The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนธุรกิจแบรนด์ Nong Daeng French Fries

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mr1fisheries, 2022-07-15 09:28:55

แผนธุรกิจแบรนด์ Nong Daeng French Fries

แผนธุรกิจแบรนด์ Nong Daeng French Fries

Keywords: Nong Daeng French Fries

แผนธรุ กิจแบรนด์ Nong Daeng French Fries

โดย
สมาชกิ โครงการ U2T For BCG
ตำบลหนองแดง อำเภอแมจ่ รมิ จงั หวดั น่าน

แผนธรุ กจิ นีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของโครงการขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจและสงั คมฐานรากหลังโควิด
ด้วยเศรษฐกิจ BCG ภายใตก้ ระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม

แผนธรุ กิจแบรนด์ Nong Daeng French Fries

โดย
สมาชกิ โครงการ U2T For BCG
ตำบลหนองแดง อำเภอแมจ่ รมิ จงั หวดั น่าน

แผนธรุ กจิ นีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของโครงการขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจและสงั คมฐานรากหลังโควิด
ด้วยเศรษฐกิจ BCG ภายใตก้ ระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม



บทสรุปผู้บริหาร

แผนธุรกิจทเ่ี ก่ยี วกับการจําหน่ายสนิ ค้าต่าง ๆ จากมันหวานญี่ปนุ่ โดยท่ีมีสินค้าเป็นมันหวาน
ญ่ปี นุ่ ทอด ซง่ึ เปน็ มันหวานท่มี าจากสวนของทางธุรกจิ โดยจะมีช่องทางการจัดจาํ หน่ายอยู่ 2 ช่องทาง
ได้แก่ การจําหน่ายสินค้าผ่านทางหน้าร้าน และการจําหน่ายสินค้าผ่านทางร้านค้าออนไลน์ ทั้งทาง
Facebook, Instagram, Line, Shopee, และ Lazada เพ่อื ใหเ้ ข้าถึงกล่มุ ผู้บริโภคไดง้ า่ ย สะดวกและ
รวดเรว็ กว่าเดมิ

กลุ่มเป้าหมายหลักของธุรกิจจะเป็นกลุ่มลูกค้าทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย เป็นผู้มีรายได้น้อยไป
จนถึงผู้ที่มีรายได้สูง ซึ่งในประเทศไทยเองมันหวานญี่ปุ่นก็เป็นหนึ่งในพืชผักที่ได้รับความนิยมเป็น
อย่างมาก ทำให้ความต้องการมันหวานญี่ปุ่นในประเทศสูง จึงเป็นหนทางที่ธุรกิจจะสามารถนํามัน
หวานญ่ีปุน่ ทป่ี ลกู ไวอ้ อกแปรรปู ผลติ ภัณฑ์มาขายได้

ธุรกิจได้วางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ไว้เป็นสินค้าจากมันหวานญี่ปุ่นคุณภาพดี มีตั้งแต่ราคาถูกไป
จนถึงราคาสูง โดยที่สินค้าของธรุ กิจจะมีการควบคุมคุณภาพของสินคา้ ตามมาตรฐาน เพื่อให้ได้สินคา้
ทม่ี ีคณุ ภาพดี ลกู ค้าเกิดความพึงพอใจ และเกิดความจงรกั ภักดีทำให้เกิดการซือ้ ซ้ำและบอกต่อ

ธุรกิจได้มีการนํากลยุทธ์ในด้านต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามแผนธุรกิจ และทำการ
วิเคราะห์ด้วย เครื่องมือทางการเงินผ่านงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด
ทำให้ทราบถึงความเสี่ยงและ ผลตอบแทนของการลงทุนในธุรกิจ โดยมีการควบคุมและประเมินผล
การดําเนินงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้การดําเนินงานของธุรกิจเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้และเติบโต
อย่างยง่ั ยืน

จากการวิเคราะห์คุณค่าทางอาหารของมันหวานญ่ีปุ่นและผลิตภัณฑ์ พบว่ามีลักษณะเด่นใน
ด้านสารตา้ นอนุมลู อสิ ระสูง มีรสชาติเปน็ เอกลักษณ์และสีสดใส มว่ ง เหลอื ง ส้ม ตามธรรมชาติ จึงเหน็
ควรที่จะมพี ัฒนาต่อยอดในดา้ นบรรจุภัณฑ์ อายกุ ารเกบ็ ฉลาก เพอ่ื ยกระดบั ให้เป็นสนิ คา้ เดน่ ในชุมชน
และสง่ เสรมิ ให้ได้รบั การคัดสรรเปน็ สนิ ค้าหนง่ึ ตำบลหนงึ่ ผลติ ภัณฑ์ต่อไป



กติ ตกิ รรมประกาศ

การจัดทำแผนธุรกิจการค้นคว้าด้วยตนเองฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ได้เนื่องมาจากความ
อนุเคราะห์จากท่านอาจารย์เจียมจิตร ช่างสาร ที่ได้ให้คำปรึกษา เสนอแนะและตรวจสอบแผนธุรกจิ
ฉบับ ให้ลุล่วงไปด้วยดี ผู้จัดทําขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัด
ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน สำหรับความรู้
ตลอด ระยะเวลาที่ศึกษาและผู้ที่เชี่ยวชาญทุกท่าน ท้ายขอกราบขอบคุณสำหรับผู้ที่ให้ความรู้และ
ความ เข้าใจและสนบั สนนุ ในการทำแผนธรุ กิจนี้จนสมบรู ณ์และ ขอขอบคุณมิตรภาพตลอดระยะเวลา
การศึกษาในหลกั สูตร

U2T for BCG ตำบลหนองแดง
คณะผู้จดั ทำ

สารบัญ ค

บทสรุปผู้บรกิ าร ก
กิตตกิ รรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบัญตาราง ง
บทท่ี 1 บทนำ 1
1
1.1 การแนะนำธุรกิจ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 เปา้ หมายทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 2
1.4 เปา้ หมายของโครงการ 2
1.5 ผลติ ภัณฑข์ องธรุ กจิ 3
บทที่ 2 การวเิ คราะหป์ จั จยั แวดล้อมทางธรุ กจิ 3
2.1 การวเิ คราะห์ปจั จยั แวดล้อมและปจั จยั เส่ยี งท่เี กิดจากปัจจัยแวดล้อม 4
2.2 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 6
2.3 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 8
2.4 ปัจจยั เสยี่ งทเ่ี กิดจากปจั จัยแวดล้อมภายใน 9
2.5 ปัจจยั เส่ยี งทเ่ี กดิ จากปจั จัยแวดลอ้ มภายนอก 10
บทท่ี 3 การวิเคราะหต์ ลาด 11
- ด้านการแข่งขัน
- ขอ้ ไดเ้ ปรยี บและขอ้ เสียเปรียบของแต่ละอุตสาหกรรมท่ีอาจเป็นคแู่ ข่งขัน 12
ของอตุ สาหกรรมของขบเคี้ยว
- การวเิ คราะห์สภาพการแข่งขนั ภายนอกของอุตสาหกรรมโดยใช้ 12
FIVE-FORCE MODEL 13
- อุปสรรคดา้ นคู่แข่งรายใหม่ทจี่ ะเขา้ มา 13
- อุปสรรคดา้ นอำนาจต่อรองของผูข้ ายปัจจัยการผลติ 14
- การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก

บทท่ี 4 กลยทุ ธ์ดา้ นการบริหารและการดําเนนิ งาน 17
4.1 วตั ถปุ ระสงค์การบริหารและการดําเนนิ งาน 17
4.2 การกำหนดหนา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบ 17
4.3 การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน 18
4.4 การประเมินผลการปฏบิ ัติงาน 19
4.5 ภาพรวมของธรุ กจิ 21
25
บทท่ี 5 แผนการผลติ 25
5.1 สถานท่ีประกอบการผลติ 25
5.2 วัตถุดบิ ใชใ้ นการผลติ 25
5.3 อปุ กรณ์และเครอ่ื งมือท่ีใช้ในการผลติ 26
5.4 กระบวนการผลติ ของ 29
29
บทท่ี 6 แผนฉุกเฉนิ 29
1. การเขา้ มาของคแู่ ขง่ รายใหม่ 29
2. ยอดขายต่ำกวา่ เปา้ หมาย 29
3. กําลังการผลติ ไม่เพียงพอ 29
4. ราคาของปจั จยั ทนุ การที่เพม่ิ ขึ้น 30
5. การขาดสภาพคลอ่ งทางการเงิน 30
30
บทท่ี 7 แนวทางการปรับปรุงเพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถ 30
- ด้านการบรหิ ารจดั การ 31
- ด้านการตลาด
- ดา้ นการผลิต

บรรณานกุ รม

สารบญั ตาราง ง

ตารางท่ี 2.1: แสดงรายละเอียด SWOT Analysis 3
ตารางที่ 2.2: ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายใน 8
ตารางที่ 2.3: ปจั จยั เสี่ยงท่ีเกิดจากสภาพแวดลอ้ มภายนอก 9
ตารางท่ี 2 แสดงถึงปัจจัยภายในท่มี ผี ลต่อองคก์ รการตลาด 14
ตารางท่ี 3 แสดงปัจจัยภายนอกทม่ี ีผลต่อองคก์ ร 15
ตารางท่ี 3 (ต่อ) 16
ตารางแสดง Business Model Canvas ของผลิตภณั ฑ์จากมนั ม่วง 21
ตารางแสดง Business Model Canvas ของผลติ ภัณฑ์จากมันสม้ 22

บทท่ี 1

บทนาํ

1.1 การแนะนาํ ธรุ กิจ
มันหวานญี่ปุ่นทอดกรอบ เป็นการนํามันหวานญี่ปุ่นมาแปรรูปในรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเรียกได้ว่า

เป็นการถนอมอาหาร ชนดิ ทไ่ี ด้ผลตอบรบั เป็นอยา่ งดี การนาํ มนั หวานญป่ี นุ่ มาแปรรูปด้วยการทอดนั้น
ทำให้เกิดเป็นขนมอีกชนิดหนึ่ง มันหวานญี่ปุ่น (Japanese Sweet Potato) หรือมันเทศญี่ปุ่น มี
ลักษณะเนื้อแน่นและรสชาติหวานกว่ามันเทศไทย มีสีเปลือกและสีของเนื้อแตกต่างกันไปตามสาย
พันธุ์ เช่น สีเหลือง สีม่วงและสีส้ม รสชาติอร่อย ในปัจจุบันเกษตรกรนำมันหวานญี่ปุ่นมาปลูกใน
ประเทศไทยกันมากขึน้ ซึ่งมีคุณภาพไม่ต่างจากมันหวานที่นำเข้าจากประเทศญี่ปุน่ แต่มีราคาที่ถกู ลง
เยอะ มันเทศเป็นพืชที่มีหัวอยู่ใต้ดิน มีรสหวาน มีเนื้อในหลากสีสันตามสายพันธุ์ เช่น สีส้ม สีขาว สี
แดง สีเหลืองหรือสมี ่วง เปน็ ต้น ในมนั เทศมเี อนไซม์ที่สามารถเปลีย่ นแป้งให้เปน็ นำ้ ตาลได้ โดยมันเทศ
จะมีรสหวานยิ่งขึ้นเมื่อเก็บไว้เป็นเวลานานหรือนำไปปรงุ อาหาร เช่น ต้ม นึ่ง อบ หรือทอด มันหวาน
ญป่ี ุน่ ถือเป็นสนิ ค้าเกษตรอีกตวั นงึ ทีส่ ามารถนำมาขายออนไลน์กันได้งา่ ย เป็นพชื ท่ีเกษตรกรสามารถ
ปลูกขายเองใหก้ ับผู้บรโิ ภคได้ ในราคาที่ถกู กวา่ ท่ีขายกนั ในหา้ งสรรพสินค้า
1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ความสามารถด้านการผลิตมันหวานในรูปแบบเกษตร
ร่วมสมัยไมน่ ้อยกวา่ 50 คน

