The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2565 สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2565 สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี

รายงานประจำปี 2565 สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี

รายงานประจาปี ๒๕๖๕

Annual Report 2022

สานกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั ปราจนี บรุ ี

Prachin Buri Provincial Office of Buddhism

สารบัญ 1

สารจากผู้อานวยการสานักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวดั ปราจนี บุรี หน้า
บทสรุปผู้บริหาร
ขอ้ มูลทั่วไป ของจงั หวดั ปราจีนบรุ ี 2
ขอ้ มูลทางพระพทุ ธศาสนาของจงั หวดั ปราจีนบรุ ี 3
ทาเนียบคณะสงฆ์ 4
โครงสรา้ งบคุ ลากร สานักงานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั ปราจีนบรุ ี 9
บทบาทหน้าทีข่ องสานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวดั ปราจนี บุรี 13
วิสัยทศั น์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ 15
สรุปผลการเบกิ จ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี 2565 16
สรุปผลการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 17
ภาคผนวก 19
23
44

.

2

สารจาก

ผู้อานวยการสานกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั ปราจีนบุรี

สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี เป็นหน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ในสงั กัดสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติที่มีภารกิจหลักในการดาเนินงานสนองงานคณะสงฆ์และรัฐ
โดยการศกึ ษาวิเคราะหแ์ ละรายงานข้อมลู สารสนเทศด้านพระพทุ ธศาสนาเพือ่ กาหนดนโยบายในระดับจังหวัด
ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบาย แผนงาน และโครงการของหน่วยงานในความดูแล
ของสานกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัด.และสง่ เสริม.ดแู ล.รักษา.และทานุบารุงศาสนสถานและศาสนวัตถุ
ทางพระพทุ ธศาสนา.รวมท้ังดูแล.รักษา.และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลางในจังหวัด ส่งเสริมและ
สนบั สนุนใหว้ ัดเป็นศนู ย์กลางการเรียนรู้และแหล่งภมู ปิ ัญญาของชุมชน ส่งเสริม สนบั สนุนงานด้านการเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนา.ด้านพุทธศาสนศึกษา.รับสนองงาน.ประสานงาน.และสนับสนุนกิจการและการบริหาร
การปกครองคณะสงฆ์ส่งเสริมและประสานการดาเนินงานในการปฏิบัติศาสนพิธีและกิจกรรมในวันสาคัญ
ทางพระพุทธศาสนาตลอดจนปฏิบัติงานตามกฎหมายในความรับผิดชอบของสานักงาน ซึ่งกาหนดให้
เปน็ อานาจหน้าทีข่ องผวู้ ่าราชการจงั หวดั

การดาเนินงานในปีงบประมาณ.พ.ศ..2565.สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี
ได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาการปฏิบัติงานคานึงถึงความคุ้มค่าสอดคล้องกับแนวคิดการบริหารงาน
แ บ บ มุ่ ง เ น้ น ผ ล ง า น โ ด ย พิ จ า ร ณ า ถึ ง ก า ร บู ร ณ า ก า ร ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั บ อ ง ค์ ก ร เ ค รื อ ข่ า ย ท า ง
พระพุทธศาสนาในจังหวัดเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพันธกิจให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายของ
สานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ

นอกจากการปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายดังกล่าวแล้ว สานั กงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี ได้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบการทางานของเจ้าหน้าที่ในทุกระดับ
เพื่ อใ ห้ เกิ ด ป ร ะ สิท ธิ ภา พ แล ะ ป ร ะ สิท ธิ ผล ยิ่ งขึ้ น .แ ล ะบ ร รลุ เ ป้า ห มา ย ตา ม วิสั ย ทัศ น์ ขอ ง สา นั ก ง า น
พระพุทธศาสนาแห่งชาติที่ว่า.“องค์กรขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนาสู่ความม่ันคง.สังคมดํารง
ศีลธรรม.นาํ สันติสุขอยา่ งยั่งยืน”

(นางวารินทร์ สิกขชาติ)
ผอู้ านวยการสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั ปราจนี บรุ ี

.

3

บทสรปุ ผูบ้ รหิ าร

รายงานประจาปีของสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี (Annual,Report)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จัดทาขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ของ
แผนปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และผลสาเร็จตามคารับรองของการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมท้ังรายงานด้านการเงนิ และข้อมูลขา่ วสารทางราชการของสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี ให้ทุกภาคส่วนได้รับทราบ เพื่อสร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่
ตามภารกิจการดาเนินงานเกีย่ วกับการสนองงานคณะสงฆ์และรัฐ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี ดาเนินงาน
สนองงานคณะสงฆ์และรัฐ โดยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายที่สาคัญเร่งด่วนอย่างต่อเน่ือง
โดยบรู ณาการภารกิจงานคณะสงฆ์ท้ัง 6 ด้าน คือ

1. ดา้ นการปกครอง
2. ดา้ นการศาสนศกึ ษา
3. ด้านการเผยแผ่
4. ด้านการสาธารณูปการ
5. ด้านการศึกษาสงเคราะห์
6. ด้านการสาธารณสงเคราะห์
สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี ได้เตรียมพัฒนาแนวทางการทางาน
เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ตามนโยบายของสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และ
ดาเนนิ การปรับปรงุ กระบวนการปฏิบัติงานด้านการสง่ เสริมอปุ ถัมภ์คมุ้ ครองพระพุทธศาสนา การศึกษา
และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การส่งเสริมให้ศาสนาเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคน สังคม และ
ประเทศชาติให้มีความม่ันคงอย่างยั่งยืน และการพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพย์สินของวัดให้มี
มาตรฐาน พร้อมทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานราชการและประชาชนในการพัฒนาวัดและชุมชน
มุ่งสู่การเปน็ องค์การหลักในการขับเคลื่อนพระพุทธศาสนาให้มีความม่ันคง ย่ังยืน และสังคมมีความสุข
สืบไป

.

4

ปราจีนบุรีก่อนอยุธยา. ........................ ......................................................

ปราจีนบุรี หรือ เมืองปราจีนบุรี ในสมัยก่อนอยุธยา เริ่มตั้งแต่การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มคน

ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย แล้วพัฒนามาเป็นกลุ่มบ้านเมืองในสมัยประวัติศาสตร์ จนเข้าสู่สมัย

สุโขทัย ซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานทางเอกสาร แต่ได้พบเคร่ืองถ้วยจีนที่มีอายุตรงกับสมัยราชวงศ์ซ้อง

จงึ เชือ่ วา่ ในสมัยสุโขทัยบริเวณพืน้ ที่ในเขตจังหวัดปราจนี บรุ ี ยงั คงมผี คู้ นบางสว่ นอาศยั อยู่สบื เนือ่ งกันมา

ชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย………………… ………………………………………………

ในเขตจังหวัดปราจีนบุรีปรากฏการตั้งถิ่นฐานของชุมชนสมัยโบราณเม่ือประมาณ

2,000–2,500vปีอมาแล้วทซึ่งตรงกับสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยก่อนประวัติศาสตร์

(Proto-history) ที่แหล่งโบราณคดีบ้านกระทุ่มแพ้ว ตาบลกระทุ่มแพ้ว อาเภอบ้านสร้าง บ้านหนองอ้อ ตาบล

ดงพระราม อาเภอเมือง และบ้านดงชัยมนั ตาบลประจันตคาม อาเภอประจนั ตคาม

โบราณคดีที่พบ ได้แก่ ลูกปัดแก้วแบบอินโด–แปซิฟิก สีต่างๆ ลูกปัดหินคาร์เนเลียน

หนิ อะเกตและหนิ ควอตซ์ เครือ่ งมือเหลก็ ซึง่ แสดงให้เห็นถึงการติดต่อสัมพันธ์กับชุมชนโบราณใกล้เคียง

และอินเดีย โดยเฉพาะที่บ้านดงชัยมันได้พบชิ้นส่วนกลองมโหระทึกซึ่งเป็นโบราณวัตถุในวัฒนธรรม

ดงซอน เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมซึ่งพบทางตอนใต้ของจีน และในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมท้ัง

ประเทศไทย

บริเวณที่ตั้งเมืองโบราณศรีมโหสถ ตาบลโคกปีบ อาเภอศรีมโหสถ สันนิษฐานว่าน่าจะ

เป็นชุมชนมาก่อนพุทธศตวรรษที่ 11 ในชุมชนบริเวณดังกล่าวรวมตัวกันเป็นกลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มหมู่บ้าน

