The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3. คู่มือการเลือกตั้งท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ubon.adhad, 2021-11-03 23:12:48

3. คู่มือการเลือกตั้งท้องถิ่น

3. คู่มือการเลือกตั้งท้องถิ่น

คมู่ ือการเลือกต้ังท้องถิน่

ส�ำ หรับผ้บู รหิ ารทอ้ งถนิ่ สมาชิกสภาทอ้ งถ่นิ
ศ.ดร.โกวทิ ย์ พวงงาม

ผเู้ รียบเรียงการเขยี น

×ôŞČ ĀĊ ďøĊĀÔèĘĄÚêĀş Úéìėć
Local Election Guide Book

û çö đÔúćêõ Ţ ñúÚÚąô

ďöĈõíďöĈõÚÔąöďÕõĈ ì

ÕĀş ôโČøกêวąทิ Úยí พööวæงงąาìมċÔ.öôÕĀÚþĀýôċçĐþŞÚÝąèć

คูมือเลอื กตง้ั ทองถนิ่ .-- กรงุ เทพฯ : มูลนธิ คิ อนราด อาเดนาวร

สำนักงานประเทศไทย, 2563.

56 หนา .

1. การเลอื กตัง้ ทอ งถ่ิน. I. คณกร แกวหอม,

ผวู าดภาพประกอบ. II. ชอื่ เรือ่ ง.

324.6

îÔ ISöBČîNďø9Şô78 - 6 16 - 9 0 4 7×5æ-7Ô-ö5 ĐÔşúþĀô

ปÛกąĜ /ìรูปúìเล ม ค ณ ก ร แ ก ว ห อþมìąş
จñำćôนñวน×Ţ öÚĄĘ ê Ĉė 5 6 ห น
า ďøôŞ
พÛิมçĄ พñค ôć รñั้งทŢđี่ç1õ ก นั ยçาöย นëďì25ü6ã3 ďûöüãąúąæÝć
จำนวน 4,000 เลม

จñัดôćพñิมŢêพโĈ ė íดยöćüĄê ดร.ธเนษฐ เศรษฐาวาณิช
105 ถนน จรัญสนทิ วงศ เขตบางกอกนอย

กรุงเทพ 10700

โทร. 088-7879890

พิมพท ่ี บรษิ ัท ธรรมสาร จำกดั

77/2 หมู 1 ต.บางขนุน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130

โทร. 02-459-4534 แฟกซ 02-459-4533

คำ�นำ�

การเลือกตั้งท้องถิ่น ถือว่าประชาชนเป็นเจ้าของอำ�นาจ
ในฐานะเป็นผู้เลือกตัวแทนหรือตัวบุคคลในท้องถ่ินให้เข้ามาดำ�รง
ต�ำ แหนง่ ในองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทง้ั ต�ำ แหนง่ “ผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ ” หรือ
“สมาชิกสภาท้องถิ่น” ซึ่งจะเห็นว่า ประชาชนพลเมืองของท้องถิ่น
จะเป็นผู้กำ�หนดเลือกผู้แทนของตนเองเข้ามาทำ�หน้าที่ใน “องคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ” เพ่ือตอบสนองปญั หาและความตอ้ งการของ
ประชาชนและการพฒั นาทอ้ งถ่ินของตนเองใหม้ ากที่สุด
ขอขอบคณุ มลู นธิ ิ Konrad Adenauer Stiftung ทใ่ี หท้ นุ สนบั สนนุ
การพมิ พ์คูม่ ือการเลือกตงั้ ทอ้ งถ่นิ (Local Election Guide Book)
เพื่อพิมพ์เผยแพร่ให้แก่ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นและ
ประชาชนท่ีเปน็ ผนู้ �ำ ท้องถ่ินเพื่อเปน็ ประโยชนใ์ นการเลอื กต้ังต่อไป

ศ.ดร.โกวิทย์ พวงงาม
รองประธานกรรมาธิการการกระจายอำ�นาจฯ คนที่ 1

สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร แบบบัญชรี ายช่ือ
พรรคพลงั ท้องถิ่นไท
ผเู้ รยี บเรยี งการเขยี น
ดร.ธเนษฐ เศรษฐาวณชิ
ผจู้ ดั พิมพ์

1

Foreword - Local Election Guide Book

The Konrad-Adenauer-Stiftung (KAS), a German foundation, is
honored to cooperate with the Committee on Local Administration
of the House of Representatives of Thailand. This cooperation
aims at supporting academic work on local administration and
decentralization in Thailand as well as local participation and
people’s voting rights.
New local election laws recently entered into force in Thailand.
The success and the effectiveness of local elections depend on
various factors like the respect of the rules, an adequate budget
and a fair electoral process, but also a well-informed and engaged
population. Therefore, representatives of the local administration
as well as all voters need to become more familiar with the new set
of legislation before the next elections. This is the reason why
this publication, presenting the concept and the significance of
local elections, as well as the new procedures, is crucial.
Local elections are one of the key pillars of democracy. By casting
their vote, voters can exercise one of their fundamental rights and
express their priorities or concerns with regard to their community. By
doing so, they can influence the local decision-making process, leave
their mark on local policies, and benefit directly from the political
choices implied by their ballots.