1.2.2 เพอ่ื พฒั นาผลิตภณั ฑอ์ าหารท่ีเก่ยี วข้องกบั มนั หวาน ไม่นอ้ ยกว่า 2 ชิ้น
1.2.3 เพื่อพัฒนาสื่อตลาดส่งเสรมิ การจำหน่ายผลผลติ และผลติ ภณั ฑ์ จำนวน 1 ช้นิ
1.2.4 เพอ่ื พัฒนาผลิตภัณฑเ์ ฟรนชฟ์ รายสจ์ ากมันหวาน ไม่นอ้ ยกว่า 1 ชิน้
1.3 เปา้ หมายทค่ี าดว่าจะได้รับ
1.3.1 การพฒั นาทักษะดา้ นการปลูกมนั หวานในบรบิ ทเกษตรรว่ มสมยั
1.3.2 การพฒั นาทกั ษะในการผลิตอาหารปลาก่งิ เปยี กจากผลผลติ มนั หวานตกเกรด
1.3.3 การพฒั นาทักษะดา้ นการแปรรูปผลติ ภัณฑ์มนั หวาน
1.3.4 การพฒั นาทกั ษะดา้ นการผลติ สอื่ ตลาดสง่ เสริมผลผลติ และผลิตภณั ฑจ์ ากมนั หวาน

2

1.4 เปา้ หมายของโครงการ
1.4.1 การยกระดับขีดความสามารถด้านการแข่งขันกิจกรรมการแปรรูปผลผลิ ตทาง
การเกษตรเป็นผลติ ภัณฑช์ ุมชนฐานรากดว้ ยเศรษฐกจิ BCG

1.5 ผลิตภัณฑ์ของธรุ กิจ
ธุรกจิ นี้มีผลติ ภัณฑ์แปรรปู ได้แก่ เฟรนชฟ์ รายส์มันหวานสีมว่ งทอดกรอบและเฟรนช์ฟรายส์มัน

หวานสสี ้มทอดกรอบ

บทท่ี 2
การวเิ คราะหป์ จั จัยแวดลอ้ มทางธรุ กจิ

การวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมทำงธุรกิจนั้น เป็นการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อธุรกิจ โดย แบ่ง
ออกเป็น 2 หัวข้อใหญ่ คือ ปัจจัยแวดล้อมภายใน และปัจจัยแวดล้อมภายนอก ทั้ง 2 หัวข้อน้ี เป็น
ปจั จยั ที่สง่ ผลกระทบต่อธรุ กิจ ซงึ่ อยูภ่ ายใตแ้ นวคิดและทฤษฎีในเรื่อง SWOT Analysis การวิเคราะห์
ปัจจยั เสีย่ งโดยใชเ้ ครื่องมือ SWOT จะชว่ ยใหส้ ามารถมองเห็นปัจจยั เสี่ยงท่ีเกดิ ขึ้นได้อย่างชัดเจนและ
ยงั ครอบคลมุ ไปถึงการวางกลยุทธท์ ี่เหมาะสมกับธุรกจิ เพ่ือกำจดั ปจั จัยเสย่ี งทีม่ ี โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
2.1 การวิเคราะห์ปัจจยั แวดล้อมและปจั จัยเส่ียงท่เี กิดจากปัจจัยแวดล้อม

จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่เหมาะสมคือ SWOT โดยแนวคิด และ
ทฤษฎีของ SWOT จะมีการวิเคราะห์โดยแบ่งเป็นปัจจัยแวดล้อมภายใน คือ จุดแข็ง และ จุดอ่อน
ปจั จยั แวดลอ้ มภายนอก คอื โอกาส และ อุปสรรค
ตารางที่ 2.1: แสดงรายละเอียด SWOT Analysis

จดุ แขง็ (Strengths)
1. ในตำบลมีผลผลิตทางการเกษตรทีห่ ลากหลาย เช่น มันหวาน
2. เปน็ พืชทเ่ี ป็นทต่ี อ้ งการของตลาดค่อนข้างมาก สามารถสร้างรายได้ที่ดใี หก้ ับผปู้ ระกอบการ
3. มันหวานท่เี กษตรกรในพ้ืนท่ีปลูกมีผลผลติ ขนาดใหญ่มเี นื้อท่เี นียนละเอียดเส้นใยน้อย และมีสีสัน

สวยงาม

4

4. มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อีกทั้งยังใช้แรงงานปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิตค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบ
กบั พืชชนิดอื่น

5. ชมุ ชนเขม้ แข็งโดยมีการรวมกลุม่ ของคนในตำบลเพื่อคอยดแู ลการดำเนินการและชอ่ งทางการจดั
จำหน่าย

จุดอ่อน (Weaknesses)
1. มเี กษตรกรปลูกมันหวานน้อยราย
2. คนในพนื้ ทยี่ ังขาดผู้ให้ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและการเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ให้สมดุล

กับทุน
3. ในชมุ ชนยังไม่มีการจดั ทำและขาดความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑจ์ ากมนั หวาน
4. การกระจายรายได้หรือผลประโยชน์ที่เกิดจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่มาจากผลิตผลทาง

การเกษตรยังไมท่ ่ัวถึงทุกพื้นที่
โอกาส (Opportunities)
1. เปน็ ช่องทางในการเสรมิ สร้างรายไดแ้ ละอาชพี ใหมใ่ ห้แกป่ ระชาชนในพ้ืนทีต่ ำบลหนองแดง
2. เนื่องจากมันหวานเป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่ตอ้ งการสูงในตลาดดังนั้นการขยายกล่มุ

เกษตรกรผู้ปลกู มันหวานจึงเปน็ การเพม่ิ รายได้เฉล่ยี ให้กบั คนในพ้ืนท่ี
3. เพอ่ื เพิม่ มลู ค่ามันหวานท่ตี กตำ่ ในพ้นื ที่ใหม้ มี ลู ค่าสูงข้ึน
4. มีเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัลที่ทันสมัย สามารถนำมาใช้เป็นช่องทางในการจำหน่าย โฆษณา และ

ประชาสมั พันธ์ เชน่ Shopee, Lazada, YouTube, Facebook และ Tiktok เป็นตน้
อุปสรรค (Threats)
1. ผลผลติ ในพื้นท่มี รี าคาตกตำ่ ประชาชนในพื้นทจ่ี ึงมีตน้ ทุนต่ำ
2. ปัญหาเศรษฐกิจที่ผันผวนทำให้เกษตรกรไม่กล้าที่จะลงทุนในการทำผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับมัน

หวาน
3. ผลติ ภณั ฑจ์ ากชมุ ชนขาดส่ือดิจิทลั ในการโฆษณาและประชาสัมพนั ธ์
2.2 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน

เปน็ การวิเคราะห์ ตรวจสอบ สิ่งทีอ่ ยู่ภายในองค์กรของเราเองอาจเป็นท่ีบุคคลกรทรัพยากรที่
องค์กรมี โดยใชก้ ารวเิ คราะห์ จดุ แขง็ และจุดอ่อน
1. ปัจจยั ดา้ นการตลาด เปน็ การวางตำแหน่งทางการตลาดของแบรนดห์ รือผลิตภัณฑ์ หรือ
การกำหนดส่วนแบง่ การตลาดท่สี ามารถวิเคราะหไ์ ด้
- สถานการณ์ Nong Daeng French Fries เป็นแบรนด์ที่เริ่มต้นใหม่ ภายใต้โครงการโครงการ

ขับเคลอ่ื น เศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG โดยนำมันหวานที่เป็นที่

5

ต้องการในตลาดแต่ในพ้ืนที่มี ราคาผลผลิตที่ต่ำ จึงนำมาเพิ่มมูลค่าโดยการนำมาแปรรูปเป็นเฟ
รนชฟ์ รายส์
- ผลตอ่ ธรุ กจิ จากการท่ีแบรนด์เพ่มิ เริ่มตน้ ทำให้ยังไม่เปน็ ทีร่ ู้จัก รวมไปถึงตัวสินค้าท่ียังไม่คุ้นกับ
ผู้บริโภค ส่งผลให้แบรนด์จำเป็นต้องมีการทำตลาดที่ค่อนข้างหนัก เพื่อให้คนรู้จักกับแบรนด์
และตัวสินค้า
2. ปจั จัยด้านเทคโนโลยี ในปัจจุบัน มีเทคโนโลยมี ากมายเกิดข้ึน และตวั เทคโนโลยีใหม่ ๆ
สามารถช่วยเหลอื การทำงานต่าง ๆ ได้เป็นอยา่ งดี
- สถานการณ์ เฟรนช์ฟรายส์มันม่วงทอด เฟรนช์ฟรายส์มันส้มทอด เป็นสินค้าที่จำเป็นต้องมี
กระบวนการแปรรูปหรือการผลิต เพอ่ื ใหไ้ ดส้ นิ คา้ ทีม่ ีมาตรฐาน ดว้ ยเทคโนโลยีท่ชี ่วยในการผลิต
น้นั ทางแบรนด์ไดร้ ับการอนุเคราะหจ์ ากทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา
- ผลต่อธุรกิจ คือ การได้รับเทคโนโลยีที่ช่วยในขั้นตอนการแปรรูปทำให้ทางแบรนด์ประหยัด
ตน้ ทนุ ในการผลติ
3. ปจั จัยดา้ นการขาย การขายเป็นการสง่ สาร ส่งขอ้ มลู เปน็ การสื่อสารกับผบู้ ริโภค การจูงใจ
ลูกคา้ ให้เกดิ การตัดสินใจไดง้ า่ ยมากยิง่ ข้ึนในการซ้ือสินคา้
- สถานการณ์ ผู้บริโภคในตลาดยังไม่รู้จักกับแบรนด์และตัวสินค้า การที่ทำแบรนด์อยู่ในระยะ
เร่ิมต้นในการทำ การตลาด และมกี ารทำเพจการขายซึ่งอย่ใู นระยะเร่ิมต้นจึงยังไม่เปน็ ท่ีรูจ้ ัก
- ผลต่อธุรกิจ คือ ลูกค้ากลุ่มเป้าหมายยังไม่ได้รับข้อมูลข่าวสาร ของสินค้าและแบรนด์อย่าง
ท่วั ถงึ และบคุ ลากร ในองค์กร ยังไม่มีความรู้ความชำนาญที่มากพอในการขาย อีกทั้งยังมี
ประสบการณ์ไมม่ ากพอ
4. ปัจจัยด้านการเงนิ การลงทนุ ทำธุรกจิ จำเป็นตอ้ งขบั เคลือ่ นด้วยเงนิ ทุน จงึ ถอื วา่ เปน็ ปัจจัยสำคัญ
ในการดำเนนิ ธุรกิจ ในการทำธรุ กิจ จะมกี ารซ้อื วัตถุดบิ หรือการจดั การต่าง ๆ ล้วน แล้วแต่มีการ
ใชเ้ งินทง้ั สิ้น
- สถานการณ์ เป็นธุรกิจที่กำลังเริ่มต้น จำเป็นต้องลงทุนใหม่ทั้งหมดทั้งสถานที่ บุคลากร
อุปกรณเ์ คร่ืองใช้ วัตถดุ บิ ดงั นัน้ การทำการตลาดจะมีการลงทนุ อย่างหนกั ในชว่ งแรก
- ผลตอ่ ธรุ กิจ คือ ธุรกจิ มีการเติบโตท่ชี ้า จำเปน็ ต้องสร้างการรบั รใู้ ห้กบั ลกู ค้าอย่างสม่ำเสมอ

6

2.3 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก เป็นการวเิ คราะหป์ ัจจัยท่ีไม่สามารถควบคมุ ได้ โดยอยู่

ภายนอกองคก์ ร ซ่งึ เป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลกับธรุ กิจทั้งทางตรงและทางอ้อม วเิ คราะห์ในหัวข้อ โอกาส และ
อปุ สรรค เป็นจดุ ท่ีต้องคำนงึ ถึงเพอื่ ลดความเสี่ยงหรือเพิ่มโอกาสในการทำธรุ กิจ