เกษตรกรรม มีการติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนกับวัฒนธรรมภายนอกแต่ยังไม่มีการสร้างเมืองที่มีคันดิน

คูน้าล้อมรอบชุมชน ในระยะนี้อาจมีความสัมพันธ์กับอาณาจักรฟูนัน และ มีการแลกเปลี่ยนค้าขายกับ

นักเดินเรือจากต่างประเทศ หลักฐานที่พบแสดงอิทธิพลวัฒนธรรมฟูมันและอิทธิพลวัฒนธรรมอินเดีย

แบบอมราวดี หลักฐานสาคัญที่พบ ได้แก่ ภาพสลักนูนต่าและประติมากรรมบางชิ้นที่พบในบริเวณนี้คือ

ภาพมกรหรือเหราบางตัวที่ขอบโบราณสถานสระแก้วมีลักษณะคล้ายมกรในศิลปะอินเดียแบบคุปตะ

ส่วนประติมากรรมบางชิ้น ได้แก่ พระพุทธรูปที่พบในบ่อน้าหน้าอาคารรอยพระบาทคู่ และจากการ

ค้นพบเคร่ืองมือหินขัด ทาให้พออนุมานได้ว่าชุมชนดังกล่าวน่าจะมีความสัมพันธ์กับชุมชนก่อน

ประวัติศาสตร์ที่พบตามแนวชายฝ่ังทะเลเดิม บริเวณลุ่มน้าบางปะกงแถบจังหวัดชลบุรี ซึ่งเริ่มมีถิ่นฐาน

เมือ่ ประมาณ 5,000–1,400 ปี มาแล้ว

.

5

สรุปได้ว่าการต้ังถิ่นฐานของมนุษย์เริ่มแรกในเขตจังหวัดปราจีนบุรี เป็นสังคมสมัยก่อน

ประวัติศาสตร์ตอนปลาย ที่มีเทคโนโลยีค่อนข้างสูงในการดารงชีวิตคือการรู้จักใช้เคร่ืองมือเหล็กและ

การรู้จักใช้วิธีกักเก็บน้า ต่อมาสภาพสังคมและเศรษฐกิจมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นจนเข้า สู่

พุทธศตวรรษที่ 6-10nได้รับวัฒนธรรมภายนอกและเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ พัฒนาเป็นชุมชนหรือเมือง

ที่รจู้ ักกันในชอ่ื ว่า กลุ่มวัฒนธรรมทวารวดี มีอายุในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ 12-19

การเกิดบ้านเมืองในสมัยประวัติศาสตร์ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 12-19nแบ่งจังหวัด

ปราจีนบุรีออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกมีความเจริญรุ่งเรืองและพัฒนาการเป็นบ้านเมืองร่วมสมัยกับ

กลุ่มบ้านเมืองทวารวดีในบริเวณภาคกลางของประเทศมีอายุระหว่างพุทธศตวรรษที่ 12-16 และช่วงที่

2 เป็นการอยู่สืบเน่ืองต่อจากช่วงแรกแต่สภาพสังคม การเมือง การปกครองได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

เชื่อว่าช่วงเวลาดังกล่าวนี้ได้รับวัฒนธรรมเขมรโบราณเข้ามา มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมทวารวดี

ที่เคยรุ่งเรอื งมาก่อน

ปราจีนบุรีสมัยอยุธยา–ธนบุรี………………………………………………………………………

สมัยอยุธยา....... ...................................................................................

ในสมัยอยุธยาปรากฏชื่อเมืองปราจีนบุรีเป็นครั้งแรก ซึ่งคาว่า “ปราจีนบุรี” เป็นคาสมาสเกิด

จากคาว่า “ปราจีน” กับคาว่า “บุรี” คาว่า “ปราจีน” หรือ “ปาจีน” หมายความว่าทิศตะวันออก

ส่วนคาว่า “บุรี” หมายความว่า “เมอื ง” รวมแล้วคาว่า “ปราจนี บรุ ี” หมายถึงเมอื งตะวันออก การเขียนชื่อเมือง

ปราจีนบุรีแตกต่างกันไป เช่น ปราจินบุรี ปราจิณบุรี และปาจีนบุรี แต่ความหมายน่าจะหมายถึงเมืองทาง

ตะวันออกของราชอาณาจักรไทย ปราจีนบุรีในฐานะหัวเมืองช้ันใน ต้นทิศตะวันออกสันนิษฐาน พบว่า

ในสมยั อยุธยาตอนต้นก่อนการปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) เมือง

ปราจีนมีฐานะเป็นเมืองเล็ก ๆ ที่อยู่ใกล้ราชธานีคือกรุงศรีอยุธยา โดยทางกรุงศรีอยุธยาจะส่งขุนนางมา

ปกครองโดยใหข้ ึน้ ตรงต่อเมืองหลวง และหลงั จากการปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรม- ไตร

โลกนาถแล้ว การปกครองหัวเมืองก็เปลี่ยนไปจากเดิม คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงพระกรุณา

โปรดเกล้าฯ ให้แบ่งเป็นหัวเมืองชั้นใน หัวเมืองช้ันนอก และหัวเมืองประเทศราชและแบ่งหัวเมืองออกเป็น

ชั้น เอก โท ตรี และจัตวา ทรงลดฐานะหัวเมืองชั้นในคือเมืองลูกหลวงและเมืองหลานหลวงลงมาเป็น

เมืองจัตวาภายใต้การปกครองของราชธานี โดยทางราชธานีจะส่งขุนนางมาปกครองและขึ้นตรงต่อเมือง

หลวง และขุนนางที่ปกครองหัวเมืองชั้นในเรียกว่า “ผู้รั้ง” เขตที่จัดเป็นหัวเมืองช้ันในมีอาณาบริเวณดังนี้

ทิศเหนอื จดเมืองชยั นาท ทิศตะวนั ออกจดเมอื งปราจีน ทิศตะวันตกจดสพุ รรณบรุ ี ทิศใต้จดเมืองกยุ บุรี

เมืองปราจนี บุรีหลังการปฏิรูปในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ จึงเป็นหัวเมืองจัตวา

ขึ้นกับราชธานี ตาแหน่งเจ้าเมืองหรือผู้รั้งมีบรรดาศักดิ์และราชทินนามที่ ออกพระอุไทยธานี เมืองผ่าน

ของเส้นทางเดินทัพไทย – กัมพูชา จากลักษณะทาเลที่ตั้งของเมืองปราจีนเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ใกล้กับ

ประเทศกัมพูชา เร่ืองราวที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดปราจีนบุรีในสมัยอยุธยาจึงเป็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ

สงครามระหว่างสองราชอาณาจักร โดยฝ่ายกัมพูชามักจะเป็นต้นเหตุซึ่งอาจเน่ืองมาจากกัมพูชาเห็นว่า

กรุงศรีอยุธยาเป็นราชอาณาจักใหม่จึงไม่ยอมรับอานาจมากนัก ต่อมาเม่ือกรุงศรีอยุธยามีความเป็น

.