2

Furthermore, strengthening local participation and administration is
an important milestone in successfully increasing decentralization.
Each district, city, town or village has its own identity, culture, and
traditions, but also its own economic strengths and challenges.
Local representatives can best preserve the public interest in each
area and relay their constituents’ needs to the national level.
The “Local Election Guide Book” is the result of an exceptional
cooperation between the Committee and the KAS. On
behalf of the Konrad-Adenauer-Stiftung, I would like to thank
Prof. Dr. Kovit Phong-ngam, Member of Parliament, Deputy
Chairman of the Committee on Local Administration, and his
assistant, Dr. Tanet Setharvanich, for initiating and preparing this
publication.
The KAS hopes that this local election guide will become an academic
reference for Thai officials at the local level, members of the
House of Representatives and Senate, as well as the general
public interested in local elections, and decentralization.

Dr. Céline-Agathe Caro

Resident Representative, Konrad-Adenauer-Stiftung (KAS) – Thailand

3

“คมู่ ือเลอื กตงั้ ท้องถิ่น” (แปล)

มลู นิธิคอนราด อาเดนาวร์ จากประเทศเยอรมนี รู้สกึ เปน็ เกยี รติ
ทไ่ี ดร้ ว่ มมอื กับคณะกรรมาธิการการกระจายอำ�นาจ การปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
และการบริหารราชการรูปแบบพิเศษ สภาผแู้ ทนราษฎร ในการส่งเสรมิ
กจิ กรรมทางวชิ าการทเ่ี กย่ี วกบั การปกครองทอ้ งถน่ิ และการกระจายอ�ำ นาจ
ในประเทศไทย รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมระดับท้องถิ่นและสิทธิ
เลือกตง้ั ของประชาชน

ในประเทศไทย ไดม้ กี ารบงั คบั ใชก้ ฎหมายเลอื กตง้ั ทอ้ งถน่ิ ฉบบั ใหม่
เมอ่ื ไมน่ านมาน้ี ซึ่งความสำ�เร็จและประสิทธิภาพของการเลือกตั้งท้องถิ่น
นั้นจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น การเคารพกฎ งบประมาณทเ่ี พยี งพอและ
กระบวนการเลอื กตง้ั ทย่ี ตุ ธิ รรมรวมถงึ ประชาชนจะตอ้ งมขี อ้ มลู ความรแู้ ละมี
สว่ นรว่ มดว้ ย ดงั นน้ั ทง้ั ผสู้ มคั รและประชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั จะตอ้ งท�ำ ความรจู้ กั
คุ้นเคยกับกฎหมายเลือกตั้งท้องถ่ินชุดใหม่ก่อนการเลือกตั้งในคร้ังต่อไป
การจดั พมิ พห์ นงั สอื “คมู่ อื เลอื กตง้ั ทอ้ งถน่ิ ” น้ี จงึ มคี วามส�ำ คญั ในแงก่ ารน�ำ
เสนอแนวคิดและความหมายของการเลือกตงั้ ท้องถิ่น รวมทง้ั กระบวนการ
เลอื กตง้ั ใหมด่ ว้ ย

การเลอื กตง้ั ทอ้ งถน่ิ เปน็ หนง่ึ ในเสาหลกั ของความเปน็ ประชาธปิ ไตย
ที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถใช้สิทธิขั้นพื้นฐานในการลงคะแนนเลือกตั้ง
การแสดงออกถึงความต้องการและความสนใจของชุมชนของตนผ่านการ
ลงคะแนนเสียงดว้ ย ดงั นัน้ ผ้มู สี ิทธเิ ลอื กตั้งจะมีอิทธิพลตอ่ กระบวนการ
ตดั สนิ ใจในท้องถิ่น มีอทิ ธิพลตอ่ นโยบายท้องถ่นิ ท้ังยงั ได้รบั ผลประโยชน์
โดยตรงจากการตัดสินใจทางการเมืองนนั้ ดว้ ย อนั เป็นผลมาจากการลง

4

คะแนนเสียงของผู้มสี ทิ ธิเลอื กต้ังนน่ั เองนอกจากน้ี การสง่ เสริมการมีสว่ น
ร่วมของประชาชนและการปกครองท้องถิ่นยังเป็นเร่ืองสำ�คัญท่ีส่งผลต่อ
ความสำ�เร็จเพิ่มขึ้นของการกระจายอำ�นาจ ในแตล่ ะพืน้ ทไี่ ม่ว่าจะเป็น
ระดับอ�ำ เภอ ระดับเมืองหรือหมู่บ้านย่อมมีเอกลักษณ์ วัฒนธรรมและ
ประเพณีเป็นของตนเอง รวมทั้งความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและปัญหา
อุปสรรคต่าง ๆ ด้วย ซ่ึงผ้แู ทนท้องถ่ินกค็ ือผทู้ จี่ ะปกปอ้ งรกั ษาผลประโยชน์
ของประชาชนในแต่ละพื้นที่ได้ดีที่สุด รวมทง้ั การถ่ายทอดความต้องการ
ของประชาชนจากระดบั ท้องถน่ิ ข้ึนสู่ระดับชาติด้วย

หนงั สือ “คมู่ ือเลอื กต้งั ท้องถ่ิน” นีจ้ ึงนับเปน็ ผลงานท่เี ด่นชัดของ
ความร่วมมือระหว่างคณะกรรมาธิการฯ และมูลนิธิฯ ในนามของมลู นธิ ิ
คอนราด อาเดนาวร์ ดฉิ ันขอขอบคณุ ศาสตราจารย์ ดร. โกวทิ ย์ พวงงาม
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองประธานคณะกรรมาธิการคนที่หนึ่ง คณะ-
กรรมาธิการการกระจายอำ�นาจการปกครองส่วนท้องถ่ินและการบริหาร
ราชการรปู แบบพเิ ศษ และ ดร.ธเนษฐ เศรษฐาวาณิช ผู้ช่วยสมาชิกสภา
ผ้แู ทนราษฎร สาหรับผลงานความสำ�เรจ็ ในการจัดพิมพ์หนังสือนี้ มลู นิธฯิ
หวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่าหนงั สือ “ค่มู อื เลือกตัง้ ท้องถ่ิน” จะเป็นประโยชน์ทาง
วิชาการ ตอ่ สมาชกิ และข้าราชการส่วนทอ้ งถนิ่ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร
สมาชกิ วุฒสิ ภา ผบู้ ริหารทอ้ งถน่ิ และสมาชิกสภาท้องถน่ิ รวมทงั้ ผทู้ สี่ นใจ
เรือ่ งการเลอื กตัง้ ทอ้ งถ่ินและการกระจายอำ�นาจ สืบไป