1. ปัจจัยดา้ นผู้ขาย ผผู้ ลติ หรอื Suppliers คอื ผู้ที่ทำการผลิตวัตถดุ บิ ใหก้ บั แบรนด์ ในทน่ี ร้ี วมไป
ถงึ ผทู้ ที่ ำการผลิตสินค้าให้ในกรณีที่แบรนด์ไมไ่ ด้ทำการผลิตสนิ ค้าเอง

- สถานการณ์ ทางแบรนด์มีการติดต่อส่ือสารกบั ทางผ้ผู ลิตวัตถุดบิ หรือเกษตรกรที่ทำการปลูก
มันหวานญีป่ ่นุ ทเ่ี ป็นวัตถุดิบหลักของสนิ ค้า เพอื่ ทำการกำหนดราคาของวัตถดุ ิบและจำนวนท่ี
ต้องการ

- ผลต่อธุรกิจ คือ ได้เห็นสินค้าและกระบวนการปลูกเพื่อควบคุมมาตรฐานของวัตถุดิบ และ
มอบกำไรของวตั ถดุ บิ ใหก้ บั เกษตรกรโดยตรงไม่ผา่ นพ่อคา้ คนกลาง

2. ปัจจัยด้านการเมือง กฎหมาย คือ ปัจจัยทางด้านการเมืองที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจ นโยบาย
ของภาครฐั สถานะความมั่นคงของรฐั บาล อิสรภาพท่ีรฐั บาลมอบให้กบั อตุ สาหกรรมต่าง ๆ

- สถานการณ์ รัฐบาลมีการสนับสนุนการทำธุรกิจให้กับประชาชน โดยมีนโยบายต่าง ๆ
มากมายที่ช่วยให้การเริ่มต้นทำธุรกิจเป็นไปได้ง่ายมากขึ้น ทั้งทางด้านการค้าเสรี การเงิน
และท่เี หน็ ไดช้ ัดคือนโยบาย 4.0

- ผลต่อธุรกิจ คือ แบรนด์สามารถลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น และทำให้มีแนวโน้มที่สามารถ
เตบิ โตได้เป็นอย่างดี อกี ทงั้ ยังมีองค์กรทช่ี ว่ ยในการพัฒนาสนิ ค้าให้มีคุณคา่ มากยง่ิ ข้นึ

3. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สามารถเป็นตัวบ่งบอกได้ถึงการบริโภคของคนในประเทศ กําลังซื้อของ
คนในประเทศ ซงึ่ จะสามารถช่วยให้เราวางแผนทางด้านการตลาดใหก้ บั แบรนด์

- สถานการณ์ ปัจจุบันรัฐบาลมีแผนงานในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก
การแพร่ระบาด ของ COVID-19 ที่มุ่งเน้นการรักษาระดับการจ้างงานของผู้ประกอบการ
และกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ ประกอบกับที่รัฐบาลได้กำหนดให้เศรษฐกิจชีวภาพ
เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG
Economy) เป็นยุทธศาสตร์ชาติในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จึงได้มีการดำเนิน
“โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG” ซึ่งเป็นการ
ดำเนินการเพอื่ พฒั นาเศรษฐกิจฐานราก ด้วยเศรษฐกิจ BCG

- ผลต่อธุรกิจ คือ โครงการดังกล่าวทำให้เกิดการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการ
แข่งขันของภาคการผลิตและบริการด้าน BCG ในพื้นที่ด้วยองค์ความรู้ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม เพิ่มการจ้างงานบัณฑิตที่พึ่งจบการศึกษาและประชาชนในพื้นที่ เกิดการพัฒนา
กำลงั คนให้มที กั ษะพืน้ ฐานท่ีจำเป็นตอ่ การทำงานในปจั จบุ นั และทักษะที่เกี่ยวข้องกับ

7

เศรษฐกิจ BCG อีกทั้งยงั เกิดการพัฒนาฐานข้อมูล Thailand Community Big Data (TCD)
ใหม้ คี วามสมบูรณ์ครอบคลมุ ในทกุ พ้ืนท่ีของประเทศ
4. ปัจจัยด้านสังคม เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม สภาพสังคม วัฒนธรรม ความชื่น
ชอบของคนในสังคม ค่านิยมส่วนใหญ่ในสังคม ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทำให้เราพบว่าเราควรทำ
การตลาดอย่างไร เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด คา่ นิยมของสังคมจะมผี ลต่อการตดั สนิ ใจซื้อของ
ผู้บริโภค และขนาดของประชากรทเ่ี พิ่มขึ้น
- สถานการณ์ ปัจจุบันเทรนการบริโภคของผู้บริโภคเริ่มเปลี่ยนไปนับตั้งแต่เกิดโรคภัยที่เพ่ิม
สูงขึ้น ผู้บริโภคจงึ หันมารับประทานอาหารที่ทำจากผกั ผลไม้เป็นสว่ นใหญ่ ทั้งนี้แนวโนม้ ของ
ผบู้ รโิ ภคเปลี่ยนมาทานมงั สวิรัติก็เพม่ิ สงู ขนึ้ เชน่ กนั ดังน้ันอาหารหรอื ของกินเลน่ ท่ีผลิตมาจาก
ผกั ผลไม้จึงเป็นทีน่ ิยมในตลาด
- ผลต่อธรุ กจิ คอื เฟรนช์ฟรายสม์ ันมว่ งทอด เฟรนช์ฟรายสม์ ันสม้ ทอด อาจได้รับความนิยมใน
ตลาด เนื่องจากผลิตมาจากมันหวานซึ่งเป็นทางเลือกนึงของผู้บริโภคที่รักสุขภาพและทาน
มงั สวริ ัติ
5. ปัจจยั ด้านคู่แขง่ สภาวะการแข่งขนั ในตลาดของทุกอุตสาหกรรมจะมีการแข่งขนั ของคู่แข่งอยู่
ตลอดเวลา ทำใหธ้ รุ กิจเกิดการเติบโตหรอื ถดถอย รวมไปถงึ เป็นตัวชว่ ยในการคาดการณ์ ของ
สนิ ค้าท่จี ะวิเคราะห์ถงึ แนวโนม้ ตลาด
- สถานการณ์ ในปัจจุบันแบรนด์ที่มีการผลิตสินค้าผลไม้แปรรูปยังมีไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะมี
การแปรรูปสินค้าชนิดอื่น และยังเป็นคู่แข่งขนาดกลางที่ยังไม่ครองส่วนแบ่งการตลาดที่
ชดั เจนมากนัก
- ผลต่อธุรกิจ คือ ทางแบรนด์ยังมีโอกาสที่จะครองส่วนแบ่งการตลาดในอุตสาหกรรมนี้ และ
ผ้บู รโิ ภคยังไมม่ ีการจดจําแบรนด์ใดทเี่ ปน็ แบรนดห์ ลัก ทำให้การสร้างการจดจําให้กับแบรนด์
มโี อกาสสูงท่ลี ูกคา้ จะจดจําไดใ้ นครงั้ แรกๆท่ีมีการสง่ ข้อมลู ต่าง ๆ

8

2.4 ปัจจยั เสยี่ งท่ีเกดิ จากปจั จยั แวดล้อมภายใน
ตารางท่ี 2.2: ปจั จัยเสี่ยงท่เี กิดจากสภาพแวดล้อมภายใน

ประเภทของปัจจยั เสี่ยง 1 ระดับความเส่ียง แนวทางท่ีต้องดําเนินการเพื่อลด /
234 5 ป้องกันความเส่ียง
1. ปัจจัยด้านการตลาด มีความเสยี่ ง
ในระดับปานกลาง เนอ่ื งจากคนส่วน ✓ เนน้ การทําตลาดที่ไม่มีค่าใช้จ่ายหรือมี
ใหญ่ยังไม่มีการจดจําแบรนด์ใดเป็น ✓ การลงทุนที่ตํ่าแต่ขยายตัวในวงกว้าง
หลกั แต่จะเสย่ี งใน เรอ่ื งของเงนิ ทุนที่ เชน่ การทําการตลาด online ท่ี
ใชใ้ นการทํา ✓ สามารถเข้าถึงตัวลกู ค้าได้เป็นวงกว้าง
2. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี มีความเสยี่ ง และมีค่าใช้จ่ายที่สามารถควบคุมได้
ในระดับตํ่า ✓ ทําการสํารวจผผู้ ลติ ท่ีได้มาตรฐานและ
มีการทําสญั ญาที่ชัดเจนกอ่ นมีการจ้าง
3. ปัจจัยด้านการขาย มีความ เสยี ง ผลิต รวมไปถึงการคํานวณอตั ราการ
ระดับตํ่า เนอ่ื งจากสงิ่ สาํ คัญ เป็น เติบโตของแบรนด์เพ่อื วางแผนในการ มี
เพียงการทําให้ลูกค้าได้รบั รถู้ ึง ตัว เทคโนโลยีท่ีผลติ ได้เอง
สนิ ค้าและแบรนด์ การจัดการกบั บุคลากรท่ีมีอยใู่ ห้เกดิ
ความรคู้ วามสามารถที่มากขน้ึ โดย
4. ปัจจัยด้านการเงนิ มีความเสยี่ ง การจัดอบรม หรอื มีการเสรมิ ทักษะ
ระดับปานกลาง เนอื่ งจากการขอ ด้านต่างๆ เพือ่ ให้บุคลากรมีความ
เงนิ ทุนจําเป็นต้องใช้เวลาและต้อง มี ชาํ นาญและหลากหลายใน
การสร้างความมน่ั คงให้กบั แบรนด์ ความสามารถ รวมไปถึงเพม่ิ ชอ่ งทาง
ในการจัดจําหนา่ ยท่ีสามารถเข้าถึงตัว
ลูกค้าได้อย่างท่ัวถึง
มีการคํานวณการลงทุนอย่างละเอยี ด
รอบคอบ เพื่อให้ไม่เกดิ ค่าใชจ้ ่ายที่ไม่
จําเป็น หรือต้นทุนสน้ิ เปลืองที่จะทําให้
สภาพคล่องทางการเงนิ ติดขัด

9

2.5 ปจั จยั เส่ียงทเ่ี กิดจากปัจจยั แวดลอ้ มภายนอก
ตารางท่ี 2.3: ปัจจยั เส่ยี งทเี่ กิดจากสภาพแวดลอ้ มภายนอก

ประเภทของปัจจยั เสี่ยง ระดับความเสี่ยง แนวทางที่ต้องดําเนินการเพ่ือลด /

12345 ป้องกันความเสี่ยง

1. ปัจจัยด้านผู้ขาย มีความเส่ียง ใน สรา้ งความนา่ เช่ือถือผู้ผลิตและมีการ

ระดับกลาง เนือ่ งจากมีผู้ผลิตหรอื วางแผนฉุกเฉินในส่วนของผู้ผลิตท่ีอาจ
เกษตรกรในจํานวนนอ้ ยรายท่ี ✓ เกดิ ขึ้นโดยมีผู้ผลติ อยู่ในระบบอย่างนอ้ ย

สามารถผลิตวัตถุดิบได้ จํานวน 3 ราย

2. ปัจจัยด้านการเมือง มีความ เสียง จัดทําแผน แนวทางของธุรกจิ ให้

ระดับตํ่า เน่อื งจากนโยบายต่างๆทาง สอดคล้องกบั นโยบายและพรอ้ มรับมือ
การเมืองมีระยะเวลากาํ หนดสามารถ ✓ กบั การเปล่ียนแปลง

วางแผนไป

3. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ในระดับตํ่า จัดการส่งเสริมการตลาดเพ่ือกระตุ้นการ