6

ปึกแผ่นม่ันคงและขณะเดียวกันราชอาณาจักรกัมพูชากลับเสื่อมโทรมภายในมากขึ้น กัมพูชาจึงยอมรับ
ราชอาณาจักรอยุธยาในฐานเจ้าประเทศราช กษัตริย์ กัมพูชาต้องมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารหลายคร้ัง
แต่อย่างไรก็ดี เม่ือกรุงศรีอยุธยามีศึกติดพันกับพม่าหรือมีความอ่อนแอภายใน กัมพูชาก็ถือโอกาสมา
กวาดต้อนผู้คนตามแนวชายแดนของราชอาณาจักรอยุธยาอย่างเมืองปราจีน สมเด็จพระนเรศวร
มหาราชจึงทรงยกทัพไปตีกัมพูชาโดยใช้เส้นทางบก โดยยกทัพหลวงออกจากกรุงศรีอยุธยามาทาง
ตะวนั ออก ผ่านพิหานแดง (วิหารแดง) บ้านนา เมอื งนครนายก ด่านกบแจะ (ประจันตคาม) ด่านหนุมาน
(กบินทร์บุรี) ด่านพระปรง (อ.เมอื งสระแก้ว) ช่องตะโก ด่านพระจารึกหรือพระจฤต (อรัญประเทศ – ตาพระยา)
ตาบลทานบ อยู่ระหว่างเมืองอรัญประเทศและเมืองพระตะบอง ตาบลเพนียด เมืองประตะบอง
เมืองโพธิสตั ว์และเมืองละแวก
สมัยธนบุรี…………………………………………… ……………………………………………………………………

ในสมัยธนบุรีได้กล่าวถึงเมืองปราจีนเพียงว่าเป็นเมืองที่อยู่ในเส้นทางเดินทัพของสมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราชที่ยกทัพจากกรุงศรีอยุธยาไปยังเมืองจันทบุรี กล่าวคือเม่ือ พ.ศ. 2309 ขณะที่
กองทัพพม่าล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่นั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเม่ือคร้ังเป็นพระยากาแพงเพชร
ทรงเล็งเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาจะเป็นอันตราย จึงรวบรวมทหารไทย จีน ประมาณ 1,000 คนเศษ พร้อม
ด้วยอาวุธออกไปต้ัง ณ วัดพิชัย พอฝนตกพระยากาแพงเพชรจึงนากองทัพฝั่งกองทัพพม่าออกมาจาก
วัดพิชยั เดินทัพต่อไป โดยมีจุดหมายอยู่ที่เมืองจันทบุรี โดยเมืองปราจีนบุรีอยู่ในเส้นทางเดินทัพ ซึ่งตาม
พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับจันทนุมาศ (เจิม) ได้กล่าวไว้ว่า…เม่ือวันพุธขึ้นแปดค่า เดือนยี่
ยกกองทัพมาประทับทีต่ าบลหนองไมซ้ งุ ตามทางหลวงนครนายก ประทับรอนแรม 2 วันถึงบ้านนาเริ่ง ออก
จากบ้านนาเริ่งวันหนึ่งถึงเมืองปราจีน ข้ามด่านกบและหยุดพักพลหุงอาหาร ณ ฟากตะวันออกแล้วยก
ข้ามไปจนถึงบ่าย 5 โมง…

ปราจีนบุรีสมยั รตั นโกสินทร์……………………………………………………………………………………….

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมืองปราจีนยังคงเป็นเมืองผ่านของเส้นทางเดินทัพระหว่าง
ไทยกับกัมพูชา มีผู้คนอยู่อาศัยมากขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3)
ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ ั้งเมอื งขึน้ หลายเมือง เช่น เมืองกบินทร์บุรี เมืองอรัญประเทศ เมืองวัฒนานคร
เป็นต้น ทั้งยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองบางขนากขึ้นส่งผลให้การติดต่อระหว่างเมือง
ปราจนี บรุ ีและเมืองพระนครสะดวกรวดเร็วขึ้น

ต่อมาในปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ได้มี
พระราชดาริที่จะสร้างป้อมเมืองปราจีน แต่ได้ลงมือสร้างและแล้วเสร็จในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั (รชั กาลที่ 5) ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปราจีน
เริ่มมีความสาคัญมากขึ้นตามลาดับ เพราะมีการค้นพบแหล่งทองคาที่เมืองกบินทร์บุรี มีการทาเหมือง
ทองคา ตอ่ มาเมื่อปฏิรูปการปกครองจากระบบกินเมืองเป็นระบบเทศาภิบาล ได้ใช้เมืองปราจีนเป็นที่ว่า
การมณฑลปราจนี ส่งผลใหเ้ มืองปราจนี กลายเปน็ ศูนย์กลางความเจรญิ ในภูมิภาคตะวนั ออก คร้ันเม่อื

.

7

ได้ย้ายทีว่ า่ การมณฑลปราจนี ไปอยู่ทีเ่ มอื งฉะเชิงเทรา ทาให้เมืองปราจีนลดความสาคัญลง ประกอบกับ
เส้นทางคมนาคมเปลี่ยนไป คือมีการตัดเส้นทางรถไฟจากรุงเทพฯ ถึงเมืองฉะเชิงเทรามีคนจีนไปสร้าง
หลักแหล่งในฉะเชิงเทรามากขึ้น มีโรงงานน้าตาล โรงสีข้าว อันส่งผลให้เมืองฉะเชิงเทรากลายเป็น
ศูนย์กลางความเจรญิ แทนเมืองปราจนี บรุ ี

หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเม่ือ พ.ศ. 2475 ได้มีพระราชบัญญัติว่าด้วยการ
บริหารแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2476 ให้มีตาแหน่งข้าหลวงประจาจังหวัดแบบผู้ว่าราชการจังหวัด คณะ
กรมการจังหวัด และสภาจังหวัด ส่งผลให้มณฑลเทศาภิบาลปราจีนบุรีถูกยกเลิกไป เมืองปราจีนบุรี
มฐี านะเปน็ จงั หวดั ปราจนี บุรี

ต่อมาเม่ือ พ.ศ. 2485 รัฐบาลได้ออก “พระราชบัญญัติยุบและรวมการปกครอง บางจังหวัด
พุทธศักราช 2485” ให้ยุบและรวมการปกครองจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนครนายก จังหวัดสมุทรสาคร
และจงั หวัดนนทบุรี ในส่วนของจังหวดั นครนายกนั้นมีสว่ นเกี่ยวข้องกบั จังหวดั ปราจีนบรุ ีโดยกาหนดไว้ดังนี้

…มาตรา 4 ให้ยุบจังหวัดนครนายกและให้รวมท้องที่ของจังหวัดที่ยุบเข้าไว้ในการปกครอง
ของจังหวัดปราจนี บรุ ี เว้นแตท่ ้องทีอ่ าเภอบ้านนาให้รวมเข้าไว้ในการปกครองของจงั หวดั สระบุรี…

การรวมท้องทีบ่ างสว่ นของจังหวดั นครนายกไว้ในเขตการปกครองของจังหวัดปราจีนบุรี
ส่งผลให้จังหวัดปราจีนบุรีที่เดิมมีท้องที่กว้างขวางอยู่แล้ว ให้มีท้องที่กว้างขวางเพิ่มมากขึ้นเกินกาลัง
จงั หวดั จะรับผิดชอบ ทาให้การตดิ ต่อดูแลทุกข์สุขของประชาชนและการปกครองของราษฎรไม่เป็นผลดี
เหมือนเม่ือนครนายกเป็นจังหวัดอยู่ กระทรวงมหาดไทยจึงได้เสนอร่างหลักการ “พระราชบัญญัติ
สถาปนาจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2489” โดยได้สอบถามจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดสระบุรี และในที่สุด
รัฐบาลได้ออก “พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และ
จงั หวดั นครนายก พ.ศ. 2489” โดยระบุในพระราชบญั ญตั ิวา่

…มาตรา 6 ให้แยกอาเภอนครนายก อาเภอองครักษ์ และอาเภอปากพลีออกจากการ
ปกครองของจังหวัดปราจนี บรุ ี กบั ให้แยกอาเภอบ้านนาออกจากการปกครองของจังหวัดสระบุรี จัดตั้ง
เปน็ จงั หวดั ขึน้ เรียกว่าจังหวัดนครนายก…

ต่อมา พ.ศ. 2536 ได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การปกครองจังหวัดปราจีนบุรี โดยแยกพื้นที่
อาเภอบางอาเภอไปอยู่ในเขตการปกครองของจังหวัดสระแก้ว ซึ่งตั้งขึ้นใหม่ตามพระราชบัญญัติตั้ง
จงั หวดั สระแก้ว พ.ศ. 2537

.