ดร. เซลีน-อแกธ็ คาโร (Dr. Cline-Agathe Caro)
ผแู้ ทนมลู นธิ คิ อนราด อาเดนาวร์ ประจาประเทศไทย

5

บทนำ�

การปกครองทอ้ งถ่ิน มีความสำ�คัญตอ่ ชวี ิตความเปน็ อยู่
ของประชาชนอย่างไร

การปกครองท้องถิ่นไทยได้จัดให้มีหน่วยองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในแตล่ ะประเภท ได้แก่ องค์การบริหาร
สว่ นจงั หวดั (อบจ.) องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำ บล(อบต.) เทศบาล
เมืองพัทยาและกรุงเทพมหานคร(กทม.) ซึ่งจัดตงั้ ขึน้ ตาม
กฎหมายการจัดต้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินของแต่ละ
ประเภทและได้กำ�หนดอำ�นาจและหน้าท่ีในการจัดบริการ
สาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ เพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวิตความ
เปน็ อยู่ของประชาชนในท้องถน่ิ

องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ทุกประเภท เป็นนติ บิ ุคคล
มีงบประมาณรายได้จากการจัดเก็บภาษีอากรค่าธรรมเนียม
และมีรายได้จากเงินอุดหนุนของรัฐบาล โดยประชาชนเป็น
ผู้เลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่น เข้ามาบริหารงานในท้องถิน่ และใช้
งบประมาณในการพัฒนาท้องถิ่นรวมทั้งเลือกสมาชิกสภาท้อง
ถ่ินเข้ามาเป็นผู้กำ�กับดูแลการใช้งบประมาณของท้องถิ่นให้เกิด
ประโยชน์สงู สดุ

การใช้งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้บริหารท้องถิ่นต้องกำ�หนดนโยบายและแผนงานเพื่อให้
ตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยมสี มาชิกสภา
ทอ้ งถ่นิ และพลเมอื งของท้องถ่นิ ตอ้ งคอยติดตาม ตรวจสอบให้
เกดิ ความโปร่งใสมากท่สี ดุ

6

องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ เป็นอย่างไร

องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น (อปท.) เป็นองคก์ รที่ถูกจัดต้ัง
ขึ้นตามกฎหมาย มีองค์ประกอบ เช่น เป็นองค์กรนิติบุคคล
ซึ่งมีหน้าที่และอำ�นาจตามที่กฎหมายกำ�หนด มีรายได้
และงบประมาณของตนเอง มีผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิก
สภาท้องถิน่ ที่มาจากการเลอื กตั้งของประชาชนและมีเจา้ หน้าท่ี
ซ่งึ เป็นบคุ ลากรท้องถ่ินในการสนบั สนุนการบรหิ ารงานทอ้ งถน่ิ
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ถือเปน็ แหล่งฝกึ หัดประชาธปิ ไตย
ในระดับชุมชนทอ้ งถิน่ ที่เปิดพืน้ ทใี่ ห้ประชาชนเข้ามามสี ว่ นร่วม
ในการพฒั นาท้องถน่ิ ของตนเองมากทสี่ ุด โดยเฉพาะการที่
ประชาชนไปใช้สทิ ธิเลอื กตง้ั “ผ้บู รหิ ารทอ้ งถนิ่ ” และ “สมาชกิ
สภาท้องถ่นิ ” รวมท้ังมีส่วนร่วมในการเสนอการบรหิ ารจดั การ
พฒั นาท้องถนิ่ เพ่อื ตอบสนองปญั หาและความตอ้ งการของ

ประชาชนไดม้ ากที่สุด

7

8

การเลือกตั้งท้องถิ่น
สำ�คัญอย่างไร

01 เป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยทีม่ พี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข

02 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นประชาธิปไตยรากฐาน
ที่ประชาชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้มากที่สุดและ
ใกลช้ ดิ ประชาชนท่ีสุด

03 ประชาชนสามารถใช้สิทธิของตนเองเลือกผู้บริหารท้อง
ถ่ินและสมาชิกสภาท้องถิ่นท่ีเห็นว่ามีความสามารถ
ท�ำ งานเพ่อื ท้องถ่ินของตนเองได้ดีท่สี ุด

04 ประชาชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมเสนอแนวทางการ
พัฒนาท้องถ่ินให้ตอบสนองปัญหาและความต้องการ
ได้มากท่สี ุด

9

ตำ�แหน่งในองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
ทีป่ ระชาชนตอ้ งเลือกตัง้ มีตำ�แหน่งใดบา้ ง