เนือ่ งจากประเทศมีการค้าเสรีที่ ซื้อสนิ ค้า และมีการวางกลยุทธ์ในการ

สามารถค้าขายระหว่างประเทศได้ ✓ เติบโตในต่างประเทศเพื่อลดความเส่ียง

เศรษฐกจิ ในประเทศไทย โดยเติมเต็ม

ชอ่ งว่างทางด้านเศรษฐกิจน้ี

4. ปัจจัยด้านสังคมมีความเส่ียง พัฒนาสนิ ค้าเพ่ือตอบสนองความ

ระดับปานกลาง เน่อื งจากคน ส่วน ต้องการ ของลกู ค้าให้ทันกบั ค่านยิ มของ

ใหญ่มีค่านยิ มท่ีเอนเอยี งไป ทาง ยุคสมัย เพ่ิมสินค้าที่เข้ากบั ค่านยิ มของ
ต่างประเทศ ✓ คนใน ปัจจุบัน และสื่อสารกบั ลูกค้าให้

ได้รบั ข้อมูลและการโฆษณาอย่างทั่วถึง

5. ปัจจัยด้านคู่แข่ง มีความเส่ียง มีการกําหนดจุดยืนท่ีชดั เจน สร้างความ
ระดับตํ่าเพราะมีคู่แข่งอยู่นอ้ ยรายใน มั่นคง และสร้างฐานลูกค้าท่ีย่ังยืน เพ่ือ
ปัจจุบัน ลดความเส่ียงในการถูกคู่แข่งรายใหม่ถึง
✓ ลกู ค้าพัฒนาสินค้าให้ดีข้ึนอยู่เสมอ เพื่อ
เป็นผู้นาํ ในตลาดและเป็นผู้ที่ครองส่วน
แบ่งการตลาดมากที่สุด

บทท่ี 3 การวเิ คราะหต์ ลาด

ปจั จยั สำคัญทม่ี ีผลตอ่ ความตอ้ งการ (Demand)

1. เนื่องจากผลไม้ทอดกรอบจัดเป็นสินค้าไม่จําเป็นต่อผู้บริโภคในการรับประทาน ผลไม้ทอด
กรอบในชีวิตประจำวัน ดังนั้นผลไม้ทอดกรอบจัดเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย ผลไม้ทอดกรอบ เป็น
สนิ คา้ ท่ีมีความยดื หย่นุ สงู

2. ผลไม้ทอดกรอบ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีวัตถุดิบที่ใช้ทดแทนกันได้หลายชนิด ซึ่งมีวิธีการ ทอด
กรอบหลากหลายชนิดด้วยกัน หากผลไม้ทอดกรอบยี่ห้อหนึ่งมีราคาแพงขึ้นความต้องการ
ลดลง โดยผบู้ ริโภคจะหันมาซ้ือผลไม้ทอดกรอบย่หี อ้ อื่นแทน แต่ในบางครงั้ ผลติ ภณั ฑ์ประเภท
เดียวกันแต่ผู้บริโภคมีความภักดีในตราสินค้า (Brand loyalty) จะซื้อผลไม้ทอดกรอบนั้น ๆ
ตอ่ ไป เรอ่ื ย ๆ แม้วา่ สนิ คา้ ทใี่ ช้ทดแทนกันมรี าคาเปล่ียนแปลง

3. ปัจจุบันประชากรโลกต่างหันมาใส่ใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น เนื่องจากโลกยุคโลกาภิวัตน์มีการ
ติดต่อ สื่อสารไร้พรมแดน ข่าวสารเผยแพรร่ ะหว่างกนั ได้รวดเร็ว ประชากรในประเทศต่าง ๆ
มีรสนิยมในการรับประทานอาหารใกล้เคียงกัน คือ นิยมอาหารเพื่อสุขภาพ เนื่องจาก
ผู้บริโภคต่างหวาดกลัวกับโรคภัยไข้เจ็บมากขึ้น จะเห็นได้จากประเทศไทยในช่วง 1-2 ปีท่ี
ผ่านมา มานี้กระแสการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ กําลังเป็นนิยม ผู้บริโภคมีแนวโน้ม
บรโิ ภคเนอ้ื สตั ว์ ลดลง หันมาบรโิ ภคผักผลไม้มากขึ้น ทําให้ความต้องการในผักผลไม้ชนิดต่าง
ๆ เพม่ิ มากข้นึ รวมไป ถึงความต้องการ ในผลไม้ทอดกรอบท่เี พ่ิมมากข้ึนด้วย

4. ภาวะเศรษฐกิจเป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อความต้องการของผลไม้ทอด กรอบ
เนือ่ งจากผลไม้ทอดกรอบจดั เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย เมื่อภาวะเศรษฐกจิ ไม่ดี ผู้บริโภคจำเป็นต้อง
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสินค้าฟุ่มเฟือยให้ลดลง จึงลด
ความ ต้องการในผลไม้ทอดกรอบลง แต่ในทางตรงกันข้าม หากภาวะเศรษฐกิจดี ผู้บริโภคมี
รายได้ มากกว่ารายจ่ายก็จะมีเงินออมเหลือ สามารถนํามาจับจ่ายใช้สอยบริโภคสินค้า
ฟมุ่ เฟือยได้ตามความ ต้องการในผลไมท้ อดกรอบเพ่มิ มากข้นึ

11

ด้านการแข่งขัน

- การแข่งขันในตลาดผลไม้ทอดกรอบอยู่ในระดับปานกลางถึงสูง และในประเทศไทยยังสามารถ
ส่งออกผลไมท้ อดได้เป็นจํานวนมาก

- ผู้ผลติ ผลไมแ้ ปรรปู ผลไมท้ อดกรอบ ประเภทขนมขบเคย้ี ว ปัจจบุ นั เปน็ ผทู้ ่ีผลติ อยู่ นานแลว้ แต่ยัง
ขาดความสามารถในการผลิตที่มีคุณภาพ และมีจํานวนผู้ประกอบการน้อยร้ายที่ให้ ความส ำคัญ
กับการโฆษณาผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เป็นท่ีรูจ้ ักของผู้บริโภค เนื่องจากผู้ประกอบการที่เป็น คู่แข่งส่วน
ใหญ่เน้นการเจาะตลาดตา่ งประเทศ ซึ่งบริษัท Fresh Food จะทําการเจาะตลาดภายใน ประเทศ
โดนดำเนินตามแผนที่ บริษทั วางแผนไวอ้ ุตสาหกรรมท่อี าจเป็นคู่แขง่ ขัน อตุ สาหกรรมที่อาจถือเป็น
คแู่ ขง่ ทางอ้อมกับอุตสาหกรรมของขบเคี้ยวมีดังนี้
- อตุ สาหกรรมผลไม้สด

เนื่องจากผลไม้สดสามารถใช้รับประทานเปน็ อาหารว่างได้แทนของขบเคี้ยว อีก ทั้งยังซื้อหา
ได้โดยสะดวกตามท้องตลาด และซุปเปอรม์ ารเ์ ก็ตหรือร้านคา้ สะดวกซ้ือทาํ ใหส้ ามารถ เลือกซื้อได้ตาม
ความพอใจของผ้บู ริโภคเนื่องจากมีสินค้าหลากหลายชนดิ หลายพนั ธแ์ุ ละ หลากหลายราคา นอกจากน้ี
มีข้อเสียเปรียบสำหรับของขบเคี้ยวในแง่ของคุณค่าทางโภชนาการ เนื่องจากผลไม้สดย่อมมีวิตามิน
มากกว่าของขบเคี้ยวโดยทั่วไป และถึงแม้ของขบเคี้ยวบางประเภท ที่ทํามาจากผักหรือผลไม้ แต่
อย่างไรก็ตามผลไม้สดก็มีข้อเสียเปรียบหลายประการ เช่น ความไม่สะดวกในการเตรียมรับประทาน
คือ อาจจะต้องทําความสะอาด ต้องปอกเปลือกก่อน ซึ่งผู้บริโภคที่ไม่อยากยุ่งยากในกระบวนการ
เหล่านน้ั เลอื กซือ้ ของขบเค้ยี วแทนผลไมส้ ดมากกว่า

- อตุ สาหกรรมผลไมแ้ ปรรปู

ผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมนี้ได้แก่ ผลไม้กระป๋อง ผลไม้ดอง ผลไม้แช่อิ่ม เป็นต้น ซึ่งถือเป็น
ทางเลือกหนึ่งในการบริโภคผลไม้ ซึ่งผู้บริโภคอาจจะเลือกซื้อผลไม้แปรรูปแทนเนื่องจากต้องการ
เปลี่ยนรสชาติและสะดวกในการบริโภคมากกว่า และแทนที่จะซื้อของขบเคี้ยวรับประทานก็ซื้อผลไม้
แปรรูปแทน เนื่องจากผู้บรโิ ภคต้องการบริโภคอาหารทีม่ คี ุณค่าทางอาหาร

- อตุ สาหกรรมอาหารเสริม

ผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมนี้เน้นไปที่สารอาหารหรือเส้นใยอาหารที่มีประโยชน์ ต่อผู้บริโภค
ซึ่งอาจเข้ามาแทนที่สินค้าเนื่องจากผู้บริโภคอาจจะพอใจในสารอาหารที่มีในอาหารเสริมมากกว่า
เพราะมคี วามครบถว้ นมากกว่าและสะดวกในการพกพาและรับประทาน

12

ข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบของแต่ละอุตสาหกรรมที่อาจเป็นคู่แข่งขันของ
อุตสาหกรรมของขบเค้ียว

ข้อไดเ้ ปรียบ

ในการเลือกซื้อผลไม้สด บางครั้งอาจจะได้สินค้าที่มีคุณภาพไม่ดี ในขณะที่ของขบเคี้ยว
ค่อนขา้ งจะมมี าตรฐานทงั้ ในดา้ นความสะอาด คณุ ค่าทางอาหาร

- ผลไม้แปรรูปมีคุณค่าทางสารอาหารด้านวิตามิน เกลือแร่มากกว่าของขบเคี้ยวโดย
ทั่ว ๆ ไป ทาํ ให้ผู้บรโิ ภคที่ห่วงใยในสขุ ภาพมีแนวโน้มจะบริโภคผลไมแ้ ปรรูปมากกวา่

- ผลไม้สดอาจจำเป็นต้องทําความสะอาด และปอกเปลือกหรือหัน ก่อนการ
รับประทาน ซึ่งอาจก่อความยุ่งยากและเสียเวลาแก่ผู้บริโภค ในขณะท่ีผลไม้แปรรูป
จะสะดวกในการรับประทาน มากกว่า คือ สามารถรบั ประทานไดท้ ันที

- ผลไมแ้ ปรรปู มีระยะเวลาในการเกบ็ รักษาได้นานกวา่ ผลไมส้ ด
- ผลไม้แปรรปู มรี าคาตำ่ กว่าอุตสาหกรรมอาหารเสริม ทําให้ได้เปรียบดา้ นราคาในการ

แขง่ ขันกับอุตสาหกรรมอาหารเสริม

ขอ้ เสียเปรยี บ

- ราคาของผลไม้แปรรูปจะมีราคาสูงกว่าผลไมส้ ด
- คุณค่าทางโภชนาการของผลไม้แปรรูปจะมีน้อยกว่าผลไม้สดโดยเฉพาะในเรื่องของ

วิตามนิ เนอื่ งจากผ่านขัน้ ตอนกระบวนการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์

การวิเคราะหส์ ภาพการแขง่ ขนั ภายนอกของอุตสาหกรรมโดยใช้ FIVE-FORCE MODEL

อุปสรรคด้านคูแ่ ขง่ ขันในอุตสาหกรรม

การแขง่ ขันในตลาดนีม้ ีคู่แข่งขันท้ังด้านทางตรงและทางอ้อม ซึ่งคแู่ ข่งขันทางอ้อม จะแข่งขัน
กันที่ด้านความแตกต่างของตัวสินค้า ลักษณะปัจจัยการผลิตและคุณค่าต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์ ส่วน
ทางด้านผูป้ ระกบการทีม่ กี ารผลติ เหมือนกันจะต้องแย่งแหล่งปจั จยั การผลติ เพ่ือลดปัญหา ด้านต้นทุน
การผลิต

