The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jongrak jongrak, 2019-12-03 05:57:54

ผลงานที่ 1

ผลงานที่ 1

แผนการจัดการเรยี นรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรื่อง เสียงและการกาเนดิ

เสียง

จดั ทาโดย
นายจงรักษ์ อุเสน

โรงเรยี นบ้านนกงาง อาเภอเมือง จงั หวดั ระนอง

สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวน 1 ช่ัวโมง

เร่ืองท่ี 1 การกาเนิดเสยี ง (1) ชัน้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1

ใช้สอนวันท่.ี .....................เดอื น..............................พ.ศ..................................................
……………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้ างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณุ ค่า

ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวนั

ตวั ชีว้ ัด
ศ 2.1 ป.1/1 รู้วา่ สง่ิ ตา่ ง ๆ สามารถก่อกาเนิดเสียงที่แตกตา่ งกนั

ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความช้า-เร็วของจงั หวะ

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีว้ ัด

1. อธิบายเก่ียวกบั แหลง่ กาเนดิ เสียง (K)
2. จาแนกแหลง่ กาเนิดเสียงที่ได้ยนิ (P)
3. ช่ืนชมลกั ษณะของเสียงที่ได้ยิน (A)

สาระสาคัญ
เสียงท่ีอยรู่ อบ ๆ ตวั เรามาจากแหล่งกาเนิดเสียงท่ีแตกตา่ งกนั ดงั นนั้ เม่ือเราได้ยินเสียงเหล่านนั้ จงึ

ทาให้เกิดความรู้สกึ ที่แตกตา่ งกนั ไปตามแหลง่ กาเนิดของเสียง

สาระการเรียนรู้
แหลง่ กาเนิดเสียงประเภทตา่ ง ๆ

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้
ตวั ชีว้ ดั ที่ 4.1 ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
 ความสามารถในการคิด

ชนิ้ งานหรือภาระงาน ( ร่องรอยแสดงความรู้ )
 แผนภาพแสดงแหลง่ กาเนดิ เสียง

คาถามท้าทาย

 เสียงของสิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั เสียงใดบ้างท่ีมีเสียงเหมือนเครื่องดนตรี

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1. ครูให้นกั เรียนในชนั้ เรียนทงั้ หมดเงียบเสียง จากนนั้ ครูถามนกั เรียนว่าได้ยินเสียงอะไรบ้าง

(ตวั อย่างคาตอบ เสียงหายใจ เสียงขยับตัว เสียงลมพดั )

2. ครูทาเสียงตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนี ้ เสียงกบร้อง (อ๊บ อ๊บ) เสียงแก้วแตก (เพล้ง) เสียงเป่ าแคน (แตร แลน
แตร) เสียงเดก็ ผ้หู ญิง จากนนั้ ให้นกั เรียนร่วมกนั ทายวา่ เสียงที่ได้ยินคือเสียงอะไร

3. ครูคดั เลือกผ้แู ทนนกั เรียน 4 คน ออกมาปฏิบตั ิการเลียนเสียงส่ิงท่ีกาหนดให้ ดงั นี ้ เสียงรถไฟ
เสียงแมวร้อง เสียงตีกลอง เสียงผ้ชู ายแก่ แล้วให้นกั เรียนที่เหลือร่วมกนั ทายว่าเสียงที่ได้ยินคือเสียงอะไร
โดยครูกาหนดให้นกั เรียนปฏิบตั ทิ ีละคน

4. ครูให้นกั เรียนเลน่ เกมเสียงใครเอย่ โดยมีวธิ ีการเลน่ ดงั นี ้
- ให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ออกเป็น 4 กลมุ่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั
- ครูแจกบตั รภาพนกั ร้อง ภาพฝนตก ภาพรถยนต์ ภาพคล่ืนซดั สาดริมฝั่ง ภาพไก่ขนั และ

ภาพเดก็ ตกี ลองให้แตล่ ะกลมุ่ กลมุ่ ละ 1 ชดุ
- ครูนาบตั รคาตอ่ ไปนีม้ าตดิ ไว้บนกระดาน

จบ๊ิ จ๊ิบ ซู่ ซู่ บรืน้ บรืน้ ซา่ ซา่ เอก อี เอ้ก เอ้ก ต้มุ ต้มุ

แล้วพานกั เรียนอา่ นทีละใบจนครบ
- ครูอธิบายวิธีการเล่นเกมเสียงใครเอ่ยให้นกั เรียนฟังวา่ “ถ้าครูอ่านบตั รคาใด ให้นกั เรียนแต่

ละกล่มุ ยกบตั รภาพท่ีมีเสียงตรงกบั บตั รคาดงั กลา่ ว กล่มุ ใดยกก่อนและตอบได้ถูกต้องจะได้คะแนน 1
คะแนน ถ้ายกกอ่ นแตต่ อบผิดจะให้กลมุ่ ตอ่ ไปตอบจนกวา่ จะได้กล่มุ ท่ีถกู ต้อง เลน่ จนครบบตั รคาทงั้ 6 ใบ
กลมุ่ ใดได้คะแนนมากที่สดุ เป็นกลมุ่ ชนะ”