ต�ำ แหนง่ ในโครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ที่
ตอ้ งเลือกต้งั ประกอบด้วย
1. เลือกต้งั “สมาชิกสภาท้องถิน่ ”
2. เลอื กตง้ั “ผบู้ รหิ ารท้องถ่ิน”
ท้ังสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นมีวาระการ
ด�ำ รงตำ�แหนง่ คราวละ 4 ปี นบั ตง้ั แตว่ นั เลอื กตงั้
สำ�หรับตำ�แหน่งผู้บริหารท้องถิ่น จะด�ำ รงต�ำ แหน่ง
ตดิ ตอ่ กนั 2 วาระไม่ได้ แตเ่ ม่ือด�ำ รงตำ�แหนง่ ตดิ ตอ่ กนั 2
วาระแลว้ จะดำ�รงต�ำ แหน่งไดอ้ กี เมื่อพ้น 4 ปี นบั ต้ังแตว่ นั พ้น
จากตำ�แหนง่

10

ในการเลือกตัง้ ท้องถ่ิน
มอี งค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
จะต้องจัดให้มีการเลอื กต้งั ท้องถน่ิ

กี่รูปแบบ มีอะไรบา้ ง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย
ต้องมกี ารเลอื กตงั้ มี 2 รูปแบบ 5 องคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (อปท.) ไดแ้ ก่
1. รปู แบบทั่วไป ประกอบดว้ ย 3 อปท.
- องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั (อบจ.)
- เทศบาล
- องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บล (อบต.)
2. รูปแบบพเิ ศษ ประกอบด้วย 2 อปท.
- กรุงเทพมหานคร
- เมอื งพัทยา

11

12

ผู้สมัครรับเลือกตั้ง

นายก อบจ. นายก อบต. นายกเทศมนตรี

ผู้วา่ ราชการ กทม. นายกเมอื งพัทยา
*ต้องมีคณุ สมบัติตามที่กฎหมายกำ�หนด

13

การกำ�หนดคุณสมบัติ

14

การกำ�หนดคุณสมบัติ
ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั นายก อบจ. นายก อบต.

และนายกเทศมนตรี เป็นอย่างไร

สัญชาติไทยโดยการเกดิ
อายุต้งั แต่ 35 ปขี นึ้ ไป

ระดับการศกึ ษา

นายก อบจ. และนายกเทศมนตรตี อ้ งจบปรญิ ญาตรีหรือเทยี บเทา่
นายก อบต. ต้องจบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

มชี ื่ออยใู่ นทะเบียนบา้ นในเขต อปท.
ไมน่ อ้ ยกว่า 1 ปี นบั ถึงวนั สมคั รรับเลอื กต้ัง

15

หากไม่มีวุฒิการศึกษาตามที่กำ�หนด

จะสามารถสมัครรับเลือกตั้งได้หรือไม่

สามารถสมัครได้ โดยตอ้ ง

- เคยเปน็ สมาชกิ สภาท้องถ่ิน
- สมาชิกสภาจังหวดั
- สมาชกิ สภาตำ�บล
- ผูบ้ ริหารทอ้ งถิ่นหรอื สมาชิกรฐั สภา

16

17

18

การกำ�หนดคุณสมบัติ

สมาชิกสภาท้องถิ่น เป็นอย่างไร

สัญชาติไทยโดยกำ�เนิดเกิด
อายตุ ัง้ แต่ 25 ปีข้ึนไป

มีช่อื อยูใ่ นทะเบยี นบ้านในเขต อปท. ไมน่ ้อยกวา่ 1 ปี
สมาชกิ สภาทอ้ งถิน่ ไมก่ �ำ หนดวา่ จะต้องจบการศึกษา

หรือประสบการณ์ทำ�งานในระดับใด

19

ลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง

นายก อบต. นายก อบจ และนายกเทศมนตรี
มีข้อกำ�หนดอะไรบ้าง

1. ตดิ ยาเสพติดให้โทษ
2. ตอ้ งค�ำ พพิ ากษาใหจ้ ำ�คกุ หรือถูกคุมขงั อย่โู ดยหมายศาล
3. เคยถูกสง่ั ใหพ้ ้นจากราชการ หน่วยงานของรฐั หรือรฐั วสิ าหกิจ
4. เป็นบคุ คลผูม้ ลี กั ษณะต้องห้ามมใิ ห้ไปใช้สทิ ธเิ ลือกตั้งตามมาตรา 39
(1) (2) หรือ (4)
(1) เปน็ ภกิ ษุ สามเณร นักพรตหรือนกั บวช
(2) อยู่ในระหวา่ งถกู เพิกถอนสทิ ธเิ ลอื กต้ัง
(4) วิกลจริตหรือจติ ฟ่นั เฟือนไม่สมประกอบ

20

ผู้สมัครสมาชิกสภาท้องถิ่น

สมาชกิ สภา อบจ. สมาชกิ สภา อบต. สมาชกิ สภาเทศบาล

สมาชกิ สภา กทม. สมาชิกสภาเมืองพัทยา

*ตอ้ งมคี ณุ สมบัตติ ามทก่ี ฎหมายก�ำ หนด

21

กรุงเทพมหานคร
(กทม.)

ผู้วา่ ราชการ สมาชกิ สภา กทม.
กทม. (สก.)

ใหแ้ ต่ละเขตมี ส.ก. ได้ 1 คน
ตอ่ ราษฎร 1.5 แสนคน
หากเศษเกิน 7.5 หมน่ื คน
ใหเ้ พ่ิม ส.ก. ไดอ้ ีก 1 คน

ผู้วา่ ราชการ กทม. และ สมาชกิ สภา กทม. (สก.)
มาจากการเลอื กตัง้ โดยตรงของประชาชน

22

คณุ สมบตั ขิ องผรู้ บั สมคั รเป็นผ้วู ่า กทม.