13

อปุ สรรคด้านคแู่ ขง่ รายใหมท่ ่ีจะเขา้ มา

ตลาดขนมขบเคี้ยวถือเป็นตลาดท่ีใหญ่และมีอัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างสูงทําให้มี ผู้สนใจ
ในการเขา้ มาลงทุนในตลาดนี้เป็นจํานวนมากตลาดนี้มีการแขง่ ขันสูง ในการทจ่ี ะทาํ ใหผ้ ลิตภัณฑ์เป็นที่
รู้จักและมีคณุ ภาพสงู มีข้อจํากดั ในการลงทนุ ท่ีสงู ทําให้ผทู้ เี่ ข้ามาและไมส่ ามารถอยู่รอดไดจ้ ะต้องออก
จากสู่ตลาดไปเอง

อปุ สรรคด้านอำนาจตอ่ รองของผขู้ ายปจั จยั การผลิต

เนื่องจากวัตถุดิบที่สำคัญคือผลไม้ ซึ่งปริมาณของผลผลิตนั้นขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและ
จํานวนผลผลิตมากหรือน้อยในแต่ละปี ดังนั้นปีใดที่ผลไม้ขาดแคลน ผู้ผลิตจำเป็นต้องซื้อในราคาสูง
อำนาจต่อรองในการต่อรองกับชาวสวนมีน้อย เพราะสามารถขายเป็นผลไม้สด ได้ในราคาสูงไม่
จำเป็นต้องขายให้แก่ผู้ผลิตอุตสาหกรรมผลไม้แปรรูปก็ได้ หรือในบางปีจำนวนผลผลิตมากเกินความ
ตอ้ งการของตลาด จะทำใหม้ อี ำนาจในการตอ่ รองสงู ทำใหส้ ามารถซื้อผลไมส้ ดได้ในราคาถูก

อุปสรรคด้านอำนาจต่อรองของผู้บริโภค

อำนาจการต่อรองของลูกค้าค่อนข้างสูง เนื่องจากมีสินค้าทดแทนมาก ทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม เชน่ ผลไม้สด ผลไมแ้ ปรรปู ชนิดอน่ื ของขบเค้ยี วและอาหารเสริมต่าง ๆ จึงทำให้การตั้งราคา
หรือการวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดต้องอาศัยความรอบคอบสูง เพื่อที่จะให้กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
ยงั คงความสนใจทีจ่ ะซื้อผลิตภัณฑ์

อปุ สรรคดา้ นสนิ คา้ ทดแทน

สินค้าทดแทนของผลิตภัณฑ์ ผลไม้อบกรอบ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ สินค้าทดแทน ทางตรง
และสินคา้ ทดแทนทางอ้อม สินคา้ ทดแทนทางตรง

- ผลไม้แปรรูปชนิดอื่นๆ เช่น ผลไม้ดอง ฉาบ อบแห้งด้วยวิธีอื่น ๆ ผลไม้กระป๋อง คนไทยมี
ความชํานาญในการแปรรูปผลไม้และใช้เทคโนโลยีไม่สูง ทําให้ต้นทุนต่ำและมีผลไม้แปรรูป
นอกฤดูกาลให้เลือกทานได้ตลอดปี

- ของขบเคี้ยวต่าง ๆ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์
เพราะผู้บริโภคส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นของขบเคี้ยวเหมือนกัน โดยไม่สนใจว่าจะผลิตด้วยวิธีใด
นอกจากนี้การแข่งขันในตลาดของขบเคี้ยวสูง มีผู้ผลิตรายใหญ่คือมันฝรั่งทอดกรอบเลย์

14

ดังนั้น ผู้ที่จะเข้าสู่ตลาดต้องพยายามอธิบายความแตกต่างระหว่างสินค้าของตนกับของขบ
เคีย้ ว สนิ ค้าทดแทนทางอ้อม
- อาหารเสริม เช่น วิตามินอัดเม็ด น้ำผักและผลไม้ ฯลฯ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการ
รบั ประทานอาหารว่างทม่ี คี ุณค่าทางอาหารของคนวยั ทำงานท่ัวไป
- ตลาดการแข่งขันของตลาดขนมขบเคี้ยวเป็นตลาดที่ใหญ่มาก ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตมาก
ทาํ ให้ผู้บรโิ ภคมที างเลือกในการเลือกซือ้ ผลติ ภณั ฑต์ ่าง ๆ

การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก

ตารางที่ 2 แสดงถึงปจั จยั ภายในที่มผี ลตอ่ องค์กรการตลาด

ปัจจยั การผลิต จดุ แข็ง (Strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses)
การบริหารจัดการ
ผปู้ ระกอบการสามารถจัดหาพนกั งาน กิจการเนน้ ท่ีสถานท่ีและพนกั งานท่ีมี
การตลาด
ท่ีมีฝมี ือและมีประสบการณ์ ฝีมือและบุคลากร ทําให้มีราคาสงู กว่า

มีการฝึกอบรมและพัฒนาคุณภาพ เนอ่ื งจากเป็นผปู้ ระกอบการใหม่ จึง

คู่แข่ง ของพนกั งานทุกๆ 3 เดือน ขาดประสบการณใ์ นการทําธุรกจิ

เพอ่ื ให้ลูกค้าเกิดความม่ันใจ และมี

ทัศนคติท่ี จึงขาดประสบการณใ์ นการ

ทําดีต่อกิจการ

มีการโฆษณาและประชาสัมพนั ธ์โดย ต้องเสยี ค่าใชจ้ ่ายในการโฆษณา การ

การลงนติ ยสาร การจัดบูท เนอื่ งจาก และประชาสมั พันธ์ เนอ่ื งจากเป็น ทํา

เป็น ทําเว็บไซต์ เว็บไซต์ธุรกจิ ใหม่ยังไม่ค่อยได้รบั

ความสนใจจากประชาชนมากนกั

การผลติ มีการอปุ กรณใ์ นการผลิตที่ได้ มีค่าใช้จ่ายในการดูแลรกั ษา
การเงนิ มาตรฐานและมีคุณภาพ
มีสภาพคลอ่ งทางการเงนิ สูง การลงทุนในทําธุรกิจผลไม้ทอด เพอื่
สรา้ งศักยภาพใน การแข่งขันได้ดี ต้อง
ใชเ้ งนิ

15

ตารางท่ี 3 แสดงปจั จัยภายนอกทมี่ ีผลตอ่ องคก์ ร

ปัจจยั การผลิต โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)
ตลาดและกลมุ่ ลกู ค้า
เป้าหมาย พฤติกรรมผบู้ รโิ ภค หันมาให้ ผบู้ รโิ ภคมีทางเลือกในการเลือกซอ้ื
สถานการณก์ ารแข่งขัน
ความสําคัญกบั การดูแลสขุ ภาพมากขน้ึ ลกู ค้า สินค้าทดแทนจํานวนมาก
สงั คม
เทคโนโลยี คู่แข่งขันมงุ่ เป้าหมายไปยังตลาด เนอื่ งจากผลติ ภัณฑ์พึง่ เข้าสตู่ ลาดจึง
สภาพเศรษฐกจิ
ต่างประเทศมากกว่าในประเทศ ยังไม่เป็นท่ีรจู้ ักในกลมุ่ ผบู้ ริโภค

เนอื่ งจากกระแสนยิ มสินค้าที่มาจาก การเข้ามาของคู่แข่งรายใหม่มีเพ่มิ ขน้ึ

การเข้ามาของคู่แข่งรายใหม่มี แข่งขัน เรอื่ ยๆ

ธรรมชาติ มีการดูแลรักษาสุขภาพ

มากขน้ึ ทําให้ผบู้ รโิ ภคเรมิ่ มาให้

ความสาํ คัญกับสินค้าท่ีดีต่อสุขภาพ

มากขน้ึ โดยสว่ นหนง่ึ เชอื่ ที่ว่าสามารถ

ให้คุณค่าทางโภชนาการ และเป็น

ประโยชนต์ ่อผบู้ รโิ ภคใช้

มีสภาพคลอ่ งทางการเงนิ สงู พฤติกรรมผบู้ ริโภค หันมาให้

ความสาํ คัญกบั การดูแลสุขภาพมาก

ขน้ึ

เทคโนโลยี มีการนาํ เทคโนโลยีมาใช้ เทคโนโลยีต่างๆ มีราคาสงู

ในธุรกจิ ทําให้ลดเวลาในการผลติ

สินค้า ลงได้มาก

เนอ่ื งจากสภาพเศรษฐกจิ กาํ ลงั อยใู่ น สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันมีการ

ภาวะฟ้ืนฟู จึงทําให้ผลิตภัณฑ์มี เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลาทําให้ยาก

เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา ทําให้ ต่อการคํานวณรายรบั และรายจ่ายของ

โอกาสที่จะได้รับผลตอบรับท่ีดีจาก กิจการ

ลูกค้า

16

ตารางที่ 3 (ต่อ)

ปัจจยั การผลิต โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)

กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เนอ่ื งจากสนิ ค้าจําเป็นต้องผา่ น

- มาตรฐาน หลายชนดิ จึงมีขน้ั ตอนท่ี

ยงุ่ ยาก

การเมือง มีนโยบายทางเศรษฐกิจที่สง่ เสริม การ

ลงทุน ทําให้เศรษฐกจิ มีการ ขยายตัว -
และทําให้การจับจ่ายของ ผบู้ รโิ ภค

เพิ่มมากขน้ึ

บทที่ 4

กลยทุ ธด์ ้านการบรหิ ารและการดาํ เนินงาน

การบริหารและการดําเนินงานมีบุคลากรเป็นส่วนความสำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจไปใน

ทิศทางที่กำหนดไว้ รวมถึงเป็นบุคคลที่เป็นส่วนหนึ่งในการวางจําหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ดีให้แก่ลูกค้า

ดังนั้นจึงต้องมีการวางแผนด้านการบริหารและการดําเนินงานอย่างดีเพื่อจะนําทักษะและ

ความสามารถของแตล่ ะบคุ คลมาใชอ้ ยา่ งเต็มขีดความสามารถ

4.1 วตั ถปุ ระสงคก์ ารบรหิ ารและการดาํ เนินงาน

1. เพอื่ สรรหาบุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณก์ ารทำงานท่ีตรงกับ กระบวนการ

ทำงาน และสามารถปฏบิ ัตงิ านให้สำเร็จได้

2. เพื่อจัดระเบียบโครงสร้างขององค์กรและการบริหารงาน เพื่อให้การสื่อสารและ

ปฏบิ ตั งิ านเป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล

3. เพ่ือเพิม่ ศกั ยภาพในการปฏิบัติงานในดา้ นบุคลากร

4.2 การกำหนดหน้าท่แี ละความรับผิดชอบ

4.2.1 ผู้รบั ผดิ ชอบ (Responsibilities and Duties)

ลำดบั ท่ี ผู้รับผดิ ชอบ หนา้ ท่ี

1. − นางสาวจิราพรรณ นันศริ ิ − การเตรียมวตั ถุดบิ (หวั มนั สม้ ) เบ้ืองต้น

2. − นางคา้ ย นนฐี − การเตรียมวัตถุดิบ (มันแท่ง) เพอื่ พัฒนาเปน็ ผลิตภัณฑ์หนอง
− นางสมศรี ไชยศิริ แดงเฟรนช์ฟรายส์สม้

3. − นางสาวจริ าพร ขตั ยิ ศ − การเตรยี มแป้งสว่ นผสมเพอ่ื ใช้ในกระบวนการผลติ ผลติ ภณั ฑ์
หนองแดงเฟรนช์ฟรายสส์ ม้

4. − นางสาวศริ าณยี ์ ศรีมูล − การแปรรูปผลติ ภณั ฑ์หนองแดงเฟรนช์ฟรายสส์ ม้
− นางสาวณฐั ธิดา ขันทะเสน

