The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จดหมายข่าว tsql vol.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peakajoo, 2020-03-04 02:39:08

จดหมายข่าว eef

จดหมายข่าว tsql vol.2

กองทุนเพอื่ ความเสมอภาคทางการศึกษา

ฉบับท่ี 2 มนี าคม 2563 ปีที่ 2

โรงเรยี น
พฒั นา

TSQPตนเอง

Core Learning Outcome :
ผลลพั ธ์การเรยี นรหู้ ลกั ทีเ่ ปน็ รปู ธรรม

กองทนุ เพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา

สารบญั

บทบรรณาธกิ าร

สอื่ สาร...เล่าเรื่อง “รร.พัฒนาคุณภาพตนเอง” โดย
วิจารณ์ พานิช

Cover Story

Core Learning Outcome : ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้หลกั
ท่เี ปน็ รูปธรรม

Innovation Education

นวัตกรรม ยกระดับคณุ ภาพ รร.ท้ังระบบดว้ ย
“เครือ่ งบิน”

Inspiration

นางรัชนกี ร กายอ โรงเรีนบ้านนางแกว้ จ.สตลู
นายณฐั พงษ์ ดินน้ยุ ครูโรงเรยี นบ้านทา่ ชะมวง จ.สตลู

In The Classroom

สรา้ งวัฒนธรรมการเรียนรู้ ภายใต้ 4 กตกิ า
ปรับทัศนคติ สรา้ งความใจ มองเปา้ หมายเดยี วกัน

News Update

TSQP โครงการท่ีมนี กั พัฒนาเป็นพเ่ี ลย้ี ง

Play & Learn

นายกิตต์ิเนศ พันธภ์ านุฉัตร์
ศกึ ษาธิการจังหวัดเชียงใหม่
นายสมใจ วเิ ศษทักษณิ ผอ.สพม.21

Project Manager Talk

โดย ดร.อดุ ม วงษส์ งิ ห์ ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักพฒั นา
คณุ ภาพครู นักศกึ ษาครู และสถานศึกษา กสศ.

Gallery

NEWSLETTER 2

บทบรรณาธกิ าร

สอ่ื สาร...เล่าเร่อื ง “รร.พฒั นาคุณภาพตนเอง” โดย วิจารณ์ พานิช

สวสั ดีครบั ผู้ติดตามอา่ นจดหมายข่าว TSQP พบกนั ฉบับท่ี 2 ซึ่งได้ปรับเปล่ียนรูปแบบการน�ำ โดยนักเรียนตอ้ งเปน็ เจ้าของกจิ กรรมน้ันๆ และควร
เสนอใหม่ ท้งั นี้ ในส่วนของบทบรรณาธิการ (กสศ.) ในฐานะองคก์ รผ้สู นับสนนุ โครงการพัฒนา เป็นการทำ�เป็นทมี เพอ่ื ให้เกิดการเรียนรใู้ นมิติจติ สังคม
ครแู ละโรงเรียนเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนือ่ ง ไดร้ บั เกยี รตจิ าก ศ.นพ.วิจารณ์ พา (psychosocial) ด้วย
นิช ประธานอนกุ รรมการ โครงการพัฒนาครแู ละโรงเรยี นเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งตอ่ โรงเรยี นพัฒนาตนเอง น่าจะพิจารณาให้
เน่ือง จะเป็นผถู้ ่ายทอดเร่อื งราว องค์ความรู้ทางด้านการศกึ ษามาน�ำ เสนอใหแ้ กท่ า่ นผอู้ ่าน ประเดมิ นักเรียนปลกู ผัก และเลย้ี งสัตว์ไวเ้ ปน็ อาหาร และร่วม
จดหมายข่าวฉบับท่ี 2 น้ี ขอน�ำ เสนอ เร่อื ง “การเรยี นรูข้ าออก” กนั ท�ำ อาหารกินเอง เพอื่ เปน็ กิจกรรมการเรียนร้ขู า
ออก โดยที่ครูตอ้ งชวนนกั เรยี นรว่ มกนั กำ�หนดเป้า
“การเรยี นรขู้ าออก” คณุ ภาพสงู ต้องใหม้ กี ารเรียนรขู้ าออกในสัดสว่ นท่ี หมาย การเรยี นรู้ ส�ำ หรับนักเรียนแตล่ ะระดบั ชนั้
วิทยาการก้าวหน้าด้านสมองและการเรียน สูง เม่ือทำ�กิจกรรมแล้ว มีการตั้งค�ำ ถามเพื่อการเรียนรู้
ร้บู อกเราวา่ การเรยี นร้ใู นระดับท่ีเรยี กว่า higher or- น่นั คือขอ้ เตอื นใจแก่ โรงเรียนในโครงการ เชงิ ทฤษฎีหรือวชิ าการ ให้นกั เรยี นคน้ ควา้ จากหนังสือ
der learning ไมส่ ามารถเกิดได้จาก การเรียนรขู้ าเข้า โรงเรียนพฒั นาตนเอง หรืออนิ เทอรเ์ น็ต น�ำ มาเขียนรายงานผลการเรยี นรู้
คอื การรับถ่ายทอดความรูจ้ ากภายนอก แตเ่ กิดจาก การเรยี นรู้ขาออก คือการเรยี นรู้จากการ ตามเปา้ หมายท่ีก�ำ หนด เพอ่ื การเรียนรแู้ ละพัฒนาหลาก
การสร้างความรู้ขน้ึ จากภายในตนเอง ท่ีเรยี กว่า การ ปฏบิ ัติ หรือการลงมือทำ� ตามด้วยการใคร่ครวญ หลายดา้ น รวมทงั้ ทักษะชีวติ
เรียนรู้ขาออก สะท้อนคดิ (reflection) ย่ิงการกระท�ำ นัน้ อยู่ใน นักเรียนควรได้ฝึกทำ�กิจกรรมท่ีมีคุณ
การเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจำ�วันของ สถานการณ์จรงิ การเรียนรู้จะย่ิงเข้มขน้ และซับซ้อน ประโยชน์ตอ่ สังคม โดยทำ�เป็นเวลานานเป็นเทอมหรือ
คนเรา รวมท้ังการเรยี นรใู้ นโรงเรยี น มีทงั้ การเรียนรู้ การเรยี นรูใ้ นสถานการณจ์ ริง จดั ได้จาก เปน็ ปี เพอ่ื เรียนร้แู ละพัฒนาจติ สาธารณะ หรือการท�ำ
ขาเข้า และการเรียนรู้ขาออก แต่หากจะให้เปน็ การเรยี นรู้ กิจกรรมในชีวติ ประจำ�วนั เชน่ การท�ำ อาหาร การ ประโยชน์แก่สว่ นรวม รวมทง้ั การทำ�ประโยชนแ์ ก่ผู้อืน่
ทที่ รงพลัง มคี วามลึกและเช่ือมโยงสูง เปน็ การศกึ ษา ปลูกผักสวนครัว การเลย้ี งสตั ว์ การทำ�นา เปน็ ตน้ นอกจากได้เรียนรูเ้ ชิงเทคนิค (ความรู้ และทักษะ) ในกิจ
การน้ันๆ นักเรยี นจะได้เรยี นรู้จติ ใจภายในของตนเอง
ว่าเม่ือได้ทำ�สิ่งท่ีมีคุณประโยชน์ท่ีเหนือประโยชน์ส่วน
ตน เกดิ ปติ สิ ขุ อยา่ งไร นคี่ อื คุณค่าของ service
learning ทโี่ รงเรยี นพฒั นาตนเองควรได้ส่งเสริม
ให้พฒั นาขนึ้ ภายในจติ ใจของนกั เรยี น ซงึ่ จะมสี ่วน
ถ่ายทอดไปยังครู พอ่ แม่ และผู้เกีย่ วข้องกับโรงเรียน
อกี ด้วย
เทา่ กับโรงเรียนพัฒนาตนเอง เป็นแหล่ง
เพาะและแพรพ่ ันธ์คุ วามดงี ามในจติ ใจ โดยการเรยี นรูข้ า
ออกด้วยการทำ�เพื่อประโยชน์ท่ีเลยผลประโยชน์ส่วน
ตน ทกี่ ลา่ วงา่ ยๆ ว่าฝึกเปน็ คนไม่เหน็ แกต่ ัวจดั นัน่ เอง
โรงเรยี นมคี ุณค่ามากกว่าที่เราคิด