1. จบการศกึ ษา ไม่ต่ำ�กวา่ ปรญิ ญาตรีหรือเทยี บเทา่
2. อายุไม่ต�ำ่ กว่า 35 ปี
3. คุณสมบัตอิ ่นื ๆ เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการเลอื กตัง้ สมาชกิ
สภาท้องถิ่นหรือผบู้ รหิ ารท้องถิน่ พ.ศ.2562

23

เมืองพัทยา

นายกเมอื งพัทยา สมาชิกสภา
เมอื งพัทยา

จ�ำ นวน 24 คน

นายกเมืองพัทยา และ สมาชกิ สภาเมืองพทั ยา
มาจากการเลอื กตั้ง โดยตรงของประชาชน

24

คุณสมบตั ผิ ู้สมัครนายกเมืองพทั ยา

1. จบการศกึ ษาไม่ต�ำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรหี รือเทยี บเทา่
2. อายุไมต่ ่ำ�กวา่ 35 ปี
3. คณุ สมบัติอ่ืน ๆ เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการเลอื กต้งั สมาชิก
สภาทอ้ งถนิ่ หรอื ผบู้ รหิ ารท้องถิน่ พ.ศ.2562

25

ค่าธรรมเนียมการสมคั รรบั เลือกตั้ง
สมาชกิ สภาทอ้ งถนิ่ กำ�หนดไวอ้ ย่างไร

คา่ ธรรมเนียมการสมัครรับเลือกตัง้ สมาชกิ สภาท้องถิ่น ก�ำ หนดไว้ ดงั น้ี
1. สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนต�ำ บล 500 บาท
2. สมาชกิ สภาเทศบาลตำ�บล 2,000 บาท
3. สมาชกิ สภาเทศบาลเมือง 3,000 บาท
4. สมาชิกสภาเทศบาลนคร 5,000 บาท
5. สมาชกิ สภาองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั 2,000 บาท
6. สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร 10,000 บาท
7. สมาชกิ สภาเมอื งพัทยา 5,000 บาท

ค่าธรรมเนียมการสมคั รรับเลือกต้ัง
ผบู้ ริหารทอ้ งถ่ิน ก�ำ หนดไวอ้ ย่างไร

ค่าธรรมเนยี มการสมคั รรบั เลอื กตงั้ ผู้บริหารท้องถ่นิ กำ�หนดไว้ ดังน้ี
1. นายกองค์การบรหิ ารสว่ นต�ำ บล 2,000 บาท
2. นายกเทศมนตรตี ำ�บล 5,000 บาท
3. นายกเทศมนตรีเมอื ง 8,000 บาท
4. นายกเทศมนตรีนคร 10,000 บาท
5. นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด 30,000 บาท
6. ผู้วา่ ราชการกรุงเทพมหานคร 50,000 บาท
7. นายกเมืองพทั ยา 10,000 บาท

26

27

การสมัครรับเลือกตั้งมีแนวทาง
ปฏิบัติอย่างไร (มาตรา 51)

1. ผู้สมัครยน่ื เอกสารต่อผู้อำ�นวยการการเลอื กตั้ง
ประจำ�องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
2. เอกสาร ประกอบด้วย 3 สว่ น

- ใบสมัคร
- หลักฐาน (หลกั ฐานแสดงการเสยี ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คล
ธรรมดาเปน็ เวลาติดต่อกนั 3 ปีนับถงึ ปีท่ีสมคั รรับ
เลือกตง้ั )
- ค่าธรรมเนียมการสมัครตามทคี่ ณะกรรมการการ
เลือกตั้งก�ำ หนด

3. ผู้สมคั รจะถอนการสมัครไมไ่ ด้ (มาตรา 53)

28

คา่ ใช้จ่ายในการเลือกต้ังของ
ผสู้ มัครรับเลือกตง้ั เปน็ อยา่ งไร

1. จ�ำ นวนค่าใช้จ่าย (มาตรา 60 วรรคสาม)

- ผู้สมคั รห้ามใช้จา่ ยในการเลือกตัง้ เกินจ�ำ นวนเงนิ คา่ ใชจ้ ่ายตาม
ที่ผอู้ ำ�นวยการการเลือกตง้ั ประจำ�จงั หวัดประกาศ

2. ระยะเวลาในการคำ�นวณคา่ ใชจ้ า่ ย (มาตรา 61) **

- กรณคี รบวาระ ต้ังแต่ 180 วนั กอ่ นครบวาระจนถงึ วนั เลือกตงั้
- กรณีแทนต�ำ แหนง่ ทว่ี ่าง ต้งั แต่ต�ำ แหน่งว่างจนถงึ วันเลอื กตัง้

3. การยืน่ บัญชีรายรบั รายจา่ ย (มาตรา 62)

- ผ้สู มคั รต้องย่ืนบญั ชีรายรบั และรายจ่ายในการเลือกตง้ั พร้อม
ทั้งหลกั ฐานท่เี กย่ี วข้องต่อผูอ้ �ำ นวยการการเลือกตง้ั ประจ�ำ
จงั หวดั ภายใน 90 วัน

** สาระส�ำ คัญของ พ.ร.บ. การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาท้องถิน่ หรือ
ผ้บู ริหารทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2562 ที่มกี ารแก้ไขเพมิ่ เตมิ

29

30

การหาเสยี งเลอื กต้งั มกี ารกำ�หนด
หลักเกณฑต์ ่าง ๆ ไว้อย่างไรบ้าง

ระยะเวลาในการหาเสยี ง (มาตรา 64) **

กรณคี รบวาระ ตง้ั แต่ 180 วนั กอ่ นครบวาระจนถงึ 18.00 น. ของวนั กอ่ นวนั เลอื กตง้ั
กรณแี ทนต�ำ แหนง่ ทว่ี า่ ง ตง้ั แตต่ �ำ แหนง่ วา่ งจนถงึ 18.00 น. ของวนั กอ่ นวนั เลอื กตง้ั