− การพัฒนาสื่อสง่ เสรมิ การตลาดผลติ ภณั ฑห์ นองแดงเฟรนช์

5. − นายนัทธพงศ์ สมวงศ์ษา ฟรายสส์ ม้

− การพฒั นาช่องทางการสอ่ื สารทางการตลาดกับลกู คา้

6. − นางสาวณชิ กานต์ สมทรง − การออกแบบปา้ ยฉลากผลิตภัณฑห์ นองแดงเฟรนชฟ์ รายสส์ ม้

7. − นางสาวนชุ รินทร์ ไชยศริ ิ − การส่งเสริมการตลาดและการบญั ชี

8. − นายนิวิฐ กาวี − การจดั จำหน่าย

18

4.3 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ในการประเมนิ ผลงานของธุรกจิ มนั หวานญปี่ ุน่ ไดน้ าํ Balanced Scorecard ใช้เปน็ เคร่อื งมือ

ในการประเมินผลงานในการขับเคลื่อนองค์กร เพื่อใช้ในการบรหิ ารกลยุทธ์ขององค์กร ด้วยการวดั ผล
การปฏิบัติงานในมุมมอง 4 ด้าน และให้กลยุทธ์แต่ละด้านนั้นมีความเกี่ยวข้องกันเพื่อ สนับสนุน
วิสัยทศั นแ์ ละพันธกิจขององค์กร โดยรายละเอียดในแต่ละด้านมี ดังน้ี

4.3.1 ดา้ นการเงนิ
มุมมองด้านการเงินเป็นการวัดผลโดยใช้มุมมองด้านประโยชน์ของธุรกิจเป็นหลัก เป็นการ
กำหนดวัตถปุ ระสงค์ทางการเงนิ ของธุรกจิ โดยมีตวั ช้วี ดั ในเรอ่ื งของกําไรของธุรกจิ ทเ่ี พิ่มข้ึนจากรายได้
จากการขายผลติ ภณั ฑท์ ่ีเพิม่ ขนึ้ และรายจ่ายของธรุ กิจทล่ี ดลง
4.3.2 พนกั งานฝา่ ยขายและการตลาด
บุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์และประเมินสภาพตลาด อีกทั้งมีความสามารถ
ในการวางกลยุทธไ์ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ โดยมีหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบมี ดงั นี้

1. วางแผนการตลาด กำหนดแนวทางการประชาสมั พนั ธ์สินค้า
2. วางแผนการขายให้กับลูกค้า รวมถึงนําเสนอกับตัวแทนจําหน่ายสินค้า อีกท้ัง
ตดิ ตามผลการดาํ เนินงานใหเ้ ปน็ ไปตามแผนทก่ี ำหนดไว้
3. พัฒนาตราสินค้าให้เป็นที่รู้จกั ของผบู้ ริโภคกลุ่มเป้าหมาย
4. ประเมินยอดขายและรับผดิ ชอบการขายให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้
4.3.3 พนกั งานฝ่ายจดั หาและประสานงาน
บุคคลที่มีความรู้และทักษะในด้านเจรจาต่อรอง ด้านการสื่อสารที่ดีอีกทั้ง สามารถแก้ไข
ปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ โดยมีหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ มดี ังน้ี
1. ดูแลการสั่งซื้อและคอยประสานงานระหว่างผู้ผลิตสินค้าให้ดําเนินงานได้อย่าง
ราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
2. ติดตามความเคลอ่ื นไหวของสนิ ค้าคงคลงั และบริหารจัดการอย่างมีระบบ
3. สรรหาสินค้าใหม่ที่มีคุณภาพเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและเพิ่ม
ยอดขายในอนาคต
4. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับซัพพลายเออร์ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันพัฒนา
ผลติ ภัณฑ์

19

4.4 การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน
ในการประเมนิ ผลงานของธรุ กจิ มนั หวานญ่ีปนุ่ ไดน้ ํา Balanced Scorecard ใช้เป็นเคร่อื งมือ

ในการประเมินผลงานในการขับเคล่ือนองค์กร เพื่อใช้ในการบรหิ ารกลยุทธ์ขององค์กร ด้วยการวดั ผล
การปฏิบัติงานในมุมมอง 4 ด้าน และให้กลยุทธ์แต่ละด้านนั้นมีความเกี่ยวข้องกันเพื่อ สนับสนุน
วิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจขององคก์ ร โดยรายละเอียดในแต่ละด้าน มดี ังน้ี

4.4.1 ด้านการเงิน
มุมมองด้านการเงินเป็นการวัดผลโดยใช้มุมมองด้านประโยชน์ของธุรกิจเป็นหลัก เป็นการ
กำหนดวตั ถุประสงค์ทางการเงินของธุรกิจ โดยมีตัวชว้ี ดั ในเรอื่ งของกําไรของธุรกิจที่เพ่ิมขึ้นจากรายได้
จากการขายผลิตภัณฑท์ ีเ่ พิม่ ข้นึ และรายจ่ายของธุรกจิ ทีล่ ดลง
4.4.2 ดา้ นลูกค้า
ด้านลูกค้าเป็นการวัดผลมุมมองของผู้บริโภคที่สามารถเพิ่มความพึงพอใจของ ลูกค้า
ภาพลักษณ์ของตราสินค้า และประสบการณ์ที่ดีกับสินค้า โดยตัวชี้วัดเป็นคะแนนความพึงพอใจของ
ลูกค้า จำนวนผู้ติดตามในโซเชียลมีเดยี ส่งผลให้มมุ ดา้ นอนื่ ขบั เคลื่อนองคก์ รไดด้ ียงิ่ ขน้ึ
4.4.3 ดา้ นกระบวนการภายใน
ด้านกระบวนการภายในทีด่ ีจะส่งเสรมิ ใหม้ ผี ลติ ภัณฑ์ทด่ี ีและสรา้ งความพงึ พอใจ ต่อลูกคา้ วัด
ประสิทธิภาพของกระบวนการภายในองค์กร โดยมีตัวชี้วัดเป็นจำนวนสินค้าคงคลังที่มี ประสิทธิภาพ
การขนส่งสินค้าที่ตรงเวลาและจำนวนร้านค้าตัวแทนจําหน่าย จำนวนผู้ถูกใจในเนื้อหา กิจกรรมทาง
การตลาด เป็นตน้
4.4.4 ด้านการเรียนรู้และพฒั นา
เป็นการวัดผลโดยใชป้ ระเด็นของบุคลากรภายใน วดั ผลการเรียนรู้ของคนใน องคก์ ร สามารถ
วัดได้จาก ขีดความสามารถ (Competency) ของบุคลากรในแต่ละด้าน ตัวชี้วัดเป็น เรื่องของการ
พฒั นาเนอ้ื หาทีส่ ่งมอบใหแ้ ก่ผบู้ รโิ ภค การพัฒนาความรู้ความสามารถในดา้ นเทคโนโลยี
4.4.5 ด้านลกู ค้า
ด้านลูกค้าเป็นการวัดผลมุมมองของผู้บริโภคที่สามารถเพิ่มความพึงพอใจของ ลูกค้า
ภาพลักษณ์ของตราสินค้า และประสบการณ์ที่ดีกับสินค้า โดยตัวชี้วัดเป็นคะแนนความพึงพอใจ ของ
ลูกคา้ จำนวนผ้ตู ดิ ตามในโซเชยี ลมีเดยี สง่ ผลใหม้ มุ ด้านอ่ืนขับเคลอ่ื นองคก์ รไดด้ ียิ่งข้ึน

20

4.4.6 ดา้ นกระบวนการภายใน
ด้านกระบวนการภายในทดี่ จี ะส่งเสรมิ ให้มผี ลติ ภัณฑ์ทด่ี แี ละสร้างความพงึ พอใจ ตอ่ ลกู ค้า วัด
ประสิทธิภาพของกระบวนการภายในองค์กร โดยมีตัวชี้วัดเปน็ จำนวนสินค้าคงคลังที่มี ประสิทธิภาพ
การขนส่งสินค้าที่ตรงเวลาและจำนวนร้านค้าตัวแทนจําหน่าย จำนวนผู้ถูกใจในเนื้อหา กิจกรรมทาง
การตลาด เป็นต้น
4.4.7 ด้านการเรยี นรูแ้ ละพฒั นา
เป็นการวัดผลโดยใช้ประเดน็ ของบุคลากรภายใน วดั ผลการเรียนรู้ของคนใน องคก์ ร สามารถ
วัดได้จาก ขีดความสามารถ (Competency) ของบุคลากรในแต่ละด้าน ตัวชี้วัดเป็น เรื่องของการ
พฒั นาเนอ้ื หาทส่ี ง่ มอบใหแ้ ก่ผู้บรโิ ภค การพฒั นาความรู้ความสามารถในด้านเทคโนโลยี

21

4.5 ภาพรวมของธุรกจิ
ภาพรวมของธุรกิจสามารถสรุปออกมาเป็น Business Model Canvas ซึ่งจะประกอบไป

ด้วยแผนธุรกจิ การแปรรูปผลิตภณั ฑ์จากมันม่วงและแผนธุรกิจการแปรรูปผลิตภัณฑจ์ ากมนั ส้ม โดยมี
รายละเอยี ด ดังนี้

ตารางแสดง Business Model Canvas ของผลิตภณั ฑ์จากมนั ม่วง

แผนธุรกิจ (Business Model) ของโครงการ
การแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากมันมว่ งของเกษตรกรในชุมชน ตาํ บลหนองแดง อําเภอแม่จริม จังหวดั น่าน

Key Partner Key Activities Value Customer Customer

- กล่มุ เกษตรกรผู้ - กจิ กรรมการ พฒั นา Propositions Relationship Segments

ปลูกมนั หวานใน ทักษะในการปลูกมนั - มันม่วงที่เลอื กใช้ใน - เกดิ การสร้างเครือ - กลุ่มเกษตรกรผู้
ตําบลหนองแดง มว่ ง ขนั้ ตอนการผลิตลว้ น ข่ายความร่วมมอื เพาะปลกู มันม่วงใน
อาํ เภอแมจ่ ริม เป็นมนั มว่ งที่ ด้านวิชาการ พน้ื ท่ีอําเภอแม่จริม
จงั หวดั นา่ น - กจิ กรรม การพฒั นา เพาะปลกู ภายใน ระหว่างเกษตรกรผู้ จังหวัดน่าน
ทักษะดา้ นการแปรรปู

- ผูบ้ ริโภคมนั ม่วงใน ผลิตภณั ฑจ์ ากมันมว่ ง ชุมชนทั้งสนิ้ ทาํ ให้ ปลูกมันมว่ งกบั - ลูกคา้ /ประชาชนที่สนใจ

จังหวัดน่าน - กจิ กรรมการพัฒนา ทางสามารถควบคมุ มทร.ล้านนา น่าน ผลติ ภัณฑ์จากมนั ม่วง