3 NEWSLETTER

Cover Story
Core Learning Outcome : ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้หลักท่ีเป็นรปู ธรรม

เม่อื ชว่ งตน้ เดือนธันวาคม ที่ผ่านมา โครงการ TSQP ได้ ทุนทางเศรษฐกจิ และทนุ ทางสังคมต�ำ่ และโรงเรยี นไม่ได้นำ�ปัญหาเหล่านม้ี า
จดั การประชุมเสวนาวิชาการ “เวทีแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ร่วมยกระดบั แลกเปลย่ี นกัน ครูไมไ่ ดป้ รับเปลยี่ นการสอน ยงั คงสอนแบบเดิมๆ เช่นนี้
คณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง” คร้งั ท่ี 2 โดยมี 2 กรณีศกึ ษาจาก คานงดั ท่ีจะท�ำ ใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงจึงต้องเริ่มจาก “เปลีย่ นโครงสร้าง
เครอื ข่ายมูลนธิ ิล�ำ ปลายมาศพัฒนา และเครอื ข่ายมหาวิทยาลัยสงขลา และระบบ” เพ่ือใหเ้ กดิ ทัศนคติในการจัดการศกึ ษาแบบใหม่ โดยน�ำ
นครินทร์ มารว่ มเสนอในประเดน็ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ “Core Learning “นวตั กรรมลำ�ปลายมาศพัฒนา” 3 เร่อื ง คอื จิตศกึ ษา, PBL, และ PLC
Outcome : ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้หลักท่ีเปน็ รูปธรรม” ซ่งึ มีผู้เขา้ รว่ ม มาใชใ้ นการพฒั นากลมุ่ โรงเรยี นเครอื ขา่ ย เพ่อื ใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงใน
จากองคก์ ร หน่วยงาน นกั วิชาการศกึ ษา กวา่ 80 คน Cover Story ระบบโรงเรยี น และหอ้ งเรียนได้อย่างเหมาะสมกับบรบิ ทและสภาพปัญหา
ฉบบั ทีส่ องน้ี จงึ ขอน�ำ องคค์ วามรู้จากเวทดี งั กลา่ วมาบอกเล่าถงึ รปู แบบ โดยมีเปา้ หมายที่นักเรียนเป็นส�ำ คัญ
การจดั การเรียนรูเ้ พือ่ พัฒนา Core Learning Outcome

เปล่ียนโลกทศั น์ ปรบั Mindset ในดา้ นนวัตกรรม เน้นการหาวิธกี ารที่ท�ำ ใหเ้ ด็กเป็นคนดี
กรณศี ึกษาจากเครอื ขา่ ยมูลนธิ ิลำ�ปลายมาศพัฒนา โดย งอกงาม มที กั ษะจำ�เปน็ ในศตวรรษที่ 21 ภาพการจดั การเรยี นการสอน
นายชนาวุธ ประทมุ ชาติ ผู้อ�ำ นวยการโรงเรยี นพระธาตุบังพวนวทิ ยา ท่ีผ่านมา ครูจะสอนแบบแนวดิ่ง ขาดการปฏสิ มั พนั ธ์กบั เด็ก เม่อื นำ�จิต
จงั หวัดหนองคาย ไดน้ �ำ เสนอถงึ กระบวนการท�ำ งานส�ำ หรับโรงเรียนใน ศกึ ษามาใช้ จะเน้นการสรา้ งสัมพันธภาพระหวา่ งผ้บู รหิ ารและเดก็ , ครแู ละ
เครือขา่ ยมูลนธิ ลิ ำ�ปลายมาศพัฒนา ซง่ึ ประกอบดว้ ย 9 โรงเรยี น ใน เดก็ , เด็กและเด็ก มกี ารชมเชยสรา้ งกำ�ลังใจ เน้นสรา้ งจิตวิทยาเชงิ บวก
สังกัด สพม. 21 (หนองคาย-บงึ กาฬ) มโี รงเรียนพระธาตบุ งั พวนวิทยา ลดการเปรียบเทยี บหรือท�ำ ใหเ้ ดก็ ร้สู ึกด้อยคา่ , ท้งั น้ี PLC เปน็ หวั ใจ
เปน็ โหนด สภาพปัญหาของโรงเรียนทพ่ี บ เนือ่ งจากเปน็ โรงเรียนมัธยม ส�ำ คญั ทที่ �ำ ใหท้ กุ โรงเรยี นเกดิ การเปลี่ยนแปลง โดยผู้บรหิ ารต้องลงมามี
ประจำ�ต�ำ บลและมขี นาดเล็ก เด็กทมี่ าเรยี นสว่ นใหญเ่ ป็นเด็กขาดโอกาส มี ส่วนผลักดันแตแ่ รกเรมิ่ และมเี ครอื ขา่ ยอ่ืนๆ อยา่ งเชน่ สพม. 21, มลู นธิ ิ

NEWSLETTER 4

ลำ�ปลายมาศพฒั นา เขา้ มารว่ มสนับสนนุ จนเข้มแขง็ ข้นึ ขณะน้ี โรงเรยี น “ทกั ษะวิทยาศาสตร”์ กระบวนการสร้างคณุ ลกั ษณะ การ
เร่ิมเปิดใหโ้ รงเรยี นต่างๆ เข้ามาศกึ ษาดงู านและเตรียมไปเรยี นรกู้ ารทำ�งาน เปน็ ผเู้ รยี นรู้ท่ีมคี ุณภาพ
ในดา้ นต่างๆ ดว้ ย กรณีศึกษาจากเครือข่ายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สำ�หรบั การน�ำ กระบวนทศั นจ์ ติ ศกึ ษามาสู่โรงเรยี น เรม่ิ ตงั้ แต่ (มอ.)
เช้า-เยน็ โดยชว่ งเชา้ หลงั เข้าแถวหน้าเสาธง จะท�ำ กิจกรรมรว่ มกัน ไม่มี รศ.ดร.ไพโรจน์ คีรีรัตน์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ น�ำ
การอบรม, ระหวา่ งคาบสอนครูต้องใช้จติ วิทยาเชิงบวก, ก่อนเขา้ เรียน เสนอการสอนโครงงานฐานวจิ ัย แกนหลกั พฒั นาใหน้ กั เรยี นมคี วาม
ภาคบ่ายมกี จิ กรรมฝกึ การร้ตู ัว เตรียมพรอ้ มเรยี น PBL จากน้ันมีการ สามารถในการคิดข้นั สงู สำ�หรบั เดก็ ระดับประถมศึกษา ออกแบบเป็น
ทบทวนบทเรยี นตั้งแต่เช้าจนถงึ เย็น ว่ามสี งิ่ ใดที่ยังต้องปรับปรงุ เพ่ือทำ� 5 หน่วยส�ำ หรับการสอน 1 ภาคเรยี น เวลาเรียน 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ในวนั ตอ่ ไป โดยเดก็ ตอ้ งบันทึกสง่ิ ทีท่ �ำ ลงในสมดุ กจิ กรรม ส�ำ หรับ PLC ประกอบด้วย 3 ฐาน คอื จิตตปญั ญาหรือคุณธรรม, การคดิ และการ
มกี ารแบง่ เปน็ PLC สายชน้ั จะประชมุ ทุกวนั อังคาร, PLC ประจำ�วชิ า และ วจิ ัย โดยในระดับอนุบาล-ป.3 เนน้ การสอนแบบบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย
PLC ของโรงเรยี น จะประชมุ ทุกวนั พฤหัสบดี ระดับป.4-มัธยมศกึ ษา เนน้ โครงงานฐานวิจัย จากทที่ ำ�มาขณะนีก้ �ำ ลงั มอง