จากนัน้ ครูดาเนินการเล่นเกมเสียงใครเอ่ยดังขัน้ ตอนดังกล่าว โดยครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถกู ต้องของคาตอบแตล่ ะข้อ

5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั เสียงตา่ ง ๆ โดยครูใช้คาถาม ดงั นี ้
- ไปเท่ียวสวนสตั ว์ พบสตั ว์ชนิดหนงึ่ ร้องเจ๊ียก เจี๊ยก เสียงดงั กล่าวคือเสียงร้องของสตั ว์ชนิดใด

(ลงิ )
- เม่ือเดนิ เข้าไปในป่าได้ยินเสียง วู้ วู้ เสียงดงั กลา่ วคอื เสียงของอะไร (ลมพัดใบไม้)
- พอ่ แมพ่ าไปเท่ียวได้ยินเสียง ซา่ ซา่ เสียงดงั กลา่ วคือเสียงอะไร (คล่ืนในทะเล)

- พอ่ กาลงั ไปทางานได้ยนิ เสียง บรืน้ บรืน้ เสียงดงั กลา่ วคือเสียงอะไร (เสียงรถยนต์แล่น)
- ไปเที่ยวสวนสตั ว์ได้ยินเสียงสตั ว์ชนดิ หนง่ึ ร้อง แปร๋น แปร๋น สตั ว์ชนดิ นีค้ ืออะไร (ช้าง)
- เดนิ ไปเท่ียวในป่าได้ยนิ เสียง จ๊อก จ๊อก เสียงดงั กลา่ วคอื เสียงอะไร (นา้ ไหลในลาธาร)
- ฝนกาลงั ตกได้ยนิ เสียง ครืน ครืน เสียงดงั กล่าวคอื เสียงของอะไร (ฟ้าร้อง)
6. ครูนาบตั รคาตอ่ ไปนีต้ ดิ ไว้บนกระดานและพานกั เรียนอา่ นจานวน 1 รอบ

เสยี งกระด่ิง เด็กร้ องไห้ เสยี งสงิ โตคาราม
เสยี งระนาด พีต่ ะโกน เสยี งคลน่ื กระทบฝั่ง
เสยี งกลอง
เสยี งโทรศพั ท์

จากนนั้ ครูใช้คาถามเพ่ือให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั บตั รคาดงั กลา่ ว ดงั นี ้
- บตั รคาใดบ้างที่เป็นเสียงท่ีเกิดขนึ ้ เองตามธรรมชาติ (เสียงสิงโตคาราม เสียงคล่ืนกระทบ
ฝ่ัง)
- บตั รคาใดบ้างท่ีเป็นเสียงที่มนษุ ย์สร้างขนึ ้ (เสียงกระด่งิ เสียงโทรศัพท์)
- บตั รคาใดบ้างท่ีเป็นเสียงเครื่องดนตรี (เสียงระนาด เสียงกลอง)
- บตั รคาใดบ้างที่เป็นสีสนั ของเสียงมนษุ ย์ (เดก็ ร้องไห้ พ่ตี ะโกน)
แล้วครูนาข้อมลู ท่ีได้มาสรุปเป็นแผนภาพบนกระดานพร้อมทงั้ อธิบายเพม่ิ เตมิ

เสียงคล่ืนกระทบฝั่ง เสียงสิงโต
คาราม

เดก็ ร้องไห้ เสียงท่เี กดิ จาก เสียงกระดง่ิ
ธรรมชาติ

สีสันของเสียง แหล่งกาเนิด เสียงท่มี นุษย์สร้างขนึ้
มนุษย์ เสียง

พี่ตะโกน เสียงเคร่ืองดนตรี เสียงโทรศพั ท์

เสียงระนาด เสียงกลอง

7. ครูคดั เลือกผ้แู ทนนกั เรียนจานวน 4 คน มาปฏิบตั เิ ลียนแบบเสียงที่ตนเองชอบจากแหล่งกาเนิด
เสียงทงั้ 4 ประเภทให้เพื่อน ๆ ฟัง โดยไมใ่ ห้ซา้ กัน พร้อมกบั แสดงความรู้สึกชื่นชมว่าเพราะเหตใุ ดตนเอง
จงึ ชอบเสียงดงั กลา่ วทีละคนจนครบทกุ คน

8. ให้นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั นี ้

- เสียงท่ีอย่รู อบ ๆ ตวั เรามีแหลง่ กาเนิดเสียงแตกตา่ งกนั และเม่ือได้ยินเสียงจะให้ความรู้สึกที่
แตกตา่ งกนั

ตามแหลง่ กาเนิดเสียง

9. ให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดงั นี ้

- เสียงของสิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั เสียงใดบ้างท่ีมีเสียงเหมือนเครื่องดนตรี

การจัดบรรยากาศเชิงบวก

- ให้นกั เรียนออกมาปฏิบตั กิ ารเลียนเสียงสง่ิ ตา่ ง ๆ
- ให้นกั เรียนเลน่ เกมเสียงใครเอย่
- ให้นกั เรียนร่วมกนั สนทนา เก่ียวกบั เสียงตา่ ง ๆ อยา่ งอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. เกมเสียงใครเอย่
2. บตั รภาพ
3. บตั รคา