- อาจารย์ มทร. ทกั ษะดา้ นการผลิตสอ่ื คณุ ลักษณะของ

ล้านนา นา่ น ตลาดเพื่อ วตั ถดุ ิบตามท่ี

- รา้ นค้า ประชาสัมพนั ธผ์ ลผลติ ต้องการ อกี ทง้ั ยงั ช่วย

ผลติ ภัณฑจ์ ากมันมว่ ง ส่งเสรมิ อาชพี และ Channels
รายได้ของเกษตรกร - เกษตรกรกลุ่ม เปา้ หมายสามารถ ติดตอ่ กับ
Key Resource ท่ีเพาะปลกู มนั มว่ งใน
- องค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้องดา้ นการเกษตร เช่น (1) การ ตาํ บลหนองแดง คณะทํางานผา่ นชอ่ งทางการส่ือสาร เช่น สือ่
สังคมออนไลน์
- กระบวนการผลติ ท่ี
R--e••••fปเกงกeพบาํรลrือ่ละปeกู เกกกกทังรnมพคอ้อ้้ออ้ะรcันมิ่นนนนนวมeมมสสสสงา:แว่วูลีแฟีเีีเณขหBงริทดค้ายีลสuงงยา่ (วงอืนsค2าคาiงโคบัือ)ศnนือดือคาสกeยWอืสโนาsHดตsรอWHนุ OยแราMAMHเW์แปจโกTOดOลoารษยNระปรปdตปยหูปเEรรeทรร์ะะYนมlมกะคกกา่นั กทCปรอโอยมนอกรaรบบง่วบะล.โnดาดลลกงดุม่นv้ว้ว้าเยอ้วยเยปaนปบยี s็นนด้าKVผาหCว้ eaลยuมlyนติusา่าภPtCeยนoaoณั Pmrstrฑtnoe์SerptroRr,useKicltea-itoyutinroสสตAesnะา้นc,มอsทtRhiาาvุนeiรดipvกtถปy,eาค,ลCnรวKอผuuบeดลseคytภิตoุมSไยัRmtดreง้ues่าcorยtuSurercegem-enลกเมสทtกกูาบัs่วาี่ย,มงงคมวCกาา้ันขhรา(ม้อหaถร2ว่nสงตร)งดnือ่อืิดกe้าสหตาปlนารsอ่รรกรแือะาสปกเชรื่อชราเาส่นรรกชูปาบษนสรมรตทกือ่ กิันรับส่ีสานงัเรกคอเใสชษจมง้มน่สคตอินเค์รอพ(กควน1่อืารา้)ไเมลทกพรนี่เาม่ิกูท้ ์รผม่ีย่ีป่าูลวลนขคกู ช้อ่าม่องนัง

Cost Structure Revenue Structure
- ตน้ ทุนคงที่ (fixed cost) เช่น ค่าอปุ กรณ์ที่ใช้ในการผลติ ภณั ฑ์มันมว่ ง - การจาํ หน่ายมนั หวานแปรรูป
- ต้นทุนผนั แปร (variable cost) จา่ ยมากจ่ายนอ้ ยขนึ้ อยู่กบั ปริมาณการใช้ เชน่
- การบรกิ ารดา้ นวชิ าการของเกษตรกร
คา่ นํ้าประปาหมบู่ า้ น คา่ ไฟ คา่ นา้ํ มันพชื คา่ แป้งข้าวสาลี กลมุ่ เป้าหมาย แก่ผ้ทู ี่สนใจสนิ ค้าทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั มัน
- ตน้ ทนุ ผลติ มากแล้วราคาถกู ลง (economy of scale) เชน่ คา่ กล้าพันธุ์มันม่วง มว่ ง หรอื การบรกิ ารองคค์ วามรู้ทเ่ี ก่ียวข้องดา้ น
การเกษตร เชน่ (1) การปลูกมนั มว่ ง (2) การแปร
ค่าปุ๋ย รูปมนั มว่ งเปน็ ผลติ ภณั ฑ์เพือ่ เพิ่มมลู ค่า เปน็ ต้น
- ตน้ ทุนซ้อื รวมกนั แลว้ ถูกลง (economy of scope) เช่น ค่ามันมว่ ง

Reference: Business Model Canvas

• กอ้ นสีแดง คอื HOW ประกอบด้วย Key Partner, Key Activity, Key Resource
• กอ้ นสีฟ้า คือ WHAT ประกอบด้วย Value Propositions
• กอ้ นสีเขยี ว คอื WHO ประกอบดว้ ย Customer Relationship, Customer Segments, Channels
• ก้อนสเี หลอื ง คอื MONEY ประกอบด้วย Cost Structure, Revenue Structure

22

ตารางแสดง Business Model Canvas ของผลิตภณั ฑ์จากมนั ส้ม

แผนธุรกจิ (Business Model) ของโครงการ
การแปรรปู ผลิตภณั ฑจ์ ากมนั มว่ งของเกษตรกรในชมุ ชน ตาํ บลหนองแดง อําเภอแมจ่ รมิ จงั หวัดน่าน

Key Partner Key Activities Value Customer Customer

- กลุ่มเกษตรกรผู้ - กจิ กรรมการ พฒั นา Propositions Relationship Segments

ปลูกมนั หวานใน ทักษะในการปลูกมัน - มนั ม่วงที่เลือกใชใ้ น - เกดิ การสรา้ งเครอื - กลุ่มเกษตรกรผู้
ตาํ บลหนองแดง ส้ม ขัน้ ตอนการผลติ ลว้ น ข่ายความร่วมมอื เพาะปลูกมันสม้ ในพ้นื ท่ี
อาํ เภอแม่จรมิ เป็นมนั สม้ ท่ี ด้านวชิ าการ อาํ เภอแมจ่ รมิ จงั หวัด
จงั หวัดน่าน - กิจกรรม การพัฒนา เพาะปลกู ภายใน ระหวา่ งเกษตรกรผู้ นา่ น
ทกั ษะด้านการแปรรปู

- ผบู้ ริโภคมันสม้ ใน ผลิตภัณฑ์จากมนั สม้ ชุมชนทงั้ สนิ้ ทาํ ให้ ปลูกมันสม้ กบั - ลูกค้า/ประชาชนท่ีสนใจ

จงั หวดั นา่ น - กจิ กรรมการพฒั นา ทางสามารถควบคุม มทร.ลา้ นนา นา่ น ผลิตภัณฑ์จากมนั ส้ม

- อาจารย์ มทร. ทกั ษะดา้ นการผลติ ส่ือ คุณลักษณะของ

ลา้ นนา น่าน ตลาดเพ่ือ วัตถุดบิ ตามที่

- รา้ นค้า ประชาสัมพันธ์ผลผลติ ต้องการ อีกทั้งยงั ชว่ ย

ผลติ ภณั ฑจ์ ากมันส้ม ส่งเสรมิ อาชพี และ Channels
รายได้ของเกษตรกร - เกษตรกรกลมุ่ เปา้ หมายสามารถ ติดตอ่ กบั
Key Resource ท่ีเพาะปลกู มันส้มใน
- องค์ความรู้ทเ่ี กี่ยวข้องด้านการเกษตร เช่น (1) การ ตําบลหนองแดง คณะทํางานผ่านชอ่ งทางการสอื่ สาร เช่น สื่อ
สังคมออนไลน์
- กระบวนการผลิตที่
R--e••••fปเกงกeพบํารลr่อืละปeูกเกกกกทังรnมพค้อ้ออ้้อะรcนัมิ่นนนนนวมeสมสสสสงา:้มแวลูีแีฟเีเีณขหBริทดค้ายีลสuงงย(่าวงือ2นsคาคาiงโ)คับือศnนอืดกือคาสeยWาือสโนsHดรตsอWHุนOแยราMAMHปเW์แจโกTOดOรลoาษรยNระปปdูปตปยหเEรรeทรรม์ะะYนlมกะคกกัน่ากทCปรอโอสยนอกรaรบบ้มงบะล.โnดาดลเลกดมุ่ปนvว้้วา้ยอว้ยเยa็นนปบยี sผนดา้ KVลาหC้วeaิตยuมlyนภusา่าPtCeัณยนoaoPฑmrstr์tnoeSerptroRr,useKicltea-itoyutinroสสตAesnะา้นc,มอsทtRhiาาvุนeiรดipvกtถปy,eาค,ลCnรวKอผuuบeดลseคytภติ oุมSไยัRmtดre้งuesา่corยtuSurercegem-enลกเสสทtกูกม้าับsายี่,มงคมวCกาา้(ันขhรา2ม้อหaถร)ว่nสงตรกงดnอื่อืิดาeา้สหตรปlนาs่อรแรกรือปะาสกเรชรอ่ืชารเาสน่รกูปชาบษมนสรรตันทก่อื กิ รับ่สีสานงัเรกคสอเใชษจม้มง่นสคตอเิน์ครอพ(กควน1่อื าร้า)ไเมลทพกรน่เี่ิมาก้ทู ์รมผยี่ี่ปูล่าวลนคขกู ช่าอ้ ม่องนัง

Cost Structure Revenue Structure
- ต้นทุนคงท่ี (fixed cost) เช่น ค่าอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการผลติ ภณั ฑม์ ันส้ม - การจําหนา่ ยมันหวานแปรรูป
- ต้นทุนผันแปร (variable cost) จา่ ยมากจา่ ยน้อยขึน้ อยกู่ ับปริมาณการใช้ เชน่
- การบริการดา้ นวชิ าการของเกษตรกร
ค่าน้ําประปาหม่บู า้ น คา่ ไฟ ค่านํา้ มนั พชื ค่าแปง้ ขา้ วสาลี กลุม่ เปา้ หมาย แก่ผ้ทู ี่สนใจสินคา้ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับมัน
- ต้นทนุ ผลติ มากแลว้ ราคาถกู ลง (economy of scale) เช่น ค่ากลา้ พนั ธมุ์ นั ส้ม ส้ม หรือการบริการองค์ความรทู้ ีเ่ กยี่ วข้องดา้ น
การเกษตร เชน่ (1) การปลูกมนั ส้ม (2) การแปรรูป
คา่ ปุย๋ มนั มว่ งเป็นผลติ ภณั ฑ์เพือ่ เพม่ิ มูลคา่ เปน็ ตน้
- ต้นทนุ ซอื้ รวมกันแล้วถูกลง (economy of scope) เชน่ ค่ามนั ส้ม

Reference: Business Model Canvas

• กอ้ นสีแดง คอื HOW ประกอบด้วย Key Partner, Key Activity, Key Resource
• กอ้ นสีฟ้า คอื WHAT ประกอบดว้ ย Value Propositions
• กอ้ นสีเขียว คือ WHO ประกอบด้วย Customer Relationship, Customer Segments, Channels
• กอ้ นสีเหลือง คือ MONEY ประกอบด้วย Cost Structure, Revenue Structure