ครูศริ วิ รรณ ชอ่ ชอ้ ย ครูช�ำ นาญการ โรงเรยี นพระธาตุ ว่าจะเนน้ ทเ่ี ร่ืองจติ ตปัญญาเพ่มิ ขน้ึ เรม่ิ จากเรือ่ งเมตตา กรุณา มุทิตา
บังพวนวิทยา อธบิ ายเสรมิ วา่ หลงั จากผ่านการอบรมนวตั กรรมล�ำ อเุ บกขา ทีส่ �ำ คัญคอื การสอนเร่ืองสติ ซึง่ เหมาะสมกับการสอนให้แกเ่ ดก็
ปลายมาศพฒั นา ได้นำ�กลบั มาวางแผนการพัฒนาผู้เรียนระหวา่ งทางมี ทน่ี ับถอื ศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม สว่ นฐานการคดิ ฝกึ ใหเ้ ด็กคดิ ดว้ ย
การประเมนิ เป็นระยะ ถ้าไม่ดขี ้นึ กต็ ้องปรับปรงุ แผนใหม่ การท�ำ กจิ กรรม ตนเองแบบมีเหตผุ ล และฐานวิจยั โรงเรยี นสามารถใชโ้ ครงงานในการ
จติ ศกึ ษาท่โี รงเรยี นจะก�ำ หนดใหว้ นั จนั ทร์และศกุ ร์ เปน็ หนา้ ที่ของครูที่ จดั การศึกษาได้ โดยเนน้ ให้เด็กตัง้ คำ�ถาม ครูเป็นผ้แู นะนำ� จากแนวทางนพี้ บ
ปรกึ ษา ส่วนวนั ท่เี หลอื ครูอนื่ ๆ จะสลับหมุนเวียนกันมาเพราะต้องการ ว่าท�ำ ให้เดก็ คิดไดเ้ รว็ กว่าปกติ อย่างไรกต็ าม ไมไ่ ดส้ นใจผลลพั ธ์วา่ เดก็
ใหค้ รูรจู้ กั นักเรยี นทกุ คน วธิ นี ที้ ำ�ให้ครทู ราบพฤตกิ รรมของเดก็ ทกุ คน จะไดม้ ากแคไ่ หน แต่ให้ความส�ำ คัญที่กระบวนการคิด ใหเ้ ด็กไดผ้ จญกบั
เพราะนง่ั เป็นวงกลมซ่งึ ได้ปฏิสัมพันธ์กนั ทว่ั ถึง กิจกรรมทีเ่ ด็กไดท้ �ำ ส่ง ปัญหา คดิ และแกไ้ ข ถ้าท�ำ ให้เด็กได้รบั การฝกึ เข้มข้นข้นึ และตอนทา้ ยจะจดั
ผลใหเ้ ด็กกล้าที่จะแสดงความคิด ส่วนครมู ีการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม เวทีถอดบทเรยี นให้มาแลกเปลีย่ น ท�ำ ให้เดก็ เกดิ ความกลา้ ท่ีจะพูด
เชน่ ไม่ตั้งคำ�ถามหรอื ใชค้ �ำ พูดท่ที ำ�ให้รูส้ ึกด้านลบ อยา่ งไรกต็ าม เวลาการสอน 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ คดิ เปน็ เพียง
10% ของเวลาเรยี นปกติ เช่อื ว่าจะสามารถเปลย่ี นแปลงได้ แตอ่ ยา่ ตง้ั
คำ�ถามกับคะแนนทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ หรอื โอเนต็ เสมือน
การปลดลอ็ ก ครกู ม็ คี วามสขุ กบั การสอน ทสี่ ำ�คัญคอื ไม่รบกวนการ
เรียนการสอนปกติ หากเกดิ ผลส�ำ เรจ็ เช่อื ว่าสามารถขยายผลไปโรงเรยี น
อ่นื ๆ ได้

5 NEWSLETTER

Innovation Education

“เคร่อื งบิน”นวัตกรรม ยกระดบั คุณภาพ รร.ทั้งระบบดว้ ย
โรงเรียนวัดช่างเคียน สังกัดส�ำ นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา มที ักษะส�ำ คัญในศตวรรษท่ี 21 และบรู ณาการองค์ความรเู้ พือ่ ใชใ้ นการ
เชยี งใหม่ เขต 1 ต.ชา้ งเผอื ก อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ เป็น 1 ใน 60 แกไ้ ขปญั หาในชีวติ จรงิ
โรงเรียน ของเครือข่ายวชิ าการมลู นธิ ิโรงเรยี นสตารฟ์ ชิ คนั ทรีโฮม ท่ี “เครอ่ื งบนิ ” นวตั กรรมทีถ่ กู ค้พบได้ทโ่ี รงเรียนวัดชา่ งเคี่ยน
เข้าร่วมโครงการพัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา จะสามารถยกระดับคณุ ภาพโรงเรียนทั้งระบบไดอ้ ย่างไร ?
อย่างตอ่ เนื่อง (Teachers & School Quality Program : TSQP) “School concept” ของโรงเรยี นมีเป้าหมายคือเดก็ ไดเ้ รยี น
มนี กั เรียนท้งั หมด 399 คน เปิดสอนระดับช้ันอนุบาลถงึ ม.3 และอยู่ใน แบบ Active Learning ผา่ นโครงงานเครือ่ งบนิ ซึ่งการจัดกิจกรรม Ac-
กลุ่มโรงเรยี นต้นแบบการจัดการเรยี นรวม มเี ดก็ พิเศษจ�ำ นวนมากถึง 72 tive Learning ในรปู แบบบูรณาการไปกับกลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ้งั 8 สาระ
คน โดยมีเครอ่ื งมอื ท่จี ะช่วยให้ Active Learning ชดั เจนขน้ึ คือ STEAM
ด้วยกระบวนการและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของ Design Process ซึง่ มีกระบวนการคล้ายกบั วทิ ยาศาสตรท์ ่ีเร่ิมจากการ
มูลนิธโิ รงเรียนสตารฟ์ ชิ คันทรโี ฮม ซึ่งจัดการเรยี นร้แู บบโครงงาน ถาม จนิ ตนาการ วางแผน ลงมอื ท�ำ สะทอ้ นคดิ เปน็ เทคนคิ การสอนที่
(PBL) และกจิ กรรมพนื้ ท่ีสำ�หรับนกั สร้างสรรค์ หรอื Makerspace เป็นรปู ธรรม มขี น้ั ตอนทีช่ ดั เจน ดงั น้ัน การน�ำ หลักสูตรเครือ่ งบนิ มา
สง่ เสรมิ การสรา้ งนวัตกรรมเพือ่ การแก้ไขปัญหา และเปดิ โอกาสใหผ้ ู้ เป็นโครงงานเด่นก็สามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอนทั้งระบบของ
เรียนเป็นผู้แสวงหาความรู้และสามารถคิดหาคำ�ตอบและสร้างนวัตกรรม โรงเรยี นได้
ในเรือ่ งที่ตนเองสนใจได้ดว้ ยกระบวนการ STEAM Design Process “สาเหตุทโ่ี รงเรยี นเลอื กเครื่องบนิ เพราะเป็นนวัตกรรมของ
อีกทั้ง ในสว่ นของครูผสู้ อน ทนี่ �ำ PLC มาเป็นกระบวนการสรา้ งการ โรงเรียนที่ ได้รับรางวัลถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เปลี่ยนแปลงใหค้ รู โดยเรยี นรจู้ ากการปฏิบัตงิ านของกลมุ่ ครูทม่ี ารวมตวั รชั กาลที่ 10 ถอื เปน็ ความภาคภูมใิ จของทุกคนในชุมชน เกดิ พลังความ
กัน เพื่อทำ�งานรว่ มกนั และสนับสนนุ ซงึ่ กนั และกัน โดยมุ่งหวังใหผ้ ูเ้ รียน ร่วมมอื ของพ่อแม่ ผปู้ กครองและชุมชนอย่างมาก ประเดน็ สำ�คญั เด็ก