8

ที่ตงั้

จังหวัดปราจีนบุรีตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย อยู่ระหว่างละติจูดที่ 13 องศา
39 ลิปดา ถึงละตจิ ูดที่ 14 องศา 27 ลิปดาเหนือ และเส้นลองติจูดที่ 101 องศา 90 ลิปดา ถึงลองติจูดที่
102 องศา 07 ลิปดาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานคร 136 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 33,
305 ใช้เวลาเดินทางเพียง 1.30 ชั่วโมง เป็นจุดเชื่อมโยง การคมนาคมจากกรุงเทพมหานคร ภาคกลาง
ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ประเทศกมั พูชา ในรัศมี 100 กว่ากิโลเมตร

ขนาด จงั หวดั ปราจนี บุรีมีพ้ืนที่ท้ังหมด 4,762.362 ตารางกิโลเมตร หรอื 2,976,476 ไร่
อาณาเขต มีอาณาเขตติดต่อดังนี้

- ทิศเหนอื ติดกับ จงั หวัดนครราชสีมา
- ทิศตะวนั ออก ติดกับ จงั หวดั สระแก้ว
- ทิศตะวันตก ติดกับ จงั หวัดนครนายก
- ทิศใต้ ติดกับ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา

ลกั ษณะภูมิอากาศ

ปราจีนบุรีได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ประกอบกบั สมฝ่ายใต้ที่พัดปกคลุมภาคตะวันออก รวมท้ังหย่อมความกดอากาศต่าเน่ืองจากความร้อน
ปกคลุมลักษณะดังกล่าวทาให้บริเวณบริเวณจังหวัดปราจีนบุรีในฤดูร้อนมีอุณหภูมิสูงประมาณ 39 - 41
องศาเซลเซียส และอากาศค่อนข้างหนาวในฤดูหนาว

.

9

ท่ี อาเภอ จานวนวดั หมายเหตุ

มหานิกาย ธรรมยตุ ิกนิกาย รวม

1 กบนิ ทรบ์ ุรี 117 8 125 เขตอาเภอ

2 เมืองปราจีนบรุ ี 85 12 97 แบ่งตามพนื้ ที่

3 ประจันตคาม 65 3 68 การปกครองของ

4 ศรีมหาโพธิ 45 6 51 ฝ่ายบ้านเมือง

5 นาดี 37 - 37

6 บ้านสรา้ ง 21 2 23

7 ศรีมโหสถ 16 2 18

รวม 386 33 419

วดั ทีไ่ ด้รบั พระราชทาน 323 24 347

วิสุงคามสีมา

วดั ที่ยงั ไม่ได้รับพระราชทาน 63 9 72

วิสุงคามสีมา

ขอ้ มลู ปรับปรุง ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

1. วดั บางกระเบา ตาบลบางกระเบา อาเภอบ้านสร้าง
2. วดั แก้วพิจิตร (ธ) ตาบลหนา้ เมือง อาเภอเมืองปราจนี บรุ ี

ข้อมลู ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

มหานิกาย พระภิกษุ จานวน 1,999 รปู
สามเณร
จานวน 167 รปู

รวมท้ังสนิ้ 2,166 รปู

ธรรมยตุ พระภิกษุ จานวน 200 รปู
สามเณร
จานวน 18 รปู

รวมท้ังสนิ้ 218 รปู

.

10

1. สานักปฏิบัติธรรมประจาจังหวัดปราจนี บรุ ี แหง่ ที่ 1 วัดบางกระเบา
2. สานกั ปฏิบตั ิธรรมประจาจังหวดั ปราจนี บุรี แหง่ ที่ 2 วัดบางคาง
3. สานักปฏิบตั ิธรรมประจาจังหวัดปราจนี บรุ ี แหง่ ที่ 3 วดั แก้วสามคั คี
4. สานักปฏิบัติธรรมประจาจงั หวดั ปราจนี บุรี แหง่ ที่ 4 วดั คลองปลาดกุ ลาย
5. สานักปฏิบตั ิธรรมประจาจงั หวัดปราจนี บุรี แหง่ ที่ 5 วดั ป่ามะไฟ
6. สานักปฏิบตั ิธรรมประจาจงั หวัดปราจนี บุรี แหง่ ที่ 6 วัดต้นโพธิศ์ รมี หาโพธิ
7. สานักปฏิบตั ิธรรมประจาจงั หวดั ปราจนี บุรี แหง่ ที่ 7 วดั ทพั ชา้ ง
8. สานักปฏิบัติธรรมประจาจงั หวดั ปราจนี บรุ ี แหง่ ที่ 8 วัดแก้วฟ้ารงั ษี
9. สานกั ปฏิบตั ิธรรมประจาจังหวดั ปราจนี บุรี แหง่ ที่ 9 วัดนาดี
10.สานกั ปฏิบัติธรรมประจาจังหวดั ปราจีนบุรี แหง่ ที่ 10 วัดเขาวงศ์
11.สานกั ปฏิบัติธรรมประจาจงั หวัดปราจนี บุรี แหง่ ที่ 11 วัดทุ่งแฝก
12.สานักปฏิบตั ิธรรมประจาจังหวดั ปราจนี บรุ ี แหง่ ที่ 12 วัดเกาะมะไฟ
13.สานกั ปฏิบัติธรรมประจาจังหวัดปราจีนบรุ ี แหง่ ที่ 13 วัดบ้านหอย
14.สานักปฏิบัติธรรมประจาจังหวดั ปราจนี บรุ ี แหง่ ที่ 14 วัดนาปรือ
15.สานักปฏิบตั ิธรรมประจาจังหวดั ปราจีนบุรี แหง่ ที่ 15 วดั ราษฎร์เจริญศรทั ธาธรรม
16.สานกั ปฏิบัติธรรมประจาจังหวัดปราจีนบรุ ี (ธ) แหง่ ที่ 1 วดั ป่าประดู่

1. พระพิศาลศึกษากร เจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี วดั ใหมก่ รงทอง อ.ศรมี หาโพธิ

2. พระเทพโมลี รกั ษาการแทนเจ้าคณะจังหวัดปราจีนบรุ ี-สระแก้ว (ธ) วดั เทพศิรินทราวาส กทม.

3. พระครปู ระโชติปริยัตคิ ณุ รองเจา้ คณะจงั หวัดปราจนี บุรี วัดหลวงปรีชากูลอ.เมอื งปราจนี บุรี

4. พระสทิ ธิวีรานุวฒั น์ เจ้าคณะอาเภอบ้านสร้าง วัดกระทุ่มแพ้ว อ.บ้านสร้าง

5. พระครูวรี ญาณประยตุ เจ้าคณะอาเภอนาดี วดั โพธิ์ศรี อ.นาดี

6. พระครูโสภณเวฬพุ ิทักษ์ เจ้าคณะอาเภอศรมี โหสถ วดั ไผง่ าม อ.ศรมี โหสถ

7. พระครรู ตั นสุทธิคณุ เจ้าคณะอาเภอกบินทร์บุรี วัดรตั นชมภู อ.กบินทร์บุรี

8. พระครปู ระโชติสารธรรม เจ้าคณะอาเภอประจันตคาม วัดโคกสว่าง อ.ประจันตคาม

9. พระครถู าวรโพธาภิรกั ษ์ เจ้าคณะอาเภอศรีมหาโพธิ วดั ธรรมโพธิศรี อ.ศรมี หาโพธิ

10.พระครูภาวนาธรรมธารี เจ้าคณะอาเภอเมืองปราจนี บรุ ี วัดป่ามะไฟ อ.เมืองปราจนี บุรี

11.พระครสู ันตกิจโกศล เจ้าคณะอาเภอเมืองปราจนี บรุ ี - บ้านสร้าง (ธ)

วดั พรหมเสนาราม (ธ) อ.ศรมี โหสถ

12.พระมหาโชควรรธน์ อาภากโร เจ้าคณะอาเภอประจันตคาม - ศรมี หาโพธิ - ศรมี โหสถ

วัดปวิเวการาม (ธ) อ.เมืองปราจนี บุรี

13.พระครูวนิ ัยธรธรรมรตั น์ เขมธโร เจ้าคณะอาเภอกบินทร์บรุ ี - นาดี

วดั ป่าญาณสิรสิ ุทธาราม.(ธ).อ.ศรีมหาโพธิ

.