23

จากตารางแผนธุรกิจทั้ง 2 ตารางสามารถสรุปได้ว่า คุณค่าของสินค้าและบริการ (Value
Propositions) อธิบายว่ามันหวานญี่ปุ่นทั้ง 2 สายพันธุ์ผู้ผลิตได้เลือกใช้มันหวานที่เพาะปลูกภายใน
ชุมชนทั้งสิ้นทำให้ทางสามารถควบคุมคุณลักษณะของวัตถุดิบตามที่ต้องการ สามารถเข้าถึงขั้นตอน
การผลิต ควบคุมความสะอาดได้ อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมอาชีพและรายได้ของเกษตรกรที่เพาะปลูกมัน
ม่วงในตำบลหนองแดง ในส่วนของช่องทางการเข้าถึง (Channels) การจัดซื้อผลผลิตมันหวานใน
ชุมชนสามารถติดต่อกับผู้ผลิตได้โดยตรงโดยไม่ผา่ นพ่อค้าคนกลางทัง้ ทางออฟไลน์และออนไลน์ ส่วน
ผู้บริโภคที่สนใจสินค้าที่เกี่ยวกับมันหวาน หรือการบริการองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องด้านการเกษตร
สามารถติดตอ่ สื่อสารกบั เกษตรกร ผ่านช่องทางการสื่อสาร เช่น สื่อสังคมออนไลน์ ถัดไปในส่วนของ
ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationship) การสร้างธุรกิจนี้ก่อให้เกิดการสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือด้านวิชาการระหวา่ งเกษตรกรผู้ปลูกหวานกับ มทร.ล้านนา น่าน ซึ่งจะต้องอาศัยการลง
มือปฏิบัตินั่นก็ คือ การเกิดกิจกรรมหลัก (Key Activities) ได้แก่การจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะใน
การปลูกมัน กิจกรรมการพัฒนาทักษะด้านการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์จากมนั ม่วง และกิจกรรมการพัฒนา
ทักษะด้านการผลิตสื่อตลาดเพื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตผลิตภัณฑ์จากมันม่วง ส่วนทรัพยากรหลัก
(Key Resource) ทตี่ ้องใชเ้ พ่อื ทำใหเ้ กิดผลิตผล ไดแ้ ก่ องค์ความรทู้ ่เี กยี่ วข้องด้านการเกษตร กำลังคน
แรงงาน โดยเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายและงบประมาณสนับสนุน โดยหน่ายงานกระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี การที่ธุรกิจจะดำเนินไปได้นั้นจะต้องอาศัยองค์ประกอบที่สำคัญอีกหนึ่งอย่าง คือ
การร่วมือกันของกลุม่ พันธมติ ร (Key Partner) ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกมนั หวานในตำบลหนองแดง
ผู้บริโภคมันม่วงในจังหวัดน่าน อาจารย์ มทร. ล้านนา น่าน และร้านค้า ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญท่ี
จะทำใหธ้ ุรกจิ ดำเนนิ ไปอยา่ งราบรื่น เมอื่ เกดิ ผลิตภณั ฑ์แล้วสิง่ ทีผ่ ู้ผลิตต้องวเิ คราะห์และให้ความสำคัญ
ก่อนจัดจำหน่าย คือ กลุ่มลูกค้า (Customer Segments) ซึ่งผลิตภัณฑ์จากมันหวานของแบรนด์
Nong Daeng French Fries ให้ความสำคัญกับกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะปลูกมันม่วงในพื้นที่อำเภอแม่จ
ริม จังหวัดน่าน และลกู คา้ ท่ีสนใจผลติ ภณั ฑ์จากมันหวาน ถดั ไปส่วนประกอบของการทำธุรกิจที่สำคัญ
อีกประการ คือ โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) โดยคำนึงถึงข้อต่าง ๆ ดังนี้ ต้นทุนคงที่ (fixed
cost) เช่น ค่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตภัณฑ์มันหวาน ต้นทุนผันแปร (variable cost) จ่ายมากจ่าย
น้อยขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้ เช่น ค่าน้ำประปาหมู่บ้าน ค่าไฟ ค่าน้ำมันพืช ค่าแป้งข้าวสาลี ต้นทุน
ผลิตมากแล้วราคาถูกลง (economy of scale) เช่น ค่ากล้าพันธุ์มันหวาน ค่าปุ๋ย และต้นทุนซื้อ
รวมกันแลว้ ถูกลง (economy of scope) เช่น คา่ มนั มว่ ง และสุดทา้ ยองคป์ ระกอบทีต่ ้องคำนงึ ถึง คือ
รายได้หลัก (Revenue Structure) แน่นอนว่าผู้ผลิตต้องทราบว่ารายได้ของธุรกิจมาจากช่องทาง
ใดบา้ ง ดังนั้นธรุ กิจนจี้ งึ มรี ายได้หลักมาจากการจำหน่ายมันหวานแปรรูป และการบรกิ ารด้านวิชาการ

24

ของเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย แก่ผู้ที่สนใจสินค้าที่เกี่ยวข้องกับมันหวาน หรือการบริการองค์ความรู้ท่ี
เกีย่ วขอ้ งด้านการเกษตร เชน่ การปลูกมนั หวาน การแปรรูปมนั หวานให้กลายเปน็ ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า
สงู ขึ้น เปน็ ต้น

บทที่ 5
แผนการผลติ

5.1 สถานทปี่ ระกอบการผลิต
พืน้ ทีส่ ำหรับจัดตงั้ สถานทผ่ี ลิต ตัง้ อยู่ที่ ตำบลหนองแดง อำเภอแมจ่ ริม จงั หวดั น่าน

5.2 วัตถุดบิ ใช้ในการผลิต
5.2.1 หัวมันหวานมว่ งและหัวมันหวานส้ม
5.2.2 แปง้ ข้าวโพด
5.2.3 แป้งสาลี
5.2.4 เกลอื
5.2.5 ผงปรุงแต่งอาหารรสชาติตา่ ง ๆ
5.2.5 นำ้ มันพชื

5.3 อุปกรณแ์ ละเครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการผลิต
5.3.1 ตะแกรงทอด
5.3.2 กระทะทอด
5.3.3 ตะหลิว
5.3.4 กะละมังสแตนเลส
5.3.5 เครอื่ งหน่ั เฟรนชฟ์ รายส์
5.3.6 เคร่ืองปอกเปลือกอตั โนมัติ

28

5.4 กระบวนการผลิตของ
ขั้นตอนที่ 1 คดั แยกมนั หวานทไ่ี ด้คณุ ภาพและขนาดทเ่ี หมาะแก่การทำเฟรนชฟ์ รายส์
ขั้นตอนที่ 2 ทำความสะอาดมันหวานโดยล้างในน้ำเกลือ แล้วนำมาล้างในน้ำเปล่าอีกคร้ัง

จากน้ันนำไปตากบนตะแกรง
ขั้นตอนที่ 3 ปอกเปลือกมันหวานจะใช้แรงงานคนและใช้นวัตกรรมเครื่องปอกในการปอก

เปลอื ก
ขั้นตอนที่ 4 ห่ันมันหวานใหเ้ ป็นลักษณะแท่ง ๆ โดยใชน้ วัตกรรมเครื่องห่ันเฟรนช์ฟรายส์ หั่น

ให้ไดต้ ามขนาดทีต่ ้องการ
ขั้นตอนท่ี 5 คัดเลือกชิ้นมันหวานที่ได้คุณภาพ คลุกแป้งข้าวโพดหรือแป้งสาลี จากนั้นนำไป

ทอดในนำ้ มันที่มีการควบคมุ อุณหภูมอิ ย่างเหมาะสม
ขัน้ ตอนที่ 6 นำมนั หวานทที่ อดเสรจ็ แลว้ มาวางพักไว้บนตะแกรงทอดเพ่ือสะเด็ดนำ้ มนั
ขน้ั ตอนที่ 7 ผสมมนั หวานทอดกบั ผงปรุงแตง่ อาหารรสชาติต่าง ๆ
ขนั้ ตอนท่ี 8 บรรจมุ นั ทอดลงไปในบรรจุภณั ฑ์ พร้อมติดโลโก้ท่เี ปน็ สัญลักษณแ์ บรนด์

บทที่ 6
แผนฉกุ เฉนิ

หากมีปญั หาในการดําเนนิ งานจะสามารถแก้ไขปัญหาโดยนาํ แผนฉกุ เฉินมาแก้ปัญหาที่ อาจจะ
เกดิ ขึ้น ดังนี้

1. การเข้ามาของคแู่ ข่งรายใหม่
- ปรบั ปรุงผลติ ภัณฑใ์ หม้ ีความหลากหลายและยากตอ่ การลอกเลียนแบบ
- ปรบั ปรุงการส่งเสริมการขายใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากขึน้

2. ยอดขายต่ำกว่าเป้าหมาย
- เพมิ่ การโฆษณาเพ่ือกระตุ้นยอดขายให้เพม่ิ ข้นึ
- เพมิ่ โปรโมชัน่ การส่งเสริมการขายใหด้ งึ ดดู และเปน็ ท่ีนา่ สนใจของผ้บู รโิ ภค

3. กาํ ลังการผลติ ไม่เพยี งพอ
- ขยายกําลงั การผลติ โดยการ ซื้ออปุ กรณ์การผลติ เพมิ่
- ขยายสาขาการผลติ ไปยงั ฐานการผลติ ใหม่

4. ราคาของปจั จัยทนุ การท่เี พม่ิ ขึน้
- เพิม่ การสั่งซอ้ื ปัจจยั การผลิตใหม้ ากข้นึ เพอ่ื ใหม้ ีราคาถกู เพื่อให้มีอำนาจต่อรองการ
สั่งซือ้ ปจั จยั การผลิตแกผ่ ูข้ ายปจั จยั การผลติ

5. การขาดสภาพคลอ่ งทางการเงิน
- นําเงนิ ทนุ สาํ รองทเี่ ตรยี มไว้ก่อนดำเนนิ กิจการมาใชเ้ พื่อใหเ้ กดิ สภาพคล่อง
- ทําบัญชเี บื้องต้นเพื่อตรวจสอบการดาํ เนนิ งาน

บทที่ 7

แนวทางการปรับปรงุ เพ่อื เพิ่มขดี ความสามารถ

ด้านการบริหารจดั การ
งานทตี่ ้องปรบั ปรงุ : พืน้ ที่โรงงานการผลิตและกาํ ลังการผลติ ไมเ่ พียงพอ
วธิ กี าร : อาจมีการขยายโรงงานการผลติ เพ่ือรองรบั จํานวนการผลิตที่อาจจะ
เพิม่ ข้ึนตามความตอ้ งการของตลาด
ผลที่คาดวา่ จะได้รบั : สามารถผลิตสินค้าใหพ้ อกบั ความต้องการของตลาดที่อาจจะเพ่ิมขึ้นได้

ดา้ นการตลาด
งานทต่ี อ้ งปรบั ปรุง : การขยายกลมุ่ ลูกค้าให้กวา้ งมากขนึ้
วิธกี าร : ขยายกลมุ่ เปา้ หมายของผลติ ภัณฑ์
ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ : สามารถสร้างกาํ ไรไดเ้ พม่ิ ข้นึ เป็นจาํ นวนมาก เพราะสว่ นแบง่ ทาง
การตลาดในธรุ กจิ ผลไมแ้ ปรรูปในตา่ งประเทศน้ัน มียอดขาย ถึง 10%

ด้านการผลติ
งานทต่ี อ้ งปรับปรุง : การเพ่มิ คุณภาพ และความหลากหลายของสินคา้ Fresh Fruit
วธิ ีการ : ทาํ การคดิ ค้น วิจัย พัฒนา สาํ รวจ ความต้องการของผู้บรโิ ภค เพิ่ม
ประสิทธิภาพและออกผลิตภัณฑ์ ใหม่ได้ตามความต้องการของลกู คา้
ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ : ลูกคา้ มีความพึงพอใจ และมคี วามซ่ือสัตยใ์ นตราสนิ ค้า ทําให้ความ
ตอ้ งการของผลติ ภัณฑ์ Fresh Fruit มากขนึ้

31

บรรณานุกรม

บริษัท กรนี เดย์ โกลบอล จาํ กัด. ผลิตและจาํ หนา่ ยของขบเคีย้ วท่ีทําจากผลไมอ้ บแห้ง [Online].
Accessed 27 พฤศจิกายน 2553 Available from http://www.oknation.net/blog/lotslik
love/2010/03/21/entry-1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, เครื่องทอดสุญญากาศ [Online].
Accessed 15 พฤศจิกายน 2553
Available from http://www.plaza.212cafe.com มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, เครื่องบรรจุ
แนวต้งั ขนาดใหญ่ [Online]. Accessed 15 พฤศจกิ ายน
2553 Available from http://www.swentech.tc.co.th/.../เครือ่ งบรรจุแนวตัง้ ขนาด
ใหญ่/3015-RL420520.html รัชกฤช คล่องพยาบาล คู่มือเขียนแผนธุรกิจ, กรุงเทพฯ : สํานักงาน
สง่ เสริมวสิ าหกิจขนาดกลางและ
ขนาดยอ่ ม, 2551 - 2 ลัดดาวรรณ พงค์สวสั . “การศึกษาความเปน็ ไปได้ของโครงการอุตสาหกรรมผัก
” ผลไม้อบกรอบ
ศูนย์วิจัยสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543. ศูนย์เครื่องมือ
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เคร่อื งหัน่ ผักและผลไม้ [Online]. Accessed 8 ตุลาคม 2553
Available from http://www.tistrfoodprocess.net/project/Fruit_Vegetable_cutting_Ma
chine_th.htm ons i n สํานักงานเครือข่ายกลุ่มเกษตรกร ราคากล้วยหอม [Online]. Accessed 3
พฤศจกิ ายน 2553
Available from http://www.talaadthai.com/price/default.php?gettid สํานักงานเครือข่าย
กลมุ่ เกษตรกร ราคาขนนุ [Online]. Accessed 3 พฤศจิกายน 2553 Available
from http://www.muangklang.com/vichakan/.../Knun.html 15 สํานักงานเครือข่ายกลุ่ม
เกษตรกร ราคาสับปะรด[Online]. Accessed 3 พฤศจิกายน 2553 Available
from http://www.oae.go.th/ewt news.php?nid=479


Click to View FlipBook Version