NEWSLETTER 6

สามารถปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมท่ีไมด่ ี หนั มาคน้ หาศกั ยภาพของตนเอง
ได้ เด็กหลายคนเกเรไมส่ นใจเรยี น และมเี ด็กหลายคนเปน็ เด็กพเิ ศษ เมื่อ
เดก็ ไดล้ องทำ�เครอ่ื งบนิ ซง่ึ เรม่ิ ต้ังแต่การวาดรปู เขยี นแบบ การวดั ขนาด
ชิน้ สว่ นต่างๆ การลงสี เด็กไดล้ งมือทำ�ทกุ ข้นั ตอนด้วยตนเอง ซ่งึ เดก็ มี
สมาธจิ ดจ่อดว้ ยความสนใจ โดยทุกกระบวนการจะถูกแทรกลงไปในสาระ
การเรียนร้วู ิชาตา่ งๆ โดยธรรมชาตขิ องการเรียนรู้ ท�ำ ใหเ้ ดก็ ไมเ่ ครียด
ไมก่ ดดนั เดก็ อย่กู ับจนิ ตนาการ ความคิดสร้างสรรคท์ จ่ี ะท�ำ เคร่อื งบนิ
ใหอ้ อกมาบินไดน้ านทีส่ ุด” นายนภดล สุขดี ครูผู้สอนวชิ าเครือ่ งบิน
หน่วยสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชน้ั ม.1-ม.3
ครูนภดล เล่าถงึ ทมี่ าของหลกั สตู รเคร่ืองบนิ ว่า จดุ เริม่ ต้น
เกิดจากความสนใจของเด็กท่ีได้มีโอกาสเข้าไปอบรมการฝึกสร้างเครื่อง
บินท่วี ิทยาลยั เทคโนโลยโี ปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ทำ�ใหโ้ รงเรียนน�ำ มา
เป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ในการทำ�หลักสตู รท้องถ่ินเครอ่ื งบนิ ต้ังแตป่ ี 2551 ถงึ
ปัจจบุ ัน การเรยี นหลกั สูตรเคร่ืองบนิ โรงเรยี นเริ่มสอนในระดับประถม
ศกึ ษาจนถงึ ม.3 โดยเริ่มฝึกทำ�เคร่ืองบนิ ตงั้ เคร่อื งบนิ ปลอ่ ยดว้ ย
มอื เคร่ืองลอ่ นพลงั ยาง เครอื่ งบนิ เดินตาม เครอื่ งบิน 3D เคร่ืองบิน
วิทยุบงั คบั การเรียนจะเรม่ิ จากความสนใจของเดก็ ฝึกใหเ้ ดก็ มคี วามคดิ
สรา้ งสรรค์ ซึง่ เด็กต้องเขยี นแบบเปน็ คำ�นวณได้ โดยทมี ที่ไปแข่งขันได้
รางวลั ถ้วยพระราชทานมเี ด็กพิเศษเข้ารว่ มแขง่ ขนั ด้วย จะเห็นได้ชัดเจนว่า
เด็กพิเศษสามารถมพี ัฒนาการท่ีดีขน้ึ มสี มาธใิ นการฟังและปฏิบัติได้ เดก็
นกั เรยี นทีจ่ บช้ัน ม.3 ก็สามารถต่อยอดไปศกึ ษาต่อท่ีวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
โปลเิ ทคนิคลานนา เชยี งใหม่ ซง่ึ เปน็ เครอื ข่ายกบั ทางโรงเรยี นและให้เดก็
ไปเรยี นฟรี อกี หนึ่งสิง่ ท่เี ห็นชดั และเปน็ ความภาคภูมิใจของโรงเรยี น คอื
พ่อแม่ ผู้ปกครอง และชมุ ชน เหน็ การเปลย่ี นแปลงของลูก หลาน ให้
ความช่ืนชมทท่ี ำ�ชอื่ เสียงให้ชุมชน ส่งผลให้โรงเรยี นได้รบั การสนับสนนุ
ทงั้ ตวั เด็กและชุมชนมกี ิจกรรมและมสี ่วนร่วมกนั มากขน้ึ ด้วย
นวตั กรรม “เครอื่ งบิน” ได้ถูกบรู ณาการลงไปใน 8 สาระวชิ า
ตามชว่ งชัน้ แต่ยงั ไมไ่ ดส้ อนระดับช้นั อนุบาล แต่จากนี้ จะเรม่ิ วางแผนลง
ไปในทุกช่วงชัน้ ซง่ึ เป็นสง่ิ ทด่ี เี นอื่ งจากเหน็ พฒั นาการเดก็ เพราะเดก็ บาง
คนไมส่ นใจ ไมเ่ ขา้ กล่มุ ไมม่ คี วามรับผิดชอบ พ่อแมก่ เ็ หน็ การเปลย่ี นแปลง
ของลูกไปในทางที่ดี ด้วยหลกั สตู รนี้

7 NEWSLETTER

Inspiration

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยโครงงานฐาน “การจะสอนคนใหเ้ กง่ สอนตอน
วจิ ยั ในระดบั มัธยมศกึ ษาของโรงเรียนขยายโอกาส ซ่ึง ไหนก็ได้ แต่สอนให้เป็นคนดตี ้อง
มีบริบทแตกตา่ งจากโรงเรยี นมัธยมท่วั ไป การที่ กองทนุ ทำ�ตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้ เพราะถ้าเขาเป็นคน
เพอื่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.) และมหา ดกี ส็ ามารถเสรมิ สิ่งตา่ งๆ ได้ แม้จะ
วทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) น�ำ โครงงานฐานวิจัย เปน็ สงั คมพหวุ ัฒนธรรม แต่หลัก
มาสกู่ ารปฏิบัติในโรงเรยี นนนั้ ชว่ ยกระตุน้ ให้เกดิ ความ ความเมตตาเป็นพ้ืนฐานของทุก
เปลย่ี นแปลง ตั้งแตช่ ่วงแรกทเี่ รมิ่ เตรยี มความพร้อม มี
การนำ�จิตตปัญญาเข้ามาครไู ด้มุมมองใหม่ ดงั เช่น การจะ ศาสนาท่ีนำ�ไปใชไ้ ดจ้ ริง”
สอนคนใหเ้ กง่ สอนตอนไหนก็ได้ แตส่ อนใหเ้ ป็นคน
ดตี ้องทำ�ตั้งแต่เริ่มตน้ เพราะถ้าเขาเปน็ คนดีกส็ ามารถ นางรัชนกี ร กายอ
เสรมิ สิง่ ต่างๆ ได้ แมจ้ ะเป็นสงั คมพหุวัฒนธรรม แต่ โรงเรยี นบ้านนางแก้ว จ.สตูล
หลักความเมตตาเป็นพื้นฐานของทุกศาสนาท่ีนำ�ไป
ใช้ได้จรงิ ซึง่ พบวา่ เด็กร้จู ักตวั ตนมากขึ้นเม่อื ไดเ้ รยี นรู้
แนวทางน้ี ในห้องเรยี นทกุ คนเสมอภาคกนั ไมม่ ีใครเก่ง
ท่ีสดุ แยท่ ่สี ดุ ไมม่ ีการลงโทษหรอื ลดทอนก�ำ ลังใจ ท�ำ ให้
เดก็ กล้าแสดงตัวตน แสดงความคิดไดเ้ ตม็ ที่ ขณะที่ครู
ก็ได้ประโยชน์ ใจเย็นขึน้ เข้าใจเดก็ มากขึน้ ตนรสู้ ึกว่าเดิน

มาถูกทางและควรท�ำ แบบน้ีในทกุ วชิ า

NEWSLETTER 8

Inspiration

“การเปลย่ี นแปลงในตัวครูนั้น ทกุ ปจั จบุ ันรบั หนา้ ที่สอนช้นั อนุบาล 2 โดยพน้ื ฐานเดก็
คนต้องปรบั ความคดิ เวลานเ้ี รา ปฐมวยั จะมคี วามสนใจต่อสิ่งตา่ งๆ น้อย แตเ่ มอ่ื น�ำ จิตต
มหี นา้ ท่ีเปน็ โค้ชให้เด็ก หาวธิ ีการ ปัญญาเข้ามาใชพ้ บว่าเดก็ มีสมาธิ กลา้ แสดงออกมาก
ออกแบบแผนการสอนใหม่ๆ จาก ขน้ึ มีความภาคภมู ิใจเวลาทำ�โครงงานสำ�เร็จ ท่ีโรงเรียน
ทเี่ ขยี นบรรยาย ทาง มอ.แนะนำ�ให้ มีเดก็ พิเศษเรยี นรว่ มประมาณ 10 คน ได้น�ำ เดก็ มา
ทำ�รูปแบบแนวกิจกรรมมีลำ�ดับขั้น รว่ มกจิ กรรม พบว่าเด็กกลุม่ นมี้ ีสมาธิมากขึน้ อย่างไร
ตอนชดั เจน สามารถน�ำ ไปทำ�ต่อ ก็ตาม ในบางกิจกรรมอาจไม่ได้จบภายในวนั เดียว ตอ้ ง
ได้ ทส่ี �ำ คญั ทุกกจิ กรรมครูตอ้ งได้ ใช้เวลาค่อนข้างนานเพราะต้องการให้เกิดการพัฒนาเป็น
ผ่านการทดลองด้วยเพ่ือให้เข้าใจ รายบคุ คล ส่วนการพัฒนาในระดับประถมศึกษา พบ
วา่ เด็ก ป.1 บางคนที่ไมเ่ คยอยู่ในสายตาเพ่ือน ไมก่ ล้า
และนำ�ไปถ่ายทอดสู่เดก็ ได”้ แสดงออก แตเ่ มื่อเดก็ สามารถท�ำ โครงงานหนึง่ สำ�เรจ็
ทำ�ใหเ้ กดิ ความภาคภูมิใจในตวั เองขนึ้ บางกจิ กรรมเด็ก
นายณฐั พงษ์ ดนิ นุ้ย ได้ฝึกฝนการออกแบบช้ินงานท่ีนำ�ไปสู่การพัฒนาทักษะ
ครูโรงเรียนบา้ นท่าชะมวง จ.สตลู อาชพี ได้ สำ�หรับการเปลีย่ นแปลงในตวั ครูนัน้ ทกุ คน
ตอ้ งปรบั ความคิด เวลานีเ้ รามีหนา้ ทเ่ี ป็นโคช้ ให้เดก็ หาวิธี
การออกแบบแผนการสอนใหม่ ๆ จากทีเ่ ขียนบรรยาย
ทาง มอ.แนะนำ�ให้ท�ำ รูปแบบแนวกจิ กรรมมลี �ำ ดบั ขน้ั ตอน
ชัดเจน สามารถน�ำ ไปท�ำ ต่อได้ ทีส่ �ำ คัญทกุ กจิ กรรม
ครูต้องได้ผ่านการทดลองด้วยเพื่อให้เข้าใจและนำ�ไป