11

1. เจ้าคณะจังหวดั ปราจนี บุรี จานวน 1 รปู
2. ผรู้ กั ษาการแทนเจ้าคณะจงั หวัดปราจนี บุรี - สระแก้ว (ธ) จานวน 1 รปู
3. เจ้าคณะอาเภอ จานวน 7 รปู
4. เจ้าคณะอาเภอ (ธ) จานวน 3 รปู
5. รองเจา้ คณะอาเภอ จานวน 8 รปู
6. เจ้าคณะตาบล จานวน 71 รปู
7. เจ้าคณะตาบล (ธ) จานวน 3 รปู

พระมหาประพันธ์ ณฏฺฐิโก วดั ปทมุ วนาวาส อาเภอศรีมหาโพธิ

1. พระมหาสมนกึ กิตฺติโสภโณ วดั บางกระเบา อาเภอบ้านสร้าง
2. พระครสู ตุ ปัญญาวัฒน์ วดั ทุ่งแฝก อาเภอกบินทร์บรุ ี
3. พระครวู นิ ยั ธรสภุ ชัย ธมฺมวโร วัดราษฎร์เจริญศรัทธาธรรม อาเภอศรีมหาโพธิ
4. พระครปู ลดั ธีระชยั อชิโต (ธ) วดั ป่าทรงคุณ อาเภอเมืองปราจนี บรุ ี

1. พระธรรมทูตฝ่ายบริหาร จานวน 18 รปู
2. พระธรรมทูตฝา่ ยปฏิบัติการ จานวน 40 รปู

1. พระพิศาลศึกษากร ดร. วัดใหมก่ รงทอง อาเภอศรีมหาโพธิ
2. พระมหาสมนึก กิตฺติโสภฺโณ
3. พระมหาอกุ ฤษ ปภภสฺโร วดั บางกระเบา..พระอารามหลวง อาเภอบ้านสร้าง
4. พระมหาศภุ ชยั ธีรปญฺโญ
5. พระมหาโชควรรธน์ อาภากโร วัดทุ่งหนองอ้อ อาเภอประจนั ตคาม

วดั ทับลาน อาเภอนาดี

วดั ปวิเวการาม (ธ) อาเภอเมืองปราจนี บุรี

1. แผนกบาลี จานวน 7 รปู
2. แผนกธรรม จานวน 35 รปู

.

12

แผนกสามญั ศึกษา จานวน 1 แห่ง วดั แจง้ อาเภอประจนั ตคาม
จานวน 65 แห่ง
จานวน 21 แห่ง

1. สานกั งานเจ้าคณะจังหวัดปราจนี บรุ ี วดั ใหมก่ รงทอง อาเภอศรีมหาโพธิ

2. สานักงานเจ้าคณะจงั หวัดปราจนี บรุ ี - สระแก้ว (ธ) วัดหนองจรเข้ อาเภอกบินทร์บรุ ี

1. ฝ่ายมหานิกาย จานวน 142 รปู (71 ตาบล ๆ ละ 2 รปู )
2. ฝา่ ยธรรมยุต จานวน 10 รปู (5 ตาบล ๆ ละ 2 รปู )

1. รอยพระพุทธบาทคู่ ตาบลโคกไทย อาเภอศรีมโหสถ
2. ต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ ตาบลโคกปีบ อาเภอศรีมโหสถ
3. พุทธอทุ ยานโลก (วนอุทยานเขาอีโต้) ตาบลบ้านพระ อาเภอเมืองปราจนี บรุ ี

1. อุทยานการศกึ ษา จานวน 11 แห่ง
2. วัดพัฒนาตวั อย่าง จานวน 25 แห่ง
3. วัดพัฒนาตัวอย่างทีม่ ผี ลงานดีเด่น จานวน 15 แห่ง
4. วัดพัฒนาตัวอย่างที่มผี ลงานดีเด่นเฉลิมพระเกียรติ จานวน 1 แห่ง

(วดั กระทุ่มแพ้ว อาเภอบ้านสร้าง)

ต้ังอยู่บริเวณสระมรกต ตาบลโคกไทย อาเภอศรมี โหสถ จงั หวัดปราจีนบรุ ี

.

13

พระครสู ริ พิ ัฒนโสภณ พระพศิ าลศึกษากร
ทีป่ รกึ ษาเจา้ คณะจงั หวัดปราจีนบุรี เจา้ คณะจงั หวัดปราจนี บรุ ี

พระครปู ระโชตปิ ริยัตคิ ณุ
รองเจา้ คณะจังหวดั ปราจีนบุรี

พระสิทธิวีรานุวัฒน์ พระครวู รี ญาณประยตุ พระครโู สภณเวฬุพิทักษ์
เจา้ คณะอาเภอบา้ นสรา้ ง เจ้าคณะอาเภอนาดี เจ้าคณะอาเภอศรมี โหสถ

พระครูรัตนสทุ ธคิ ุณ พระครปู ระโชตสิ ารธรรม พระครถู าวรโพธาภริ ักษ์ พระครูภาวนาธรรมธารี
เจ้าคณะอาเภอกบนิ ทรบ์ ุรี เจา้ คณะอาเภอประจนั ตคาม. เจา้ คณะอาเภอศรีมหาโพธิ เจ้าคณะอาเภอเมอื งปราจีนบรุ ี

14

พระเทพโมลี
รักษาการแทนเจา้ คณะจงั หวัดปราจนี บุรี - สระแก้ว

พระครูสันตกิจโกศล พระมหาโชควรรธน์ อาภากโร พระครวู นิ ยั ธรธรรมรตั น์ เขมธโร
เจา้ คณะอาเภอกบินทรบ์ ุรี - นาดี
เจ้าคณะอาเภอเมอื งปราจนี บรุ ี - บ้านสร้าง เจา้ คณะอาเภอประจันตคาม - ศรมี หาโพธิ - ศรมี โหสถ

พระครูศาสนกจิ ดลิ ก พระครพู ิศาลธรรมกจิ
เจา้ คณะตาบลกบนิ ทร์บุรี เจา้ คณะตาบลทา่ ตมู

พระปลัดธีระชัย อชโิ ต พระปลัดสุรยิ า ปภสสฺ โร พระครูสงั ฆรกั ษค์ าพนั สขุ วฑฒฺ โน
เจ้าคณะตาบลบ้านพระ เจา้ คณะตาบลโพธิ์งาม - โคกปีบ
เจ้าคณะตาบลหน้าเมือง
.

15

นางวารนิ ทร์ สกิ ขชาติ
ผอู้ านวยการสานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวดั ปราจนี บุรี

นายวีระ จาลอง
นักวิชาการศาสนาชานาญการพิเศษ

นางนงลกั ษณ์ แดงรศั มีโสภณ นางอาทติ ยา มากโสด นายนรนาถ การะนนท์ นางสาวธารทิพย์ เจนสัญญายุทธ

นกั วิชาการศาสนาชานาญการ นกั วชิ าการศาสนาชานาญการ นกั วชิ าการศาสนาชานาญการ นักวิชาการศาสนาชานาญการ

นายอรรถพงศ์ จันทรแ์ ก้ว นางสาวธรี ตา ซื่อตรง
นกั วิชาการศาสนาปฏิบัตกิ าร นกั วชิ าการศาสนาปฏบิ ตั กิ าร

นายพสษิ ฐ์ อัศววรจินดา นางณทศั นนั ท์ ชืน่ อารมณ์
พนกั งานขบั รถยนต์
พนกั งานทาความสะอาด

.

16

สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นส่วนราชการไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี

กระทรวง หรือทบวง โดยขึ้นตรงกับนายกรัฐมนตรี มีภารกิจเกี่ยวกับการดาเนินงานสนองงานคณะสงฆ์

และรฐั โดยการทานุบารุงส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครอง และส่งเสริม พัฒนางาน

พระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทาง

พระพุทธศาสนา รวมท้ังให้การสนับสนุนส่งเสริม พฒั นาบุคลากรทางพระพทุ ธศาสนา

การแบ่งงานและการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของราชการส่วนกลาง และราชการ

ส่วนภูมิภาค เป็นสานัก/สานักงาน/กอง/สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด และหน่วยงานขึ้นตรงกับ

หวั หนา้ ส่วนราชการ ในสานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ มีดงั ต่อไปนี้

ก. ราชการบริหารส่วนกลาง ประกอบด้วย

1. กลุ่มตรวจสอบภายใน 2. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

3. ศูนย์ปฏิบัติการตอ่ ต้านการทจุ ริต 4. สานักงานเลขานุการกรม

5. กองพุทธศาสนศกึ ษา 6. กองพทุ ธศาสนสถาน

7. กองส่งเสริมงานเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา 8. สานกั งานพทุ ธมณฑล

9.สานักงานศาสนสมบัติ 10. สานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม

ข. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ได้แก่ สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด 76 จังหวัด

(ทกุ จังหวดั ) มีอานาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลสารสนเทศด้านพระพุทธศาสนาเพื่อกาหนด

นโยบายในระดบั จงั หวดั รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข

2. ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบาย แผนงาน และโครงการของ

หน่วยงานในความดูแลของสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด รวมท้ังรายงานผลการดาเนินงาน ปัญหา

และอปุ สรรค ให้หนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้องทราบ

3. ส่งเสริม ดูแล รักษา และทานุบารุงศาสนสถานและศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนา

รวมท้ังดูแล รักษา และจดั การวัดรา้ ง และศาสนสมบัติกลางในจังหวดั

4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และแหล่งภูมิปัญญาของชุมชน

รวมท้ังส่งเสริมให้มีศนู ย์กลางในการจดั กิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนาของจงั หวดั

5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและด้านพุทธ-

ศาสนศกึ ษา รวมท้ังดูแลและควบคมุ มาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาในสังกัดภายในจังหวัด

ให้ผู้เรยี นมีความรู้คคู่ ณุ ธรรมและพัฒนาบุคลากรทางพระพทุ ธศาสนา

6. รับสนองงาน ประสานงาน และสนับสนุนกิจการและการบริหารการปกครองคณะสงฆ์

ตลอดจนการดาเนินการตามนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา

7. ส่งเสริมและประสานการดาเนินงานในการปฏิบัติศาสนพิธีและกิจกรรมในวันสาคัญ

ทางพระพทุ ธศาสนา

.