ปา้ ยหาเสียง (มาตรา 71)

ขนาด จ�ำ นวน สถานทก่ี ารปดิ ประกาศ/ปา้ ยหาเสยี งท�ำ ไดต้ ามทค่ี ณะกรรมการการ
เลอื กตง้ั หรอื ผซู้ ง่ึ คณะกรรมการการเลอื กตง้ั มอบหมายไดก้ �ำ หนดไว้

ผู้ช่วยหาเสียง (มาตรา 66)

แจง้ จ�ำ นวนผชู้ ว่ ยหาเสยี งตอ่ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ประจ�ำ จงั หวดั
รายละเอยี ดเกย่ี วกบั ผชู้ ว่ ยหาเสยี ง หนา้ ท่ี และคา่ ตอบแทนตามทค่ี ณะกรรมการ

การเลอื กตง้ั ก�ำ หนดคา่ ตอบแทนตอ้ งน�ำ ไปรวมเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเลอื กตง้ั
ขอ้ ห้ามในการหาเสยี ง

ขอ้ หา้ มเกย่ี วกบั การจงู ใจใหล้ งหรอื ไมล่ งคะแนน (มาตรา 65)
ขอ้ หา้ มเกย่ี วกบั การอ�ำ นวยความสะดวกในการเดนิ ทางเพอ่ื การลงคะแนน
ขอ้ หา้ มไมใ่ หห้ าเสยี งตง้ั แตเ่ วลา 18.00 น. ของวนั กอ่ นวนั เลอื กตง้ั หนง่ึ วนั จนสน้ิ สดุ วนั
เลอื กตง้ั (มาตรา 70)

** สาระสำ�คญั ของ พ.ร.บ. การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาทอ้ งถนิ่ หรือผบู้ รหิ ารทอ้ งถิ่น
พ.ศ. 2562 ท่มี กี ารแกไ้ ขเพ่ิมเติม

31

ตวั แทนผสู้ มัครประจำ�หนว่ ยเลอื กตงั้ (มาตรา 58)

ผู้สมคั รสามารถสง่ ตวั แทนไปประจ�ำ อยู่ ณ ที่เลือกตัง้ ได้ แหง่ ละ 1 คน โดยยนื่
หนังสือแตง่ ตงั้ ตัวแทนตอ่ ผู้อำ�นวยการการเลอื กตง้ั ประจ�ำ องค์กรปกครองส่วน

ทอ้ งถนิ่ ก่อนวนั เลอื กตั้งไม่นอ้ ยกว่า 7 วนั

การตรวจสอบการเลือกตง้ั (มาตรา 113)

ผสู้ มคั รมสี ทิ ธยิ น่ื คดั คา้ นการเลอื กตง้ั ตอ่ คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ไดต้ ง้ั แตว่ นั ท่ี
ประกาศ ให้มีการเลอื กตัง้ จนถึง 30 วนั นับแตว่ นั ประกาศผลการเลือกต้งั

ข้อหา้ มมใิ หผ้ สู้ มัครเปน็ สมาชิกสภาท้องถิน่ หรอื ผู้บริหารท้องถ่ินหรือผูใ้ ดกระทำ�การ
อยา่ งหน่ึงอย่างใดเพ่ือจงู ใจให้ผู้มสี ิทธเิ ลือกต้ังลงคะแนนหรอื งดเว้นการลงคะแนน

ให้แก่ผูส้ มัคร มีอย่างไรบา้ ง
1. จดั ท�ำ ให้ เสนอให้ สัญญาวา่ จะให้หรอื จดั เตรยี มเพื่อจะใหท้ รัพย์สินหรอื
ผลประโยชนอ์ ืน่ ใดอันอาจคำ�นวณเปน็ เงนิ ไดแ้ กผ่ ู้ใด
2. ให้ เสนอใหห้ รือสัญญาว่าจะใหเ้ งิน ทรัพย์สนิ หรอื ประโยชน์อ่นื ใดไมว่ ่าจะ
โดยตรงหรอื โดยอ้อมแก่ชุมชน สมาคม มูลนธิ ิ วดั หรอื ศาสนสถานอน่ื สถานศึกษา
สถานสงเคราะหห์ รือสถาบนั อืน่ ใด
3. ท�ำ การโฆษณาหาเสยี งด้วยการจดั ใหม้ มี หรสพหรอื การร่ืนเริงตา่ ง ๆ
4. เลี้ยงหรอื รับจะจดั เล้ียงผูใ้ ด
5. หลอกลวง บังคับ ขู่เขญ็ ใชอ้ ทิ ธพิ ลคุกคามใส่ร้ายดว้ ยความเท็จหรือจูงใจ
ใหเ้ ข้าใจผิดในคะแนนนยิ มของผสู้ มคั รใด
หมายเหตุ การอนมุ ตั โิ ครงการหรอื กิจกรรมใหมใ่ นลักษณะตาม (1) - (5) ภายใน 90
วนั ก่อนวนั ครบวาระหรือก่อนการลาออกจากตำ�แหนง่ ของผู้บริหารท้องถ่นิ ใหถ้ ือวา่
การทำ�การอันฝ่าฝืนตามขอ้ หา้ ม

32

ผมู้ ีสิทธเิ ลอื กตัง้

ร่วมกนั เลือกบุคคลทีท่ ำ�เพ่ืออนาคตท้องถิ่นของตนเอง

33

ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น
ต้องมคี ุณสมบตั อิ ย่างไรบ้าง