ถา่ ยทอดสู่เด็กได้

9 NEWSLETTER

ICNLATHS

สรา้ งวัฒนธรรมการเรียนรู้ ภายใต้ 4 กตกิ า

In The Classroom ตามแนวทางครือขา่ ยมหาวิทยาลยั
สงขลานครินทร์ โดยใชร้ ูปแบบโครงการบา้ นวิทยาศาสตร์น้อย เป็น
โครงการที่ได้รบั การถ่ายทอดวธิ ีการจากมูลนธิ ิ Hausa dear kleinen
Forscher ในการสรา้ งทศั นคติทด่ี ดี ้านการเรียนร้ทู กั ษะและกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ ในเดก็ ประถมวยั โดย การพฒั นาครูใหม้ คี วามสามารถ
ในการจดั การเรียนการสอนเดก็ เล็ก ดังนน้ั โครงการนี้จะสนบั สนนุ
การบริหารจดั การเพ่ือพฒั นาครูและโรงเรยี น รวมทัง้ ถา่ ยทอดวิธี
การสอน แบบโครงการบา้ นวิทยาศาสตรน์ อ้ ยในระดบั ปฐมวยั ถงึ ป.
3 และแบบโครงงานฐานวิจัยในระดับ ป.4 ขนึ้ ไป โดยใช้คาบสอน 2-3
คาบตอ่ สัปดาห์ หรือตามที่โรงเรยี นกำ�หนดให้ และสอนต่อเนือ่ งทัง้ ปี
โรงเรยี นชมุ ชนวัดควนมีด อ.จะนะ จ.สงขลา เครอื ข่าย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย นางกมลลักษณ์ นนทะสร ครูผู้
สอน ได้นำ�กระบวนการของโครงการบ้านวิทยาศาสตรน์ อ้ ยมาปรบั ใช้ใน

ปรับทศั นคติ สร้างความใจ มองเป้าหมายเดยี วกนั

In The Classroom ตามแนวทางครอื ขา่ ยล�ำ ปลายมาศ
พฒั นา สร้างการเปลี่ยนแปลงเชงิ ระบบดว้ ยนวตั กรรมสำ�คญั 3
เรื่อง คือ 1) จติ ศึกษา 2) หนว่ ยการเรยี นแบบบรู ณาการท่ีใชป้ ัญหา
เป็นฐาน (Problem-based Learning : PBL) และ 3) ชมุ ชนการ
เรียนรวู้ ิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) โดย
การเปลย่ี นโครงสร้างหรือระบบภายในโรงเรียน ซึง่ จะส่งผลตอ่ การ
เปลยี่ นแปลงแบบแผนพฤติกรรมของเด็ก ครู และผู้ปกครอง และการ
เปลยี่ น Mindset ทางการศกึ ษาและการเรียนรู้ เพ่อื ใหเ้ กดิ การพัฒนา
คุณภาพของผเู้ รยี นอย่างตอ่ เนื่อง ส่กู ารมีปัญญาภายใน และปญั ญา
ภายนอกหรอื ทักษะในศตวรรษที่ 21

NEWSLETTER 10

HSSEROOM

ชั้นเรียนในกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ เบอื้ งต้นก็ยงั ไมเ่ ขา้ ใจรูส้ ึกว่ายาก จน เมื่อเดก็ รับรแู้ ละท�ำ ตาม เริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะ
มโี อกาสไดเ้ ขา้ รบั การอบรมอีกคร้งั เร่มิ มองเห็นหนทาง ซึง่ กระบวนการ เด็กพิเศษที่บกพรอ่ งทางการเรียนรู้ สมาธสิ ้นั เขาไดฝ้ ึกตนเองจนมี
ทจ่ี ะใชพ้ ัฒนาครกู ็เพอื่ นำ�พาเด็กไปถึง 3 เป้าหมาย คอื เพ่อื ใหเ้ ด็กมี ความน่ิงมากข้นึ เดก็ เรมิ่ รจู้ กั สงั เกตและมกี ารตง้ั คำ�ถาม เด็กบางคน
ทักษะวิทยาศาสตร์ ทักษะในการสอ่ื สาร และคดิ แบบนกั วิทยาศาสตร์ ที่ไมค่ ่อยพูดกก็ ล้าพูดกล้าตอบมากข้นึ เปน็ ต้น ความเปลี่ยนแปลง
โดยวธิ กี ารที่นำ�ไปใชไ้ ม่ใช่การสอนวชิ าวิทยาศาสตรป์ ฐมวยั แต่เปน็ การ ของเด็กทำ�ให้คนเป็นครูมีความสขุ ไดแ้ ลกเปล่ยี นกับเพอ่ื นครูเมอื่ เขา้
จดั กระบวนการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ใหแ้ ก่เด็ก และกระบวนการสรา้ ง กระบวนการ PLC พบความเปลยี่ นแปลงอะไรในตัวเด็ก ทง้ั น้ี กจิ กรรม
คณุ ลักษณะการเป็นผเู้ รียนรทู้ ี่มคี ุณภาพ โดยสร้างวฒั นธรรมการ จิตตปญั ญาใช้ไดผ้ ลมาก สามารถทำ�ให้เด็กพิเศษท่ีไมอ่ ยนู่ ิง่ เริม่ อยนู่ ิ่ง
เรียนรภู้ ายใตก้ ารกำ�หนดกติกา 4 ข้อ ได้แก่ และเรียนรรู้ ว่ มกบั เดก็ ปกตใิ นชนั้ เรยี นได้ เด็กมีการสงั เกต จากที่ไมก่ ลา้
1. ฟงั ให้จบกอ่ นแลว้ ค่อยทำ� ตอบค�ำ ถามกก็ ล้าตอบค�ำ ถามหรอื ซกั ถาม โดยครจู ะไมต่ ัดสินวา่ คำ�ตอบ
2. น่งั ท�ำ งานอย่กู ับท่ีจนเสร็จ ไหนผดิ หรือถูก และกติกา 4 ขอ้ ทกี่ �ำ หนดไว้ ท�ำ ให้เขาต้องฟงั สิ่งทคี่ รู
3. จะถามหรือตอบใหย้ กมอื ขน้ึ และ พูด เพอ่ื จะยกมอื ตอบค�ำ ถาม จากน้นั กเ็ พม่ิ กติกาว่าห้ามตอบเหมอื น
4.เมอ่ื เพอ่ื นถามหรือตอบให้ฟงั เพือ่ นจนจบ เพอื่ น ท�ำ ใหเ้ ดก็ ฟงั และคดิ มากขึ้น สามารถทำ�ให้เด็กอยูก่ ับหอ้ งเรยี นและ
มีพัฒนาการที่ดีขนึ้ เป็นความภาคภูมิใจของครูอย่างยิ่ง