17

8. ปฏิบัติงานตามกฎหมายในความรับผิดชอบของสานักงาน ซึ่งกาหนดให้เป็นอานาจ
หนา้ ทีข่ องผวู้ ่าราชการจังหวดั หรอื ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

9. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

“องค์กรขบั เคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนาสู่ความมน่ั คง สงั คมดารงศีลธรรม นาสนั ติสขุ อย่างยั่งยืน”

1. เสริมสรา้ งให้สถาบันและกิจการทางพระพุทธศาสนามีความมัน่ คงยัง่ ยืน
2. สนับสนุนส่งเสริมและจัดการการศึกษาสงฆ์และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาให้มีความรู้

คู่คณุ ธรรม
3. จัดการศึกษาสงฆ์เพื่อผลิตและพัฒนาศาสนทายาทที่เปี่ยมปัญญาพุทธธรรมเผยแผ่ทานุบารุง

พระพุทธศาสนาใหเ้ จริญงอกงาม และร่วมสรา้ งสังคมพุทธธรรมที่มคี วามเข้มแข็ง
4. ดาเนนิ การให้ประเทศไทยเปน็ ศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาโลก
5. พัฒนาการดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติให้เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและสังคม เพื่อให้

สามารถบรรลเุ ป้าหมายตามพันธกิจ

1. พฒั นาระบบการศกึ ษาสงฆ์ Buddhism Education
2. ปลูกฝังความเข้าใจเกี่ยวกบั พระพุทธศาสนาใหแ้ ก่สังคม Understanding
3. เพิ่มศักยภาพการเปน็ ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก Distinguished Center
4. พัฒนาสอู่ งค์การทีโ่ ดดเด่น Distinctive Organization
5. ส่งเสริมงานสาธารณสงเคราะห์ Help
6. เพิ่มความคุ้มค่าให้แก่ศาสนสมบัติ Asset

.

18

1. สถาบันพระพุทธศาสนามีความม่ันคงและยัง่ ยืน
2. พระสงฆ์มคี วามรู้ในหลกั ธรรมอย่างลึกซึง้ และสามารถเผยแผห่ ลักธรรมได้อย่างถกู ต้อง และมีความ

ทันสมัยรวมทั้งมคี วามรเู้ ร่ืองสังคม ความเปลีย่ นแปลงของสงั คมในทกุ มิติ
3. ประชาชนทุกเพศทุกวยั ได้เข้าถึงหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาสามารถนาไปพัฒนาคุณภาพชีวติ

ใหด้ ีข้ึน ทาให้สงั คมมคี วามสขุ ด้วยหลกั พทุ ธธรรม
4. เพิม่ ศาสนทายาทเพื่อสืบสานพทุ ธศาสนาให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืน
5. ให้ประเทศไทยเปน็ ศนู ย์กลางด้านวิชาการและกิจกรรมด้านพระพุทธศาสนาในระดบั โลก
6. เพิ่มมูลค่าศาสนสมบัติให้เกิดประโยชน์ต่อพระพทุ ธศาสนาอย่างสูงสุด
7. จดั ระบบองค์กรสานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติใหเ้ ปน็ กลไกในการขับเคลื่อน ให้

พระพุทธศาสนามั่นคง ยั่งยืน และสังคมมคี วามรดู้ ้วยหลักพุทธธรรม

สง่ เสริมพทุ ธธรรมนาชวี ติ มุง่ ผลสัมฤทธิข์ องงาน มีจติ บรกิ าร ประสานสามัคคี

* ส่งเสริมพุทธธรรมนาชีวิต หมายถึง การสนับสนุน ส่งเสริมการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวันอย่างมีความสขุ ชุมชนเข้มแข็งก่อใหเ้ กิดสังคมคณุ ธรรม

* มุง่ ผลสมั ฤทธิข์ องงาน หมายถึง ปฏิบตั ิหน้าทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ดาเนินงาน ให้แล้วเสร็จ
ตามวตั ถปุ ระสงค์และใชท้ รัพยากรอย่างคุ้มค่า

* มีจิตบริการ หมายถึง เข้าใจความต้องการของผู้รับบริการอย่างถูกต้องและรวดเร็วให้บริการและ
ช่วยเหลือผู้รับบริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และกระตือรือร้นต่อการตอบสนองความต้องการ
ของผู้รบั บริการ

* ประสานสามัคคี หมายถึง เคารพผู้ร่วมงาน ช่วยเหลือเกื้อกูลกันไม่แบ่งพรรคแบ่งพวกและเสียสละ
เพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม

.

19
.

20
.

21
.

22

งบประมาณสานักงานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั ปราจนี บุรี
ประจาปี งบประมาณ 2565 ไตรมาส 1-4

100% 100% งบดาเนินงาน
100% งบอดุ หนนุ ทว่ั ไป
งบลงทุน

.

23
.

24

ภาพกจิ กรรม
ดา้ นการปกครองคณะสงฆ์

.

25

วันท่ี 21 มกราคม 2565 เวลา 13.30 น. นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี และนายนรนาถ การะนนท์ นักวิชาการศาสนาชานาญการ เข้าร่วมประชุม
เพื่อแก้ไขปัญหาพระสงฆ์ บริเวณตลาดพ้ืนท่ีตาบลหน้าเมือง อาเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี
โดยมีเจ้าคณะอาเภอ เจ้าคณะตาบล เจ้าอาวาส ต้นสังกัด พระวินยาธิการ ทั้งฝ่ายมหานิกายและธรรมยุต
เขา้ ประชมุ ณ วัดป่ามะไฟ ตาบลโคกไมล้ าย อาเภอเมืองปราจนี บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

.

26

วันที่ 27 เมษายน 2565 เวลา 14.00 น ณ วัดแก้วพิจิตร พระอารามหลวง ตาบลหน้าเมือง
อาเภอเมืองปราจนี บรุ ี จังหวัดปราจนี บุรี นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดปราจีนบุรี พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ ได้ดาเนินการจัดประชุมเพื่อปรึกษาหารือพระสังฆาธิการ
ระดับเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอาเภอ และเลขานุการเจ้าคณะจังหวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัด
ปราจนี บรุ ี - สระแก้ว (ธรรมยุต) เพื่อดาเนินภารกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคณะสงฆ์ และสานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดปราจีนบุรี ให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด เช่น เร่ืองการใช้จ่ายเงินอุดหนุนศูนย์
พระวนิ ยาธิการ เปน็ ต้น

.

27

วันที่ 2 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.30 น ณ ห้องประชุมกระโยมกุล โรงเรียนมัธยม
วัดใหม่กรงทอง อาเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ในสังกัด ได้ดาเนินการจัดประชุมเพื่อปรึกษาหารือ
พระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอาเภอ และเลขานุการเจ้าคณะจังหวัด ในเขตปกครอง
คณะสงฆ์จังหวัดปราจีนบุรี เพื่อดาเนินภารกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคณะสงฆ์ และสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวดั ปราจนี บุรี ใหเ้ กิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด เช่น เร่ืองการใช้จ่ายเงินอุดหนุน
ศนู ย์พระวินยาธิการ เปน็ ต้น

.