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดมี าก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้

คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ ครูพ่เี ลีย้ ง
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ…………………………………
(นางเบญจมาศ วงศ์พฒั นกลุ )
ตาแหนง่ ครู คศ.1

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ หัวหน้าวชิ าการช่วงชัน้
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ…………………………………
(นางสาวพิศลยา มนษุ ย์จนั ทร์)
ตาแหนง่ ครู คศ.1

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ ผู้บริหารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ…………………………………
(นายมนตรี สงั ข์ชมุ )

ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านนกงาง

บันทกึ หลังการสอน
ผลการจดั การเรียนรู้……………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อปุ สรรค………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแกไข………..…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………
(นายจงรักษ์ อเุ สน)
ตาแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวน 1 ช่ัวโมง

เร่ืองท่ี 1 การกาเนิดเสยี ง (2) ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 1

ใช้สอนวันท่.ี .....................เดอื น..............................พ.ศ..................................................
……………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัด

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้

ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้ างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณุ ค่า
ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั

ตวั ชีว้ ัด

ศ 2.1 ป.1/1 รู้วา่ สง่ิ ตา่ ง ๆ สามารถก่อกาเนิดเสียงที่แตกตา่ งกนั
ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความช้า-เร็วของจงั หวะ

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชีว้ ัด
1. อธิบายเกี่ยวกบั แหลง่ กาเนดิ เสียง (K)
2. จาแนกแหลง่ กาเนิดเสียงที่ได้ยิน (P)
3. ช่ืนชมลกั ษณะของเสียงที่ได้ยนิ (A)

สาระสาคัญ
เสียงท่ีอยรู่ อบ ๆ ตวั เรามาจากแหล่งกาเนิดเสียงที่แตกตา่ งกนั ดงั นนั้ เมื่อเราได้ยินเสียงเหล่านนั้ จงึ

ทาให้เกิดความรู้สกึ ที่แตกตา่ งกนั ไปตามแหลง่ กาเนิดของเสียง

สาระการเรียนรู้
. 1. เสียงจากเครื่องดนตรี
2. สีสนั ของเสียงมนษุ ย์

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 4.1 ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
 ความสามารถในการคิด

ชนิ้ งานหรือภาระงาน ( ร่องรอยแสดงความรู้ )
 1. แผนภาพแสดงแหลง่ กาเนิดเสีย1. ภาพวาดเกี่ยวกบั เสียงที่ได้ยินในชีวิตประจาวนั
2. ชิน้ งานท่ี 1 เร่ือง การกาเนิดเสียง

คาถามท้าทาย

 เสียงที่ได้ยนิ ในชีวิตประจาวนั เสียงใดบ้างฟังแล้วทาให้รู้สกึ มีความสขุ

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั เสียงที่นกั เรียนเคยได้ยินในชีวิตประจาวนั โดยครูใช้คาถาม

ดงั นี ้
- นกั เรียนได้ยนิ เสียงท่ีเกิดจากธรรมชาตอิ ะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ เสียงฟ้าผ่า เสียงไก่

ขัน)
- นักเรียนได้ยินเสียงที่มนุษย์สร้ างขึน้ อะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ เสียงรถยนต์ เสียง

นาฬิกา)

- นกั เรียนได้ยนิ เสียงเคร่ืองดนตรีใดบ้าง (ตวั อย่างคาตอบ เสียงซออู้ เสียงระนาด)
- นกั เรียนได้ยนิ เสียงมนษุ ย์ในลกั ษณะใดบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ เสียงคนตะโกน)
จากนัน้ ครูคัดเลือกผู้แทนนักเรียนจานวน 8 คน ออกมาเลียนแบบเสียงโดยจาแนกตาม
แหลง่ กาเนดิ ทงั้ 4 ประเภท ประเภทละ 2 คน โดยให้นกั เรียนปฏิบตั ทิ ีละคน แล้วให้เพ่ือน ๆ ร่วมกนั ทายจน
ครบทกุ คน
2. ครูเลือกเสียงท่ีได้ยินในชีวิตประจาวันมา 1 เสียง แล้ววาดภาพเสียงนัน้ ลงบนกระดานให้
นกั เรียนดพู ร้อมทงั้ อธิบายและแสดงความรู้สกึ ตอ่ เสียงในภาพดงั กลา่ วให้นกั เรียนฟังตามหวั ข้อตอ่ ไปนี ้
- เสียงท่ีได้ยนิ คือเสียงอะไร
- เสียงที่ได้ยินเป็นแหลง่ กาเนิดเสียงประเภทใด
- ความรู้สกึ ท่ีมีตอ่ เสียงดงั กลา่ ว (ชอบ/ไม่ชอบ)
3. ให้นกั เรียนเลือกเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจาวนั มา 1 เสียงแล้ววาดภาพเกี่ยวกบั เสียงดงั กล่าวลง
ในกระดาษ A4 พร้ อมทงั้ ระบายสีให้สวยงาม จากนนั้ ครูคัดเลือกผู้แทนนกั เรียนจานวน 5 คน ออกมา
นาเสนอผลงานของตนเองตามหวั ข้อท่ีครูยกตวั อยา่ งให้นกั เรียนฟังทีละคนจนครบทกุ คน โดยมีครูและเพ่ือน
ๆ ท่ีเหลือชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู ท่ีผ้แู ทนนกั เรียนนาเสนอ