โรงเรียนพระธาตุบงั พวนวทิ ยา ครูศิริวรรณ ช่อช้อย ครู เคลอื่ น อย่างไรก็ตาม สง่ิ ทปี่ รากฏเห็นชดั คือ ผูเ้ รยี นไว้วางใจในการ
ช�ำ นาญการ เลา่ วา่ วธิ กี ารท่ีท�ำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในข้ันแรก เริม่ เรียนรู้กับครู กล้าจะสอ่ื สาร กลา้ ต้งั คำ�ถามท่เี หน็ ไดช้ ดั ในกระบวนการ
จากการปรับทัศนคติของทุกคนให้เข้าใจและมองในทิศทางเดียวกัน เรยี นการสอน เกดิ การคดิ วิเคราะห์สงั เคราะห์ เกิดวจิ ารณญาณในการ
เขา้ ใจในหลักจติ ศึกษา, PBL และ PLC และให้ทุกโรงเรียนปรับโครงสรา้ ง เลอื ก มกี ารเรยี นรรู้ ่วมกันเพอื่ หาค�ำ ตอบท่ยี งั ไม่เข้าใจ ไม่ใช่ต่างคนตา่ ง
ซ่งึ เปน็ คานงัดส�ำ คัญ, ตอ่ มาคอื ลงพื้นท่ีเพ่อื ศกึ ษาโดยใหโ้ หนดเปน็ ท�ำ ได้เหน็ กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นชิ้นงานที่เดก็ ท�ำ ร่วมกนั
หลัก ดูกระบวนการต้ังแต่เชา้ จนถึงเยน็ เพอื่ ใหค้ รูเกดิ ความมั่นใจวา่
เปลี่ยนแปลงได้ เกิดผลจริง จากน้นั เขา้ สกู่ ระบวนการ PLC ถอดการ
สาธิตของโรงเรียนลำ�ปลายมาศพฒั นา หรอื โหนด มองหาต้นทุนของ
โรงเรยี นท่ีไปดูงาน และมกี ารเปิดรบั โรงเรียนเครือขา่ ยมาดงู าน ประเดน็
ส�ำ คญั ในการดูงานไม่ใช่ไปจบั ผดิ แตไ่ ปศกึ ษาเพื่อให้เกดิ พลงั ในการขบั

11 NEWSLETTER

TSQPNews Update

โครงการท่ีมีนักพัฒนาเปน็ พ่ีเล้ยี ง

ปครระูสส�ำ บหกราบั รอเณพาเือ่์ซในสยี กนนาับรสมพนหฒั ุนาวนกิทาาโรยรทางล�ำ เงัยรายีขนอนขนแอลแงกะชโร่นั้นงเเรมรียลูยี นนนธิ 5ิลโคำ�เปครลรงาอืกยาขมรา่ ายศTพไSดัฒQ้แกนP่ ามกหแล�ำาหวะมิทนูลยดนาใ หลิธโ้ัยโิ รรศงงรเเรรีปีย ยีทนนมุ ทส่เีมตขหา้ารรา ว์ฟว่ ทิมิชยคาันมลทโี ัยค รสช้ ีโงฮขม(Cลาoโนดaคยcรนhนิ ว) ทัตจรกา์ รกสรภถมาายกบนาันรอวทกจิ �ำ งยั าทแนลค่ี ขะดัพอเฒังลเือคนกราจวอื าชิขกา่าผชยพีทูม้ ่ีี
ไดด้ ำ�เนินการมา ถือเปน็ ทุนความส�ำ เรจ็ ท่สี ามารถน�ำ มาสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพโรงเรยี นเปน็ กลุ่มโรงเรียนระหว่าง 20-75 แหง่ ทั้งนี้ ทกุ เครือขา่ ย
ต้องสนบั สนุนการพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ี่นำ�ไปสูส่ มั ฤทธผิ ลของนกั เรยี น และสนับสนุนการพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการโรงเรยี น อันเปน็
องค์ประกอบสำ�คญั ของการพฒั นาโรงเรียนท้ังระบบ ซง่ึ การด�ำ เนินการดงั กล่าวเป็นการออกแบบการท�ำ งานแบบใหมบ่ ูรณาการความรู้ ลงสู่โรงเรียน

รศ.ดร.ธันยวชิ วเิ ชยี รพันธ์ มหาวิทยาลัยศรีปทมุ วิทยาเขตชลบรุ ี ระบวุ ่า
การบริหารจัดการโครงการน้ี มี 3 เสาหลัก คอื 1.Digital Platform 2.Learn-
ing organization 3.Innovative classroom เพอ่ื ขับเคล่อื นโดยมีเป้าหมาย
จะสร้างประชากรให้มที กั ษะศตวรรษ ที่ 21 (Global citizen) โดยกำ�หนด
ผลลัพธ์ของการดำ�เนินการโครงการ คอื 1.การเปล่ียนแปลงของผู้เรยี นใน
ดา้ น 6cs 2.ความสนใจในการเรียนและการมาเรยี นอยา่ งสม�่ำ เสมอ 3.โรงเรยี น
มเี ปา้ หมาย มกี ารบริหารจดั การทีส่ ง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนทีพ่ ฒั นา
ทกั ษะแหง่ อนาคตใหม่ 4.ผลการเรียนที่เพ่มิ ขน้ึ และ 5.ครอู อกแบบกระบวนการ
เรยี นรู้และแผนการสอนไดด้ ี

รศ.ดร.ไมตรี อนิ ทร์ประสิทธิ์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ระบุว่า มหาวทิ ยาลยั
ขอนแก่นมีประสบการณ์ทำ�งานดา้ นการศกึ ษามาอย่างต่อเนื่อง สำ�หรับการ
ด�ำ เนินโครงการฯ นี้ เน้นการหาวิธีการยกระดับคณุ ภาพในชั้นเรียนดว้ ยปญั หา
ปลายเปิด ท�ำ Whole school Approach และทำ�งานเป็นทีม เพอ่ื ปรบั ปรงุ การ
สอนในห้องเรยี นให้มีคณุ ภาพ โดยมงุ่ ปรับปรุงกระบวนการเรียนรูข้ องผู้เรยี น
เน้นการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต ใหค้ วามสำ�คัญกับการบรหิ ารจดั การห้องเรียน และ
บูรณาการการบริหารจัดการโรงเรียนกับการบริหารจัดการห้องเรียนเข้าด้วย
กนั เพื่อใชน้ วัตกรรมในโรงเรียน สำ�หรับทมี การศกึ ษาในชนั้ เรยี น มที ้ังครู ผู้
อำ�นวยการ รวมถึงผู้ปกครองเข้ารว่ มดว้ ย สำ�หรับเป้าหมายทีว่ างไว้ในปแี รก
ตอ้ งการใหค้ รสู ามารถเปิดช้นั เรยี น(Open Class)ได้ เพราะนน่ั แสดงวา่ ครู
ยอมรับการเปลีย่ นแปลงและยอมรบั การวิพากษ์วิจารณ์จากผ้อู น่ื ซงึ่ เชื่อว่า
เปน็ วธิ ีการเขา้ ถงึ การเรียนรขู้ องผ้เู รียนตามเป้าหมายของโครงการฯ อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ

NEWSLETTER 12

รศ.ไพโรจน์ คีรีรัตน์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ระบุว่า การสร้างการ
เปลย่ี นแปลงเชิงพน้ื ท่ี หากท�ำ ได้ส�ำ เรจ็ จะสามารถพัฒนาใน 2 สว่ น คอื การ
พฒั นาระดบั โรงเรียน และระดับห้องเรยี น โดยการจดั การเรยี นรู้ในแนวทาง
บ้านวทิ ยาศาสตร์น้อย สำ�หรบั นกั เรยี นระดับอนุบาล-ป.3 ในการบม่ เพาะทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และการจดั การเรียนรแู้ บบโครงงานฐานวิจยั
(RBL) ส�ำ หรบั นกั เรยี นระดับ ป.4 ข้ึนไป ผสานกบั จติ ตปัญญา และทักษะการ
คิด