28

วนั ที่ 20 พฤษภาคม 2565 เวลา 09.00 น นายวีระ จาลอง นักวิชาการศาสนาชานาญการพิเศษ
และนายนรนาถ การะนนท์ นักวิชาการศาสนาชานาญการ ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการ
สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี ลงพื้นที่ร่วมกับพระวินยาธิการในเขตพื้นที่ เพื่อสังเกตการณ์
การตรวจหาสารเสพติดในพระสงฆ์ ณ วัดคชสารมนุ ี ต.โคกไม้ลาย อ.เมอื งปราจนี บุรี จ.ปราจนี บุรี

.

29

วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.00 น. ณ วัดไผ่งาม ตาบลไผ่ชะเลือด อาเภอศรีมโหสถ
จังหวัดปราจีนบุรี นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี
พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ในสังกัดได้จัดการประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานโครงการ " วัดสีขาว นาชาวพุทธ
ห่างไกลยาเสพติด" ทั้งนี้ มีวัดที่สมัครเข้าร่วมโครงการฯ จานวน 54 วัด ซึ่งได้เข้ารับฟังการชี้แจงข้ันตอน
และรายละเอียดการดาเนินโครงการฯ เพื่อนาไปดาเนินการตามข้ันตอน หลักเกณฑ์ และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้
ต่อไป นอกจากนี้ ในการประชุมดังกล่าว ยังมีการบรรยายถวายความรู้ในเร่ืองพิษภัยของยาเสพติดและ
การป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดแก่พระภกิ ษสุ งฆ์และเจา้ หนา้ ทีข่ องสานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัด
ปราจนี บรุ ี โดยวิทยากรจากสานักงานป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด ภาค 2

.

30

วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 08.30 น. นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ในสังกัด ร่วมประชุมพระสังฆาธิการ ในเขต
ปกครองคณะสงฆ์จงั หวัดปราจีนบุรี ภาค 12 ระดับเจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส จานวน
500 กว่ารปู ตามมตมิ หาเถรสมาคม มติที่ 143/2546 โดยมีพระราชเวที เจ้าคณะภาค 12 เป็นประธานใน
พิธีเปิดและบรรยายพิเศษ และพระอุดมปรีชาญาณ รองเจ้าคณะภาค 9 เลขานุการเจ้าคณะใหญ่หน
ตะวันออก เป็นพระวิทยากรบรรยายพิเศษ พร้อมด้วยพระพิศาลศึกษากร เจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี
พระครูประโชติปริยัติคุณ รองเจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี เจ้าคณะอาเภอรองเจ้าคณะอาเภอ และพระสังฆาธิการ
ระดบั เจา้ อาวาส รองเจา้ อาวาส ผชู้ ่วยเจา้ อาวาส เข้าร่วมประชมุ

.

31

วันที่ 21 กรกฎาคม 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดปราจีนบุรี นาคณะเจ้าหน้าที่สานักงานฯ ร่วมประชุมและบรรยายถวายความรู้แด่คณะสงฆ์
อาเภอศรีมโหสถ นาโดย พระครูโสภณเวฬุพิทักษ์ เจ้าคณะอาเภอศรีมโหสถ ในการประชุมพระสังฆาธิการ
ระดับเจ้าคณะตาบล เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส พระนวกภูมิ และเปิดการเรียน
นักธรรมตรี โท และเอก ประจาปี 2565 การนี้ ได้รับความเมตตานุเคราะห์จาก พระพิศาลศึกษากร
เจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธานกล่าวให้โอวาท พระครูประโชติปริยัติคุณ รองเจ้าคณะจังหวัด
ปราจนี บรุ ี บรรยายให้ความรู้ ณ วดั สระมรกต อาเภอศรมี โหสถ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี

.

32

วันที่ 23 สิงหาคม 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผอู้ านวยการสานักงานพระพุทธศาสนา
จงั หวดั ปราจนี บรุ ี นาเจ้าหนา้ ที่ในสงั กดั ร่วมการประชุมพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะตาบล เจ้าอาวาส
รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส หัวหน้าที่พักสงฆ์ พระสอนศีลธรรมประจาโรงเรียน และพระนวกะ
ในเขตปกครองคณะสงฆ์อาเภอกบินทร์บุรี การนี้ ได้รับความเมตตานุเคราะห์จากพระพิศาลศึกษากร
ดร. เจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธานเปิดการประชุมและกล่าวให้โอวาท จากนั้น นางวารินทร์
สิกขชาติ ได้บรรยายถวายความรแู้ ด่คณะสงฆ์ผู้เข้าประชุม ณ วดั รตั นชมภู อ.กบินทร์บรุ ี จ.ปราจนี บรุ ี

.

33

วนั ที่ 24 สิงหาคม 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผอู้ านวยการสานักงานพระพุทธศาสนา
จงั หวดั ปราจีนบุรี นาเจ้าหน้าที่สานักงานฯ เข้าร่วมประชุมพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะอาเภอ รองเจ้าคณะ
อาเภอ เจ้าคณะตาบล และพระเลขานุการทุกระดับช้ัน คร้ังที่ 1/2565 ตามมติคณะสงฆ์จังหวัด
ปราจนี บุรี ณ วัดธรรมโพธิ์ศรี อาเภอศรมี หาโพธิ จงั หวดั ปราจนี บุรี

.

34

วันที่ 24 สิงหาคม 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผอู้ านวยการสานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดปราจีนบุรี นาเจ้าหน้าที่สานักงานฯ เข้าร่วมประชุมพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส
ผู้ช่วยเจ้าอาวาส และพระนวกะ ประจาปี 2565 คณะสงฆ์อาเภอประจันตคาม ณ วัดโคกสว่าง
อาเภอประจันตคาม จงั หวดั ปราจนี บุรี

.

35

วันที่ 6 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี และเจ้าหน้าที่ในสังกัด ร่วมประชุมพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะ
ตาบล เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส และเลขานุการเจ้าคณะตาบลของคณะสงฆ์อาเภอ
เมืองปราจีนบุรี โดยมีพระพิศาลศึกษากร ดร. เจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธานการประชุมและ
กล่าวให้โอวาท จากน้ันนางวารินทร์ สิกขชาติ บรรยายถวายความรู้แด่คณะสงฆ์ผู้เข้าประชุม ณ วัดป่า
มะไฟ ตาบลโคกไม้ลาย อาเภอเมืองปราจนี บรุ ี จังหวดั ปราจนี บุรี

.

36

วันที่ 9 กันยายน 2565 เวลา 09.00 น. นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี และเจ้าหน้าที่ในสังกัด ร่วมประชุมพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าอาวาส
รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส และพระนวกะ ประจาปี 2565 โดยมีพระพิศาลศึกษากร ดร. เจ้าคณะ
จังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยรองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอาเภอ คณะสงฆ์อาเภอ
บ้านสร้าง ณ วัดกระทุ่มแพว้ ตาบลกระทุ่มแพ้ว อาเภอบ้านสรา้ ง จังหวัดปราจนี บุรี

.

37

วนั ที่ 26 ตุลาคม 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผอู้ านวยการสานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัด
ปราจนี บุรี และเจ้าหนา้ ทีใ่ นสงั กดั ร่วมประชุมพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะอาเภอ รองเจ้าคณะอาเภอ
เจ้าคณะตาบล และพระเลขานุการทุกระดับชั้น ตามมติมหาเถรสมาคม ที่ 143/2546 และตามมติคณะสงฆ์
จังหวัดปราจีนบุรี ครั้งที่ 02/2565 โดยมีพระพิศาลศึกษากร ดร. เจ้าคณะจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธาน
ในพิธี ท้ังนี้ ได้รว่ มมอบประกาศเกียรติคณุ ใหแ้ ก่วัดที่เข้าร่วมโครงการวดั สีขาว นาชาวพุทธห่างไกลยาเสพติด
ซึ่งเป็นวัดที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามโครงการฯ ในระดับดีเด่น จานวน 8 วัด ณ วัดบางเตย อาเภอบ้านสร้าง
จงั หวดั ปราจนี บุรี

.

38
.