4. ให้นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั นี ้
- เสียงท่ีได้ยินในชีวิตประจาวันมีแหล่งกาเนิดเสียงที่แตกต่างกัน ดงั นัน้ เมื่อเราได้ยินเสียง

เหลา่ นนั้ จงึ ทาให้เกิดความรู้สกึ ที่แตกตา่ งกนั ไปตามแหลง่ กาเนิดของเสียง
5. ให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดงั นี ้
- เสียงที่ได้ยินในชีวติ ประจาวนั เสียงใดบ้างที่ฟังแล้วทาให้รู้สกึ มีความสขุ
6. ให้นกั เรียนทาชิน้ งานที่ 1 เร่ือง การกาเนิดเสียง

การจัดบรรยากาศเชิงบวก

- ให้นกั เรียนร่วมกนั สนทนาอยา่ งอสิ ระ

- ให้นกั เรียนแสดงความรู้สกึ ตอ่ รูปภาพอย่างอสิ ระ

ส่ือการเรียนรู้

- ชิน้ งานที่ 1 เร่ือง การกาเนิดเสียง

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
1.3 ตรวจชิน้ งานที่ 1
2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ
ครูเลือกผลงานการวาดภาพเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจาวนั ของนกั เรียนที่ทาได้สวยงามจานวน 10

ภาพ แล้วให้นกั เรียนร่วมจดั ปา้ ยนิเทศหน้าชนั้ เรียน เพ่ือเป็นแรงจงู ใจให้นกั เรียนพฒั นาผลงานของตนเอง
ให้ดขี นึ ้ ในครัง้ ตอ่ ไป

การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมนิ ชนิ ้ งานที่ 1 ให้ผ้สู อนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

เร่ือง วาดภาพเสียงที่ได้ยินในชีวติ ประจาวนั และจาแนกแหลง่ กาเนิดเสียงได้

เกณฑ์การประเมิน 4 ระดับคะแนน 1
32

วาดภาพเสียงท่ีได้ยนิ ใน วาดภาพเสียง วาดภาพเสียง วาดภาพเสียง วาดภาพเสียง
ชีวิตประจาวนั และจาแนก
แหลง่ กาเนดิ เสียงได้ ที่ได้ยนิ ที่ได้ยนิ ที่ได้ยิน ท่ีได้ยิน

ในชีวติ ประจาวนั ในชีวิตประจาวนั ในชีวิตประจาวนั ในชีวติ ประจาวนั

และจาแนก และจาแนก และจาแนก และจาแนก

แหลง่ กาเนิด แหลง่ กาเนิดเสียง แหลง่ กาเนิด แหลง่ กาเนิด

เสียงได้ ได้นอกเหนือจาก เสียงได้ตามที่ครู เสียงได้ตาม

นอกเหนือจากที่ ท่ีครูยกตวั อย่าง ยกตวั อย่าง แตม่ ี รูปแบบ

ครูยกตวั อยา่ งได้ ได้ แตไ่ มส่ วยงาม การดดั แปลง ท่ีกาหนดให้ได้

สวยงาม ด้วยตนเองและ ให้แตกตา่ งและ แตไ่ มส่ ามารถ

ด้วยตนเองและ เขียนจาแนก เขียนจาแนก เขียนจาแนก

เขียนจาแนก แหลง่ กาเนิดเสียง แหลง่ กาเนดิ แหลง่ กาเนิด

แหลง่ กาเนดิ ได้ถกู ต้อง เสียงได้ถกู ต้อง เสียงได้สมั พนั ธ์

เสียงได้ถกู ต้อง สมั พนั ธ์กบั สมั พนั ธ์กบั กบั รูปภาพ

สมั พนั ธ์กบั รูปภาพ รูปภาพ

รูปภาพ

ข้อเสนอแนะ / ความคิดเหน็ ครูพ่เี ลีย้ ง
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ…………………………………
(นางเบญจมาศ วงศ์พฒั นกลุ )
ตาแหนง่ ครู คศ.1

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ หัวหน้าวิชาการช่วงชัน้
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ…………………………………
(นางสาวพิศลยา มนษุ ย์จนั ทร์)
ตาแหนง่ ครู คศ.1

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ ผู้บริหารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………
(นายมนตรี สงั ข์ชมุ )

ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านนกงาง

บันทกึ หลังการสอน
ผลการจดั การเรียนรู้……………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อปุ สรรค………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแกไข………..…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………
(นายจงรักษ์ อเุ สน)
ตาแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวน 1 ช่ัวโมง

เร่ืองท่ี 1 คุณลักษณะของเสียง (1) ชัน้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1

ใช้สอนวันท่.ี .....................เดอื น..............................พ.ศ..................................................
……………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชีว้ ัด

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้

ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้ างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณุ ค่า
ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั

ตัวชีว้ ัด

ศ 2.1 ป.1/1 รู้วา่ ส่งิ ตา่ ง ๆ สามารถก่อกาเนิดเสียงท่ีแตกตา่ งกนั
ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความช้า-เร็วของจงั หวะ

