอ่ื มคี นตายเอาศพไปฝังเปน็ เสร็จพิธี โดยสถาน
ท่ีท�าศพหรือท้ิงศพ เรียกกันในภายหลังว่า “ป่าเลว” หรือ ป่าเห้ว
บา้ งออกเสยี ง “เปลว” สว่ นภาคกลางเรยี ก “ปา่ ชา้ ” ความหมายเดยี วกบั
“เลว” มักใชค้ วบวา่ “เลวทรามตา�่ ช้า”


เขตแดนศักด์สิ ิทธ ิ์ “หินตั้ง”

คนพ้ืนเมืองอุษาคเนย์ต้ังแต่ก่อนสมัยประวัติศาสตร์นับถือผ ี
มหี ลกั ฐานคอื “วฒั นธรรมหนิ ตง้ั ” เชอ่ื กนั วา่ เปน็ บรเิ วณศกั ดส์ิ ทิ ธใิ์ ชเ้ ปน็ ท ี่
ฝงั ศพบคุ คลสา� คญั และทา� พธิ ศี พครงั้ ท ี่ ๒ ชมุ ชนโบราณทมี่ อี ายปุ ระมาณ
๑,๐๐๐-๓,๐๐๐ ปี หลายแห่ง มรี อ่ งรอยของ “วัฒนธรรมหินต้งั ” เชน่
“สโตนเฮนจ์” มรดกโลกทางตอนใต้ของอังกฤษ และวัฒนธรรมโมอาย

หมเู่ กาะอสี เตอร ์ ประเทศ
ชิลี รวมถึง “ทุ่งไหหิน”
ในลาว กจ็ ดั เปน็ วฒั นธรรม
หิ น ตั้ ง แ ห ่ ง ห น่ึ ง ที่ มี ชื่ อ
เสียงในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ แม้แต่ในไทย
ก็ พ บ วั ฒ น ธ ร ร ม หิ น ตั้ ง
แ ล ะ ร ่ อ ง ร อ ย พิ ธี ก ร ร ม
เกี่ยวข้องกับการบูชายัญ
และผีหลายแห่ง เช่น
เ มื อ ง ฟ ้ า แ ด ด ส ง ย า ง
จ. กาฬสินธุ์, เมืองอู่ทอง
50 หัวใจของแผน่ ดนิ


Click to View FlipBook Version