39

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2565 ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี
มอบหมายนายวีระ จาลอง นกั วิชาการศาสนาชานาญการพิเศษ นาคณะเจ้าหน้าที่ในสังกัด ร่วมพิธีปิด
โครงการอบรมบาลีก่อนสอบสนามหลวง ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2 - 22 กุมภาพันธ์ 2565 ณ วัดบางกระเบา
(พระอารามหลวง) อาเภอบ้านสรา้ ง จงั หวดั ปราจนี บุรี

.

40

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 10.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ถวายภัตตาหารเพลและสิ่งของพระราชทานแด่พระภิกษุ สามเณร ในการ
สอบบาลีสนามหลวง คร้ังที่ 1 คร้ังหลัง ปี พ.ศ.2565 โดยมีพระพิศาลศึกษากร ดร. เจ้าคณะจังหวัด
ปราจีนบุรี เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และนายพงษ์สิทธิ์ เน่ืองจานงค์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
เป็นประธานในพิธี ในการนี้ นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
ปราจีนบุรี นาคณะเจ้าหน้าที่ในสังกัด ร่วมอานวยการจัดพิธีดังกล่าว และเวลา 12.30 น. ร่วมพิธีเปิด
การสอบบาลีสนามหลวง ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 กุมภาพันธ์ 2565 ณ วัดใหม่กรงทอง อาเภอ
ศรมี หาโพธิ จงั หวัดปราจนี บุรี

.

41

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 10.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ถวายภัตตาหารเพลและสิ่งของพระราชทานแด่พระภิกษุ สามเณร ในการ
สอบบาลีสนามหลวง คร้ังที่ 1 ครั้งหลัง ปี พ.ศ.2565 โดยมี พระพิศาลศึกษากร ดร. เจ้าคณะจังหวัด
ปราจนี บุรี เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และนายพงษ์สิทธิ์ เนื่องจานงค์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี เป็น
ประธานในพิธี ในการน้ี นางวารินทร์ สิกขชาติ ผอู้ านวยการสานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี
นาคณะเจ้าหน้าที่ในสังกัด ร่วมอานวยความสะดวกและปฏิบัติงานศาสนพิธี และเวลา 12.30 น. ร่วมพิธีเปิด
การสอบบาลีสนามหลวง ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 กุมภาพันธ์ 2565 ณ วัดใหม่กรงทอง อาเภอ
ศรมี หาโพธิ จังหวัดปราจนี บุรี

.

42

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 10.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ถวายภัตตาหารเพลและสิ่งของพระราชทานแด่พระภิกษุ สามเณร ในการ
สอบบาลีสนามหลวง ครั้งที่ 1 ครั้งหลัง ปี พ.ศ.2565 โดยมี พระพิศาลศึกษากร ดร. เจ้าคณะจังหวัด
ปราจีนบุรี เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และนายพงษ์สิทธิ์ เนื่องจานงค์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
เป็นประธานในพิธี ในการนี้ นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
ปราจีนบุรี นาคณะเจ้าหน้าที่ในสังกัด ร่วมอานวยความสะดวกและปฏิบัติงานศาสนพิธี และเวลา 12.30 น.
ร่วมพิธีเปิดการสอบบาลีสนามหลวง ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 กุมภาพันธ์ 2565 ณ วัดใหม่กรงทอง
อาเภอศรมี หาโพธิ จังหวัดปราจนี บุรี

.

43

วนั ที่ 26 เมษายน 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดปราจีนบุรี พร้อมด้วยนายอรรถพงศ์ จันทร์แก้ว นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ ร่วมพิธีเปิดสอบ
บาลีสนามหลวง คร้ังที่ 2 และตรวจเยี่ยมถวายกาลังใจแด่พระภิกษุ สามเณร ผู้เข้าสอบ การนี้ ได้รับเมตตา
จากพระเทพรัตนมุนี ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 12 เป็นประธานในพิธีเปิดฯ ร่วมด้วยเจ้าคณะพระสังฆาธิการ
ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 12 รวมถึง คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 12 ณ วดั โสธรวรารามวรวิหาร อาเภอเมืองฉะเชงิ เทรา จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

.

44

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดปราจีนบุรี นาคณะเจ้าหน้าที่สานักงานฯ ออกตรวจเยี่ยม นิเทศ ติดตามการจัดการศึกษา
พระปริยัติธรรมแผนกธรรม - บาลี เพื่อรับทราบปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขพร้อมถวายวัสดุ
อุปกรณ์สาหรบั ใช้ประโยชนใ์ นการเรียนการสอน ในอาเภอกบินทร์บุรี จานวน 5 แห่ง ดงั น้ี

1. สานักศาสนศกึ ษาวัดหนองไผล่ ้อม
2. สานกั ศาสนศกึ ษาวัดคลองกลาง
3. สานกั ศาสนศกึ ษาวัดทุ่งแฝก
4. สานักศาสนศกึ ษาวัดท่าพาณชิ ย์
5. สานกั ศาสนศกึ ษาวัดรตั นชมภู

.

45

วันที่ 26 กรกฎาคม 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี นาคณะเจ้าหน้าที่สานักงานฯ เข้าประชุมพิจารณาเงินอุดหนุน
การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ร่วมกับเจ้าคณะ
ผู้ปกครองสงฆ์ภายในจังหวัด การนี้ ได้รับความเมตตานุเคราะห์จาก พระพิศาลศึกษากร เจ้าคณะ
จังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธานในการประชุม ดังกล่าว ณ วัดใหม่กรงทอง อาเภอศรีมหาโพธิ
จงั หวดั ปราจนี บุรี

.

46

วันที่ 3 สิงหาคม 2565 นางวารินทร์ สิกขชาติ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดปราจีนบุรี พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ในสังกัด จัดโครงการนิเทศ ติดตาม กากับคุณภาพเพื่อ
การประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา วัดแจ้ง ประจาปี
งบประมาณ 2565 โดยพระมหาสมนึก กิตตฺ โิ สภโณ พระปริยตั นิ ิเทศก์จังหวดั ปราจนี บรุ ีร่วมนิเทศก์ฯ กับ
คณะครูและกรรมการสถานศึกษา ณ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา วัดแจ้ง อาเภอ
ประจันตคาม จังหวดั ปราจนี บุรี

.

47

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 เวลา 12.50 น. พระพิศาลศึกษากร ดร. เจ้าคณะจังหวัด
ปราจีนบุรี เป็นประธานนาไหว้พระสวดมนต์ก่อนสอบธรรมสนามหลวง ประจาปีการศึกษา 2564
ซึ่งได้รับความเมตตานุเคราะห์จาก พระเทพรัตนมุนี รก.จล.วัดสระเกศ และพระศรีศาสนวงศ์ รองเจ้า
คณะภาค 12 วัดบางนาใน ในการตรวจเยี่ยมสนามสอบ โดย พระพิศาลศึกษากร ดร. เจ้าคณะจังหวัด
ปราจีนบุรี พร้อมคณะสงฆ์ถวายการต้อนรับ ในการนี้ นางวารินทร์ สิกขชาติ ผอ.พศจ.ปราจีนบุรี
นาคณะเจ้าหน้าที่สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรี เข้าร่วมตรวจเยี่ยมและถวายความสะดวกแด่
คณะสงฆ์ในการสอบครั้งนี้

.

48

ดา้ นเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา

.

49

วันที่ 14 ธันวาคม 2564 เวลา 13:30 น. สนง.พศจ.ปราจีนบุรี โดยนางวารินทร์ สิกขชาติ
ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปราจีนบุรีพร้อมด้วยข้าราชการในสังกัด จัดประชุม
คณะกรรมการสานักปฏิบัติธรรมจังหวัดปราจีนบุรี เพื่อพิจารณาคัดเลือกสานักปฏิบัติธรรมประจา
จังหวัดปราจีนบุรี ดีเด่นและประชุมปรึกษาหารือการปรับปรุงคาสั่งคณะกรรมการปฏิรูปคณะสงฆ์
6 ด้าน พร้อมทั้งได้ถวายความรู้เร่อื งการของบอุดหนุนบูรณปฏิสงั ขรณ์ ตามประกาศสานักงานพระพทุ ธศาสนา
แห่งชาติ และนาเสนอโครงการ พศจ.เยี่ยมวัดพัฒนาวิถีพุทธ โดยได้รับความเมตตาจาก พระพิศาลศึกษากร ดร.
เจ้าคณะจงั หวัดปราจนี บุรี เปน็ ประธานการประชุม ดงั กล่าว

.


Click to View FlipBook Version