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชีว้ ัด

1. ระบคุ ณุ ลกั ษณะของเสียงท่ีได้ยิน (K)
2. จาแนกคณุ ลกั ษณะของเสียงท่ีได้ยนิ (P)
3. ช่ืนชมคณุ ลกั ษณะของเสียงท่ีได้ยิน (A)

สาระสาคัญ
เสียงที่ได้ยินในชีวิตประจาวันมีคุณลักษณะท่ีแตกต่างกันไป มีทัง้ เสียงดงั เบา สนั้ ยาว ทุ้ม

แหลม และเสียงของเครื่องดนตรีก็จะมีเสียงแตกตา่ งกนั แตเ่ ม่ือนามาบรรเลงร่วมกนั จะเกิดเป็นท่วงทานอง
ท่ีไพเราะ

สาระการเรียนรู้
. คณุ ลกั ษณะของเสียง

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้
ตวั ชีว้ ดั ที่ 4.1 ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
 ความสามารถในการคดิ

ชนิ้ งานหรือภาระงาน ( ร่องรอยแสดงความรู้ )
 แผนภาพความคดิ แสดงคณุ ลกั ษณะของเสียง

คาถามท้าทาย

 เสียงที่มีลกั ษณะเบาและท้มุ มีประโยชน์ตอ่ การดาเนนิ ชีวิตประจาวนั อยา่ งไร

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั คณุ ลกั ษณะของเสียง โดยครูใช้คาถามเพื่อให้นกั เรียน

ร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น ดงั นี ้
- เสียงดงั ท่ีสดุ ที่นกั เรียนเคยได้ยินคอื เสียงอะไร (ตวั อย่างคาตอบ เสียงประทัด)
- เสียงเบาท่ีสดุ ที่นกั เรียนเคยได้ยนิ คือเสียงอะไร (ตวั อย่างคาตอบ เสียงกระซิบ)
- เสียงอะไรที่นกั เรียนชอบมากท่ีสดุ (ตวั อย่างคาตอบ เสียงหัวเราะ เสียงเพลง)

- เสียงอะไรท่ีนกั เรียนไมช่ อบมากท่ีสดุ (ตัวอย่างคาตอบ เสียงสุนัขเห่า เสียงร้องไห้)
จากนนั้ ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าเสียงท่ีเราได้ยินในชีวิตประจาวนั มีคณุ สมบตั ิท่ีแตกตา่ งกนั เมื่อเรา
ได้ยนิ เสียงเหลา่ นนั้ จงึ ทาให้เราเกิดความรู้สกึ ท่ีแตกตา่ งกนั ไป
2. ให้นกั เรียนเลน่ เกมเสียงหรรษา โดยมีวธิ ีการเลน่ ดงั นี ้
- ให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ออกเป็น 5 กลมุ่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั
- ครูแจกบตั รคาตอ่ ไปนีใ้ ห้ทกุ กลมุ่ โดยแจกกลมุ่ ละ 1 ชดุ

เสยี งดงั เสยี งเบา เสยี งสนั้ เสยี งยาว เสยี งท้มุ เสยี งแหลม

- ครูคดั เลือกผ้แู ทนนกั เรียนจานวน 3 คน ออกมาหน้าชนั้ เรียนพร้อมทงั้ นาอปุ กรณ์ตอ่ ไปนีม้ า
วางไว้บนโต๊ะ

๐ นาฬิกาปลกุ
๐ นา้ เปลา่ 1 แก้วพร้อมกรวย
๐ กลอง
๐ นกหวีด
- ครูอธิบายวิธีการเล่นเกมให้นักเรียนฟังว่า “เมื่อนักเรียนได้ยินเสียงให้เลือกบัตรคาที่มี
คณุ ลกั ษณะตรงกบั เสียงดงั กล่าวแล้วชบู ตั รคาดงั กล่าวขนึ ้ ถ้ากล่มุ ใดยกก่อนและตอบได้ ถกู ต้องจะได้ข้อละ
2 คะแนน ถ้ายกก่อน แตต่ อบไมถ่ ูกจะให้กล่มุ ท่ีเหลือเล่นตอ่ จนได้คาตอบที่ถกู ต้อง แต่ละคะแนนเต็มจะ
ลดเหลือเพียง1 คะแนน กลมุ่ ใดได้คะแนนมากท่ีสดุ กลมุ่ นนั้ ชนะ”

จากนนั้ ครูดาเนินการเล่นเกมตามขนั้ ตอนดังกล่าว โดยให้ผู้แทนนักเรียน 2 คน ทาการแสดง
บทบาทสมมตุ กิ ระซิบกนั และผ้แู ทนนกั เรียนอีก 1 คน แสดงบทบาทสมมตุ ติ ะโกนเสียงดงั ตงั้ เสียงนาฬิกา
ปลกุ ทานา้ หยดจากกรวย ตีกลองและเป่านกหวีดทีละกิจกรรมจนครบทงั้ หมด โดยครูและนกั เรียนร่วมกนั
ตรวจสอบความถกู ต้องของคาตอบทกุ ข้อ และครูกล่าวคาชมเชยกลมุ่ ที่ชนะเพ่ือเป็นกาลงั ใจให้นกั เรียนทา
กิจกรรมให้ดขี นึ ้ ในโอกาสตอ่ ไป

3. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเสียง และคุณลักษณะของเสียงที่นักเรียนได้ยินใน
ชีวติ ประจาวนั โดยครูใช้คาถามเพ่ือให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ ดงั นี ้

- นกั เรียนเคยได้ยินเสียงอะไรบ้างท่ีมีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นเสียงเบา (ตัวอย่างคาตอบ

เสียงกระซิบ เสียงแมวเดนิ )
- นกั เรียนเคยได้ยนิ เสียงอะไรบ้างท่ีมีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นเสียงดงั (ตวั อย่างคาตอบ

เสียงตะโกน เสียงจุดประทดั )
- นกั เรียนเคยได้ยนิ เสียงอะไรบ้างที่มีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นเสียงสนั้ (ตัวอย่างคาตอบ

เสียงเคาะประตู เสียงเคาะโต๊ะ)
- นกั เรียนเคยได้ยินเสียงอะไรบ้างท่ีมีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นเสียงยาว (ตวั อย่างคาตอบ

เสียงโทรศัพท์)
- นกั เรียนเคยได้ยนิ เสียงอะไรบ้างที่มีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นเสียงท้มุ (ตัวอย่างคาตอบ

เสียงตกี ลอง เสียงลูกบอลกระทบพืน้ )
- นกั เรียนเคยได้ยินเสียงอะไรบ้างที่มีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นเสียงแหลม (ตัวอย่างคาตอบ

เสียงกรี๊ด เสียงตีฉ่ิง)

จากนนั้ ครูนาคาตอบท่ีได้มาสรุปเป็นแผนภาพความคิดบนกระดานดงั ตวั อย่างต่อไปนี ้ พร้อม
ทงั้ อธิบายเกี่ยวกบั คณุ ลกั ษณะของเสียงเพิ่มเตมิ

เสียงตะโกน เสยี งประทดั

เสยี งตีฉิง่ เสยี งกระซิบ

เสยี งแหลม เสียง เสียงเบา
ดงั
เสยี งกรี๊ด เสยี งแมวเดนิ
คุณลักษณะของ
เสยี งตกี ลอง เสียง เสยี งเคาะประตู

เสยี งทุ้ม เสยี งยาว เสยี งสนั้

เสยี งลกู บอล เสยี งโทรศพั ท์ เสยี งเคาะโต๊ะ
กระทบพนื ้

4. ให้นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั นี ้

- เสียงท่ีได้ยินในชีวิตประจาวนั มีคณุ ลกั ษณะท่ีแตกตา่ งกันไป มีทงั้ เสียงดงั เบา สนั้ ยาว
ท้มุ และแหลม เสียงของเครื่องดนตรีแตล่ ะชนิดมีความแตกตา่ งกนั แตเ่ ม่ือนามาบรรเลงร่วมกนั แล้ว จะทา
ให้เกิดเสียงท่ีมีทว่ งทานองท่ีไพเราะ

5. ให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดงั นี ้
- เสียงท่ีมีลกั ษณะเบาและท้มุ มีประโยชน์ตอ่ การดาเนินชีวิตประจาวนั อยา่ งไร

การจัดบรรยากาศเชิงบวก

- ให้นกั เรียนร่วมกนั สนทนาอยา่ งอสิ ระ
- ให้นกั เรียนเลน่ เกมเสียงหรรษา
ส่ือการเรียนรู้

1. เกมเสียงหรรษา
2. บตั รคา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วธิ ีการวัดและประเมินผล

1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม

ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดมี าก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง



ข้อเสนอแนะ / ความคิดเหน็ ครูพ่เี ลีย้ ง
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ…………………………………
(นางเบญจมาศ วงศ์พฒั นกลุ )
ตาแหนง่ ครู คศ.1

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ หัวหน้าวิชาการช่วงชัน้
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ…………………………………
(นางสาวพิศลยา มนษุ ย์จนั ทร์)
ตาแหนง่ ครู คศ.1

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ ผู้บริหารสถานศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ…………………………………
(นายมนตรี สงั ข์ชมุ )

ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านนกงาง

บันทกึ หลังการสอน
ผลการจดั การเรียนรู้……………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อปุ สรรค………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแกไข………..…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………
(นายจงรักษ์ อเุ สน)
ตาแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวน 1 ช่ัวโมง

เร่ืองท่ี 1 คุณลักษณะของเสียง (2) ชัน้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1

ใช้สอนวันท่.ี .....................เดือน..............................พ.ศ..................................................
……………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชีว้ ัด

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้

ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้ างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวนั

ตัวชีว้ ัด

ศ 2.1 ป.1/1 รู้วา่ สงิ่ ตา่ ง ๆ สามารถก่อกาเนิดเสียงท่ีแตกตา่ งกนั
ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความช้า-เร็วของจงั หวะ

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีว้ ัด

1. อธิบายเกี่ยวกบั เสียงและแหลง่ กาเนิดเสียง (K)
2. จาแนกคณุ ลกั ษณะของเสียง (P)
3. ชื่นชมคณุ ลกั ษณะของเสียงที่ได้ยินในชีวติ ประจาวนั (A)