1. มีสัญชาตไิ ทย ถ้าผมู้ สี ัญชาติไทยโดยการแปลงสญั ชาต ิ

ตอ้ งไดส้ ญั ชาตไิ ทยมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ 5 ปี

2. อายุ 18 ปีในวันเลือกตัง้
3. มีชื่ออยู่ในทะเบยี นบ้านในเขตเลอื กตงั้ มาแล้วเปน็ เวลา

ตดิ ตอ่ กนั ไม่น้อยกว่า 1 ปี นบั ถงึ วันเลอื กตั้ง

34

บุคคลใดบา้ งที่กฎหมายกำ�หนดใหเ้ ปน็ บคุ คล ตอ้ งหา้ ม
มิใหใ้ ชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั

1. ภกิ ษุ สามเณร นักพรตหรือนักบวช
2. อยใู่ นระหวา่ งเพกิ ถอนสทิ ธเิ ลอื กตง้ั ไมว่ า่ คดนี น้ั จะสน้ิ สดุ ลงแลว้ หรอื ไม่
3. ตอ้ งคุมขังอย่โู ดยหมายของศาลหรือคำ�สั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย

4. วิกลจรติ หรือจิตฟัน่ เฟืองไมส่ มประกอบ

35

ผู้มีสิทธิเลือกตง้ั สามารถลงคะแนนเลือก
ผู้สมคั รรบั เลือกตง้ั ได้อยา่ งไรบา้ ง

กฎหมายก�ำ หนดใหผ้ มู้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ลงคะแนนเลือกผุส้ มคั รรับเลือกต้ังได้ไม่
เกินจำ�นวนสมาชิกสภาทอ้ งถิน่ หรือผ้บู รหิ ารทอ้ งถ่นิ จะพ่ึงมีในเขตเลอื กตง้ั ดงั นี้
(1) เลอื กสมาชิกสภา อบต. ได้ 1 คน
และนายก อบต. ได้ 1 คน
(2) เลอื กสมาชิกสภาเทศบาลต�ำ บล ได้ 6 คน
เลอื กสมาชกิ สภาเทศบาลเมอื ง ได้ 6 คน
เลือกสมาชิกสภาเทศบาลนคร ได้ 6 คน
และ เลือกนายกเทศมนตรี ได้ 1 คน
(3) เลอื กสมาชิกสภา อบจ. ได้ 1 คน
เลือก นายก อบจ. ได้ 1 คน
(4) เลือกสมาชิกสภาเมืองพทั ยา ได้ 1 คน
และเลอื กนายกเมืองพัทยา ได้ 1 คน

36

การไมไ่ ปใชส้ ิทธิเลือกตงั้ โดยไม่ได้แจง้ เหตุ
จะทำ�ให้ถกู จำ�กดั สทิ ธิหรอื เสียสทิ ธิอยา่ งไรบ้าง

(1) เสยี สทิ ธิการสมคั รเปน็ ส.ส. หรือ ส.ว.
(2) เสียสทิ ธิการสมัครเป็นสมาชกิ สภาท้องถนิ่ และผู้บริหารทอ้ งถนิ่

(3) เสยี สทิ ธกิ ารสมคั รเป็นกำ�นันหรอื ผูใ้ หญ่บ้าน
(4) เสียสทิ ธิการเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาทอ้ งถ่ินหรอื ผูบ้ ริหารทอ้ งถน่ิ
(5) เสยี สทิ ธกิ ารด�ำ รงต�ำ แหนง่ ขา้ ราชการการเมอื งและขา้ ราชการรฐั สภาฝา่ ยการเมอื ง
(6) เสยี สทิ ธกิ ารด�ำ รงต�ำ แหนง่ รองผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ เลขานกุ ารผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ
ผ้ชู ว่ ยเลขานุการผบู้ ริหารทอ้ งถ่นิ ประธานท่ปี รกึ ษาผุบ้ ริหารท้องถ่ินหรอื

คณะท่ปี รกึ ษาผู้บริหารทอ้ งถิ่น
(7) เสยี สิทธิในการดำ�รงต�ำ แหน่งเลขานกุ ารประธานสภาท้องถ่ิน ผชู้ ว่ ย

เลขานุการ และรองเลขานุการรองประธานสภาท้องถนิ่
หมายเหตุ การจ�ำ กดั สทิ ธกิ �ำ หนดเวลาครง้ั ละ 2 ปี นบั ตง้ั แตว่ นั ไมไ่ ปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั

37

38

ภาคผนวก

39

จำ�นวนนายกฯ (อบจ. เทศบาล และอบต.)
เพศชายและเพศหญิง ปี 2557

40

จำ�นวนสมาชกิ สภา

องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บล

จำ�นวน 1 เขต สมาชกิ สภาองคก์ าร
เลือกตั้ง บรหิ ารสว่ นตำ�บล
จำ�นวน 6 คน
จำ�นวน 2 เขต สมาชกิ สภาองค์การ
เลือกตั้ง บริหารสว่ นตำ�บล
เขตเลือกตง้ั ละ 3 คน
จำ�นวน 3 เขต สมาชิกสภาองคก์ าร
เลอื กตั้ง บริหารส่วนตำ�บล
เขตเลือกตัง้ ละ 2 คน
จำ�นวน 4 เขต
เลอื กตง้ั สมาชิกสภาองคก์ ารบริหารส่วนตำ�บล
เขตเลือกตง้ั ละ 1 คน โดยเพิม่ อกี เขตละ
จำ�นวน 5 เขต 1 คน ในสองเขตแรกท่มี ีจำ�นวนราษฎร
เลือกตั้ง
มากทสี่ ดุ
สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บล
เขตเลอื กต้งั ละ 1 คน โดยเพิม่ อกี เขตละ
1 คน ในเขตทม่ี จี ำ�นวนราษฎรมากที่สุด

41

42

จำ�นวนองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ
(อปท.)