นายวิเชยี ร ไชยบัง มูลนิธิล�ำ ปลายมาศพฒั นา ระบุวา่ การพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษา หากสามารถเปล่ยี นครู ใหส้ ามารถออกแบบกิจกรรมกระตนุ้ ให้เด็ก
หาความรู้ในการแกป้ ัญหาได้ กจ็ ะเกดิ การพฒั นา ซึ่งรปู แบบที่ใช้ในโรงเรยี นคอื
การเปล่ียนแปลงเชงิ ระบบดว้ ยนวตั กรรม 3 เร่อื งท่สี �ำ คัญ คือ 1) จติ ศกึ ษา
2) หนว่ ยการเรยี นแบบบูรณาการท่ีใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem-based
Learning : PBL) 3) ชุมชนการเรยี นรู้วิชาชีพ (Professional Learning
Community : PLC) โดยการเปล่ยี นโครงสร้างหรือระบบภายในโรงเรยี น เมือ่
เปลี่ยนวธิ กี ารเรยี นการสอนของโรงเรยี นได้ ก็จะเกดิ วิถีใหม่ เกิดการเปลยี่ น
วธิ ีคดิ นำ�ไปสกู่ ารออกแบบโครงสร้างและระบบเพอื่ เอือ้ ต่อการพฒั นาการ
เรียนการสอน สุดท้ายพฤตกิ รรมของครู เดก็ ผปู้ กครองจะเปล่ยี นไป เกิด
การพัฒนาอย่างยั่งยนื

ดร.นรรธพร จนั ทรเ์ ฉลีย่ เสริบตุ ร มลู นธิ ิสตารฟ์ ิซคันทรโี ฮม ระบวุ ่า การ โดยมีหัวหน้าทมี ท�ำ หน้าที่ให้การสนับสนุน สว่ นทมี ในพน้ื ทจ่ี ะมเี จ้าหนา้ ทจ่ี ากเขต
ดำ�เนนิ งานโครงการมี 3 สว่ นด้วยกนั ได้แก่ การเรียนรแู้ บบโครงงาน (PBL) พื้นท่ีการศกึ ษาเข้ามาร่วมในการท�ำ งานกบั โรงเรยี นดว้ ย สำ�หรบั องค์ประกอบ
นวตั กรรมโรงเรยี นบ้านปลาดาว,Starfish Maker Academy และ Starfish ในการปฏริ ปู โรงเรียนอยา่ งยัง่ ยนื นนั้ ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ คอื สว่ น
Lab ซ่ึงเปน็ Platform ออนไลน์ โดยการดำ�เนนิ โครงการฯ แบ่งทมี โค้ชเป็น 3 ของผอู้ �ำ นวยการ ไดแ้ ก่ ผู้น�ำ ชมุ ชน บรรยากาศการเรียนรู้ เทคโนโลยี และเปา้
กลุ่ม ซ่งึ ผทู้ ีเ่ ป็นโคช้ มาจากหอ้ งเรียน จึงมีความเชยี่ วชาญในการเรียนการสอน หมาย สว่ นของครู ไดแ้ ก่ หลักสตู รและการประเมิน รปู แบบและการปฏบิ ตั ิการ
สอน และการพฒั นาวิชาชีพ สุดท้ายคอื ตัวผูเ้ รยี น ตอ้ งมที ักษะในศตวรรษ
ที่ 21 ใน 9 ด้าน ได้แก่ ทกั ษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม ทักษะดา้ น
การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา ทักษะดา้ นความรว่ มมือ
การท�ำ งานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู �ำ และทักษะด้านการสือ่ สาร สารสนเทศและร้เู ท่าทนั
สอื่ ส่วนทกั ษะชีวติ หรือทกั ษะดา้ นสงั คมอารมณ์ ไดแ้ ก่ การร้จู ักตนเอง การ
บริหารจัดการตนเอง การรบั ผดิ ชอบต่อการตดั สนิ ใจของตนเอง ทกั ษะด้าน
ความสมั พันธ์ และการรูจ้ กั สงั คม ทกั ษะเหล่าน้สี ามารถสรา้ งและพฒั นาผา่ น
กจิ กรรมใน Starfish Maker ได้เป็นอย่างดที ักษะเด็กทเี่ พม่ิ ขนึ้ มาเป็น Social
Learning Emotion Skill ได้แก่ การรู้จักตนเอง การบริหารจัดการตนเอง
การรับผิดชอบต่อการตดั สินใจของตนเอง ดา้ นความสมั พันธ์และสังคม

13 NEWSLETTER

Play & Learn

“เชยี งใหม่เปน็ หนงึ่ ใน 6 จงั หวดั นำ�ร่องพื้นท่นี วตั กรรม สสวท.เข้ามาชว่ ย อย่างไรกต็ าม ส่ิงที่อยากเห็นคือการที่ทกุ คนเสมอ
การศึกษา มีโรงเรียนนำ�ร่อง 61 โรงและกำ�ลงั เปดิ ร่นุ 2 จึงต้องการ ภาคมคี วามเทา่ เทียมกนั ในขณะทคี่ วามจรงิ พืน้ ทจ่ี ังหวดั เชยี งใหมม่ ี
เหน็ การศึกษาท่ตี อบโจทยก์ ารศึกษาจรงิ ๆ จากท่ีไดฟ้ งั เปา้ หมายของ ความเหลอ่ื มลำ�้ คอ่ นขา้ งมาก เปรียบเสมือนกับมอื ท่ที ุกนิว้ ของเรา
โครงการ TSQP คือทกุ คนอยากเห็นมนษุ ย์ทสี่ มบูรณ์ ส�ำ หรบั พ้ืนที่ ไมส่ ามารถเทา่ กนั ได ฉะน้นั อาจจะตอ้ งเร่ิมทกี่ ารสรา้ งฐานท่ีแขง็ แรง
จังหวัดเชยี งใหมน่ ั้นในทุกเดือนจะจดั กจิ กรรมสภากาแฟ ใหโ้ รงเรยี น เสยี ก่อน และค่อยๆ พฒั นาแก้ไขความเหล่อื มล้�ำ ใหห้ มดลงไปได้”
น�ำ รอ่ งพน้ื ท่ีนวัตกรรมฯ มารว่ มแลกเปลย่ี นความเหน็ กนั โดยมี นายกติ ต์เิ นศ พนั ธภ์ านฉุ ัตร์ ศกึ ษาธิการจังหวัดเชียงใหม่

NEWSLETTER 14

Play & Learn

“ในฐานะ ผอ.สพม. ไม่ตอ้ งการวิ่งตามโอเนต็ เพราะโอเนต็ ปจั จุบนั มีโรงเรียนในเขตท่เี ขา้ รว่ มโครงการ TSQP ท้ังสน้ิ

เปน็ องค์ประกอบหนึ่งของความเก่ง ความดี ความงาม ทผ่ี ่านมาเรา 18 โรงเรยี น โดยในพื้นที่ สพม.21 มโี รงเรยี นมธั ยม 56 โรงเรยี น

สนใจเฉพาะความเก่ง แตไ่ ม่สามารถตอบโจทยป์ ระเทศไทย ดังนนั้ จาก แบง่ เป็น โรงเรียนขนาดใหญพ่ เิ ศษ 3 โรง ขนาดใหญ่ 5 โรง ขนาด

น้ี เราจะมุ่งตามความดี ความงาม เพ่ือให้เดก็ ได้รบั การศกึ ษาที่ดี อกี กลาง 9 โรง และขนาดเล็ก 31 โรง ซึง่ ในปี 2561 เป็นจุดเรมิ่ ต้นของ

ประเด็นสำ�คัญคอื ปญั หาเดก็ ออกกลางคนั โดยเฉพาะระดับ ม.ตน้ การเปลยี่ นโรงเรยี นเปน็ สนามพลงั บวก เปลยี่ นวธิ คี ิดของผ้นู ำ� ใช้

มปี ญั หามากทีส่ ดุ เฉพาะในพื้นทท่ี ดี่ แู ล (ข้อมูลวันที่ 10 มิ.ย.-10 ปญั หาเปน็ ฐานและใช้ PLC เป็นตัวขับเคลอื่ น ทำ�ให้พบวา่ ลดการออก

พ.ย.) พบมเี ด็กออกกลางคนั ไปแลว้ กวา่ 500 คน จากเด็ก 40,000 กลางคนั ไดม้ ากขึน้ เดก็ มีความสขุ ประกนั การขาดโอกาส ผ้ปู กครอง

กว่าคน โดยไมท่ ราบเหตผุ ลชดั เจน จงึ พยายามลงแก้ไขปญั หาราย เชอื่ ใจ โดย สพม. 21 มหี น้าท่ีในการส่งเสริม สนบั สนนุ และประสาน

โรงเรียนเพ่ือหาสาเหตุทช่ี ัดเจน” นายสมใจ วเิ ศษทักษิณ ผอ.สพม. ให้ทางองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมาช่วยสนับสนุนการจัดการ