สาระสาคัญ
เสียงท่ีได้ยินในชีวิตประจาวนั มีคุณลักษณะที่แตกต่างกันไป มีทัง้ เสียงดงั เบา สนั้ ยาว ทุ้ม

แหลม และเสียงของเครื่องดนตรีก็จะมีเสียงแตกตา่ งกนั แตเ่ ม่ือนามาบรรเลงร่วมกนั จะเกิดเป็นท่วงทานอง
ที่ไพเราะ

สาระการเรียนรู้
. คณุ ลกั ษณะของเสียงตา่ ง ๆ ที่ได้ยนิ ในชีวิตประจาวนั

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 4.1 ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
 ความสามารถในการคดิ

ชิน้ งานหรือภาระงาน ( ร่องรอยแสดงความรู้ )
 ภาพวาดแหลง่ กาเนิดเสียงที่มีคณุ ลกั ษณะของเสียงท่ีนกั เรียนช่ืนชอบ

คาถามท้าทาย

 เสียงลกั ษณะใดท่ีทาให้รู้สกึ นา่ กลวั

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1. ครูคดั เลือกผ้แู ทนนกั เรียนจานวน 2 คน ออกมาหน้าชนั้ เรียน แล้วให้ผ้แู ทนนกั เรียนคนแรกตีฉิ่ง

และผ้แู ทนนกั เรียนคนท่ีสองตีกลอง จากนนั้ ครูใช้คาถามเพื่อให้นกั เรียนท่ีเหลือร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น
เกี่ยวกบั การกระทาดงั กลา่ ว ดงั นี ้

- ผ้แู ทนนกั เรียนคนท่ีหนง่ึ ทาอะไร (ตวั อย่างคาตอบ ตีฉ่ิง)
- เสียงตฉี ิ่งมีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เสียงแหลม)
- ผ้แู ทนนกั เรียนคนท่ีสองทาอะไร (ตัวอย่างคาตอบ ตกี ลอง)

- เสียงตกี ลองมีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เสียงท้มุ )

- นกั เรียนชอบเสียงใดมากกวา่ กนั (ตีฉ่ิง/ตีกลอง)

2. แบง่ นกั เรียนออกเป็น 5 กล่มุ กล่มุ ละเท่า ๆ กนั แล้วให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ เล่น “เกมทายซิเอ่ยว่า
เสียงใด” โดยมีวิธีการเลน่ เกม ดงั นี ้

- ให้นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ เลือกแหลง่ กาเนิดเสียงท่ีมีคณุ ลกั ษณะของเสียงดงั เบา สนั้ ยาว ท้มุ
และแหลมมาอยา่ งละ 1 ชนิด เชน่ เสียงดงั - เสียงตะโกน เสียงเบา - เสียงกระซิบ เสียงสนั้ - เสียงเคาะ
ประตู เสียงยาว - เสียงโทรศพั ท์ เสียงท้มุ - เสียงตกี ลอง และเสียงแหลม - เสียงตฉี ิ่ง

- เม่ือแต่ละกล่มุ เลือกเสียงที่มีคณุ ลกั ษณะของเสียงท่ีแตกตา่ งกนั ได้ทุกเสียงแล้วให้ทุกคนใน
กลมุ่ ฝึกทาเสียงเหลา่ นนั้ จนชานาญ เพ่ือเลียนเสียงดงั กลา่ วให้เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ ทาย

- ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทดลองทาเสียงท่ีฝึกให้เพ่ือนกล่มุ อ่ืน ๆ ทาย โดยมีหลกั ในการตอบ คือ
ต้องตอบวา่ มีแหลง่ กาเนิดเสียงคือเสียงอะไร และมีคณุ ลกั ษณะของเสียงอยา่ งไร เชน่ เป็นสีสนั ของเสียง
มนษุ ย์ คือ เสียงตะโกน มีคณุ ลกั ษณะของเสียง คือ เสียงดงั กลมุ่ ใดตอบถกู จะได้ 1 คะแนน กลมุ่ ใดได้
คะแนนมากท่ีสดุ เป็นฝ่ายชนะ โดยมีครูตรวจสอบความถกู ต้อง

3. ครูใช้คาถามเพื่อให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั เสียงที่นกั เรียนใช้ในการเล่นเกม
ทายซเิ อย่ วา่ เสียงใด และเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจาวนั โดยครูใช้คาถาม ดงั นี ้

- เสียงท่ีนกั เรียนทาเลียนแบบเพื่อเลน่ เกมแตล่ ะเสียงมีแหลง่ กาเนิดเสียงเป็นอยา่ งไร (ตัวอย่าง
คาตอบ มีแหล่งกาเนิดเสียงท่แี ตกต่างกัน)

- เสียงที่นกั เรียนได้ยินในชีวิตประจาวนั มีแหล่งกาเนิดเสียงเป็นอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ มี
แหล่งกาเนิดเสียงท่แี ตกต่างกัน)

- เสียงที่มีแหล่งกาเนิดเสียงแตกตา่ งกัน จะส่งผลตอ่ คณุ ลกั ษณะของเสียงอยา่ งไร (ตัวอย่าง
คาตอบ จะทาให้มีลักษณะของเสียงท่แี ตกต่างกัน)