ประเภท อปท. จำ�นวน
องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั 76 แห่ง
เทศบาล 2,440 แห่ง
- เทศบาลนคร 30 แห่ง
- เทศบาลเมอื ง 176 แห่ง
- เทศบาลตำ�บล 2,232 แห่ง
องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บล (อบต.) 5,335 แห่ง
กรุงเทพมหานคร 1 แห่ง
เมืองพัทยา 1 แห่ง
รวม 7,853 แห่ง

ท่ีมา กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ ขอ้ มูล 9 มหกราคม 2558

43

องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
รปู แบบทัว่ ไป

1. องค์กรปกครองส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นองคก์ ร

ปกครองสว่ นท้องถิน่ ขนาดใหญ่ มจี งั หวดั ละ 1 แห่ง มเี ขตพืน้ ทีก่ ารรบั ผดิ
ชอบครอบคลุมท้ังจงั หวัด

โครงสรา้ งการบริหาร อบจ. ประกอบด้วย
1 ) นายก อบจ. เป็นฝา่ ยผ้บู ริหารท้องถิ่น 1 คน
2 ) สมาชิกสภา อบจ. เป็นฝา่ ยนติ ิบญั ญตั ิมีจ�ำ นวน 24 ถึง 48 คน
จำ�นวนสมาชกิ อบจ. ขนึ้ อยู่กับจ�ำ นวนประชากรแตล่ ะจังหวดั

2. เทศบาลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตชุมชนเมืองหรือ

เขตชานเมอื ง แบง่ เทศบาลออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ (1) เทศบาลนคร
(2)เทศบาลเมือง (3)เทศบาลตำ�บล ในแต่ละประเภทขึ้นอยู่กับจำ�นวน
ประชากรและความหนาแน่นของประชากร ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ และ
รายได้ทอ้ งถน่ิ

โครงสร้างการบริหารเทศบาล ประกอบด้วย
1 ) นายกเทศมนตรี เปน็ ฝ่ายบรหิ ารทอ้ งถิ่น
2 ) สมาชิกสภาเทศบาล เปน็ ฝ่ายนิติบัญญตั ิ
- สมาชกิ เทศบาลต�ำ บล มจี ำ�นวน 12 คน
- สมาชกิ เทศบาลเมอื ง มีจ�ำ นวน 18 คน
- สมาชกิ เทศบาลนคร มจี ำ�นวน 24 คน

44

3. องค์การบริหารสว่ นตำ�บล (อบต.) เป็นองคก์ รปกครอง

ส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในเขตชนบทและบางส่วนอยู่ในเขตชานเมือง มีหน้าที่
ให้บริการสาธารณะดแู ลประชาชนในเขตหมูบ่ า้ นและตำ�บล

โครงสร้างการบรหิ าร อบต. ประกอบดว้ ย
1 ) นายก อบต. เปน็ ฝา่ ยบริหารท้องถ่ิน
2 ) สมาชกิ สภา อบต. เปน็ ฝ่ายนิติบัญญตั ิ
จ�ำ นวนสมาชิก อบต. มตี ัวแทนหมู่บ้านละ 1 คน

45

องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
รปู แบบพิเศษ

1. กรงุ เทพมหานคร (กทม.)

เปน็ องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ รปู แบบพเิ ศษ เป็นเขตเมืองหลวง
ของประเทศ เป็นศูนย์กลางความเจรญิ ในทุกดา้ น แบ่งเขตการปกครอง
เปน็ 50 เขต

โครงสร้างการบริหาร กทม.
1 ) ผู้วา่ ราชการกรุงเทพมหานคร เปน็ ฝ่ายบริหารทอ้ งถ่ิน
2 ) สภากรุงเทพมหานคร เปน็ ฝา่ ยนิติบัญญตั ิ

2. เมืองพัทยา

เป็นองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ทม่ี ีความเจริญทาง
เศรษฐกจิ และเปน็ เมืองทอ่ งเท่ยี ว มจี ำ�นวนประชากรและความหนาแนน่

โครงสร้างการบริหารเมืองพทั ยา
1 ) นายกเมอื งพัทยา เปน็ ฝ่ายบรหิ ารท้องถิ่น
2 ) สมาชกิ สภาเมอื งพทั ยา เปน็ ฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ิ มจี �ำ นวนสมาชกิ 24 คน

46

47

การเลือกต้งั ทอ้ งถน่ิ ท่ีไม่สจุ รติ

สง่ ผลเสียหายอย่างไร

1 ท�ำ ลายการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
2 กกต. อาจส่ังให้มีการเลอื กตั้งใหม่ ท�ำ ใหท้ อ้ งถนิ่ ตอ้ งใชง้ บ

ประมาณซึง่ มาจากภาษีของพวกเรา เพ่ือจัดการเลอื กตัง้ ใหม่
ทำ�ใหส้ น้ิ เปลืองงบประมาณ

3 ไดผ้ แู้ ทนทม่ี งุ่ เขา้ ไปแสวงหาผลประโยชนส์ ว่ นตน
มากกวา่ มุ่งพัฒนาท้องถิ่น

4 ประชาชนและทอ้ งถน่ิ จะไม่ได้รบั การดูแลแก้ไขปัญหา
และพัฒนาอยา่ งแท้จริง

48


Click to View FlipBook Version