4. ให้นักเรียนเลือกเสียงท่ีได้ยินในชีวิตประจาวัน เช่น เสียงทุ้ม – ตีกลอง แล้ววาดภาพ
แหลง่ กาเนิดเสียงดงั กลา่ วลงในกระดาษ A4 พร้อมทงั้ ระบายสีให้สวยงามและบอกวา่ แหลง่ กาเนิดเสียงคือ
อะไร มีคณุ ลกั ษณะของเสียงเป็นอย่างไร เพราะเหตใุ ดจึงรู้สึกช่ืนชมเสียงดงั กลา่ ว จากนนั้ ครูคดั เลือก
ผ้แู ทนนกั เรียนท่ีมีผลงานดอี อกมานาเสนอผลงานของตนเองตามหวั ข้อท่ีกาหนดให้จานวน 5 คน

5. ให้นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั นี ้

- เสียงท่ีเราได้ยินในชีวิตประจาวนั จะมีแหล่งกาเนิดเสียงที่แตกตา่ งกนั ทาให้คณุ ลกั ษณะของ
เสียงดงั กล่าวมีความแตกต่างกันไปตามแหล่งกาเนิดเสียง บ้างก็สนั้ ยาว เบา ทุ้มหรือแหลม เสียงของ
เครื่องดนตรีไทยก็มีความแตกตา่ งกนั ขนึ ้ อย่กู ับชนิดของเคร่ืองดนตรี แตเ่ ม่ือนามาบรรเลงร่วมกนั จะทาให้เกิด
ทว่ งทานองท่ีไพเราะ

6. ให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดงั นี ้

- เสียงลกั ษณะใดท่ีทาให้รู้สกึ นา่ กลวั

การจัดบรรยากาศเชิงบวก
- ให้นกั เรียนเลียนเสียงตา่ ง ๆ ตามจินตนาการ

ส่ือการเรียนรู้
1. ฉิ่ง
2. กลอง
3. เกมทายซเิ อย่ ว่าเสียงใด

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน

3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ
ครูคดั เลือกผลงานการวาดภาพแหลง่ กาเนิดเสียงของเสียงที่มีคณุ ลกั ษณะที่นกั เรียนช่ืนชมและทา

ได้ดีจานวน 10 ภาพ มาจดั ปา้ ยนิเทศหน้าชนั้ เรียนเพ่ือเป็นกาลงั ใจให้กบั นกั เรียนท่ีมีผลงานดีเดน่ และเป็น
แรงกระต้นุ ให้นกั เรียนคนอ่ืน ๆ พฒั นาผลงานของตนในโอกาสตอ่ ไป

การประเมินผลตามสภาพจริง

การประเมนิ กิจกรรมนีใ้ ห้ผ้สู อนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

เรื่อง บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความช้า-เร็วของจงั หวะ

ตัวชีว้ ัด ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความช้า-เร็ว ของจงั หวะ

เกณฑ์การประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1
32

บอกลักษณะของเสียงดัง- บอกลกั ษณะ บอกลกั ษณะ บอกลกั ษณะ บอกลกั ษณะของ

เบา และความช้ า-เร็วของ ของเสียงดงั -เบา ของเสียงดงั -เบา ของเสียงดงั -เบา เสียงดงั -เบา และ

จงั หวะ และความช้า- และความช้า- และความช้า- ความช้า-เร็วของ

เร็วของจงั หวะ เร็วของจงั หวะ เร็วของจงั หวะ จงั หวะได้ แตไ่ ม่

ได้สมั พนั ธ์กนั มี ได้ มีการจาแนก ได้สอดคล้องกบั สอดคล้องกบั

การเช่ือมโยงให้ ข้อมลู หรือ ข้อมลู มีการ ข้อมลู เขียนตาม

เห็นเป็น อธิบายให้เห็น เขียนขยาย ข้อมลู ที่อ่าน

ภาพรวม แสดง ถึงความสมั พนั ธ์ ความ และมีการ ไมม่ ีการอธิบาย

ให้เหน็ ถงึ กบั ตนเองอยา่ ง ยกตวั อยา่ ง เพม่ิ เตมิ

ความสมั พนั ธ์ เป็นเหตเุ ป็นผล เพ่ิมเตมิ ให้

กบั ตนเองและ เข้าใจง่าย

ผ้อู ื่น

ข้อเสนอแนะ / ความคิดเหน็ ครูพ่เี ลีย้ ง
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ…………………………………
(นางเบญจมาศ วงศ์พฒั นกลุ )
ตาแหนง่ ครู คศ.1

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ หัวหน้าวิชาการช่วงชัน้
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ…………………………………
(นางสาวพิศลยา มนษุ ย์จนั ทร์)
ตาแหนง่ ครู คศ.1

ข้อเสนอแนะ / ความคดิ เหน็ ผู้บริหารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………
(นายมนตรี สงั ข์ชมุ )

ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านนกงาง

บันทกึ หลังการสอน
ผลการจดั การเรียนรู้……………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อปุ สรรค………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแกไข………..…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………
(นายจงรักษ์ อเุ สน)
ตาแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย


Click to View FlipBook Version