21 (หนองคาย-บึงกาฬ) ศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพ

15 NEWSLETTER

โอกาสน้ี จะขอยำ�้ ถึงวตั ถปุ ระสงคข์ อง โครงการพฒั นาครู มาตรการระดับชัน้ เรยี น มีการน�ำ เครอ่ื งมอื การจัดการเรยี นการสอน
และโรงเรยี นเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่อื ง (โครงการ และและเครือขา่ ยมาชว่ ยเรื่องของการจดั การศึกษา โดยแตล่ ะเครือข่าย
TSQP) โดยไดร้ บั เกียรติจาก ประธานอนุกรรมการ โครงการพัฒนา จะมโี ค้ชทเ่ี ข้าไปดแู ลให้คำ�แนะน�ำ ในเรอ่ื งนน้ั ๆ ทง้ั น้ี ปลายทางท่ตี ้องการ
ครแู ละโรงเรยี นเพอื่ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาอย่างตอ่ เนอื่ ง (ศ.นพ. ใหเ้ กดิ ความสำ�เรจ็ คอื ผลสัมฤทธิท์ เ่ี กดิ กบั ผู้เรยี นในแต่ละดา้ น เช่น มี
วิจารณ์ พานิช) เป็นผู้ต้งั ชอื่ ใหใ้ หม่เพ่อื การจดจ�ำ ได้ง่ายขึ้น วา่ “โครงการ ทกั ษะชีวติ ทกั ษะอาชีพทดี่ ีขน้ึ เปน็ ต้น โดยหากโรงเรยี นในโครงการทงั้
โรงเรียนพัฒนาคณุ ภาพตนเอง” วัตถุประสงค์โครงการที่สำ�คญั 4 291 โรงเรยี นมีระบบการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นการสอน
ประการ ได้แก่ ท่ีเปลีย่ นแปลงไป คาดว่าในปี 2563 จะขยายผลไปสูโ่ รงเรียนเพ่ิมข้ึน
1. มุง่ พัฒนาคุณภาพโรงเรยี นท้ังระบบโรงเรียน ทั้งด้านการ ประมาณ 800 แหง่ หรอื 10% ของโรงเรียนขนาดกลางท่วั ประเทศ โดย
บรหิ ารจัดการและการจดั ชนั้ เรยี น น�ำ รปู แบบน้ีไปประยุกต์ใช้
2. พัฒนาทักษะจำ�เปน็ ของครใู นการเรยี นการสอนเพื่อให้เดก็ ส�ำ หรับพน้ื ที่การดำ�เนนิ งานโรงเรยี นทัง้ 291 โรงเรียน อยู่ใน
เกิดทกั ษะท่ีจำ�เป็นในศตวรรษท่ี 21 35 จงั หวดั ครอบคลมุ ทัว่ ทกุ ภูมิประเทศ ได้แก่ ภาคเหนอื 7 จังหวัด
3. พฒั นาเครือขา่ ยระหว่างโรงเรียน ปจั จุบนั มโี รงเรยี นท่ี จำ�นวน 99 โรงเรียน ภาคกลางและภาคตะวันตก 8 จงั หวดั จำ�นวน 35
สมัครใจเขา้ รว่ ม 291 โรงเรยี น และ โรงเรยี น ภาคใตร้ วม 6 จงั หวดั จำ�นวน 38 โรงเรียน ภาคตะวนั ออก
4. ถอดบทเรยี นการดำ�เนนิ โครงการ ระหว่างด�ำ เนินการและ เฉียงเหนอื 11 จังหวดั 100 โรงเรียน และภาคตะวนั ออก 3 จังหวัด
เสรจ็ สิ้นโครงการเพือ่ เป็นตวั อยา่ งในการพฒั นาในอนาคต จำ�นวน 19 โรงเรียน
หลกั การท�ำ งาน แบง่ เป็น 2 กล่มุ หลัก คอื มาตรการพัฒนา กสศ.ไดส้ �ำ รวจสถติ นิ กั เรียนในโครงการ ปกี ารศึกษา 2562 มี
โรงเรียน เนน้ ระบบการบริหารจัดการโรงเรียนเพือ่ ให้โรงเรียนพฒั นาได้ ทง้ั ส้ิน 78,654 คน เปน็ ระดับอนบุ าล 17% ประถมศึกษา 57% ม.ต้น
ต้ังแต่ผู้บริหาร ครแู ละบคุ ลากร พอ่ แมผ่ ู้ปกครอง ชุมชน ซ่ึงมีการนำ� 23% ส่วนระดับม.ปลาย สดั สว่ นน้อยเพราะส่วนใหญ่เปน็ โรงเรียน
กระบวนการต่างๆ อาทิ PLC หรอื Info มาเปน็ เครอ่ื งมอื ทำ�งาน และ ขยายโอกาส และพบขอ้ มลู เปรียบเทยี บท่ีนา่ สนใจ มีนกั เรยี นทอ่ี ยู่ในกลุ่ม

NEWSLETTER 16

Project Manager Talk

“โรงเรยี นพฒั นาตนเอง เป็นเหมือนการทำ�งานของชนกลุม่ นอ้ ยทก่ี ลา้ ทำ�เรือ่ งใหม่
จงึ อยากให้ทุกคนนำ�ปัจจัยบวกมาเปน็ โอกาสในการท�ำ งานในทุกเครอื ขา่ ย และไม่วา่ จะ
น�ำ เครอ่ื งมอื อะไรมาวัด ขอให้คิดวา่ ท�ำ เพ่อื เดก็ ”

ดร.อุดม วงษส์ ิงห์
ผู้อ�ำ นวยการสำ�นกั พฒั นาคุณภาพครู นักศกึ ษาครู และสถานศกึ ษา กสศ.

ยากจน และยากจนพิเศษ กวา่ 30,000 คน ซ่ึงเป็นข้อมลู ในการวางแผน
พัฒนาและเข้าไปดูแลเด็กไดอ้ ยา่ งตรงจุด เพราะ กสศ.คาดหวังว่าครูจะดูแล
เด็กได้อย่างท่ัวถึง โดยฐานขอ้ มลู เด็กยากจนและเดก็ ยากจนพเิ ศษนี้ กสศ.
ดำ�เนนิ การจากการจดั ทำ�ฐานรายได้ครอบครัว เพอ่ื จดั สรรเงินอดุ หนุน
เดก็ ยากจนพิเศษ
ทั้งน้ี ต้องพฒั นาทกั ษะใหเ้ กดิ กับตัวผ้เู รยี น 5 เรอื่ ง ได้แก่ ทักษะ
การคิดวิเคราะห์ ทักษะการคดิ แกป้ ญั หา/คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ ทกั ษะ
การสอื่ สาร ทักษะอาชพี และทกั ษะชวี ติ ซึง่ เปน็ ทกั ษะจ�ำ เป็นในศตวรรษ
21 รวมถงึ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ไดแ้ ก่ วินยั ความซื่อสัตย์ จติ
สาธารณะ ท้ังหมดน้ีเม่ือมกี ารวัดและประเมินผลการดำ�เนินจะต้องปรากฏ
ผลแก่นักเรียนของเรา แต่หากมเี รอื่ งอนื่ ๆ เพมิ่ เตมิ ก็สามารถทำ�ไดข้ ึ้นกับ
เครอื ขา่ ยในการวางระบบพัฒนา

17 NEWSLETTER

Gallery

ก�ำ กับทิศ TSQP :

การประชมุ คณะอนุกรรมการก�ำ กบั ทิศ โครงการพฒั นาครแุ ละโรงเรยี น เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
ครัง้ ที่ 6/2562 เมื่อวันที่ 3 ธ.ค. ณ โรงแรมเซน็ จูร่ี พารค์ กรงุ เทพฯ

Core Learning Outcome :

การจดั ประชมุ เสวนาวิชาการ “เวทีแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ร่วมยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง” ครง้ั ท่ี 2
ในประเด็นแลกเปลีย่ นเรียนรู้ “Core Learning Outcome : ผลลัพธก์ ารเรยี นรหู้ ลกั ที่เป็นรปู ธรรม”
ซึ่งมี 2 กรณีศึกษาจากเครอื ขา่ ยมูลนธิ ิล�ำ ปลายมาศพัฒนา และเครอื ข่ายมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ โดยมี

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ประธานอนกุ รรมการโครงการพัฒนาครแู ละโรงเรียนเพอื่ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนอื่ ง
รว่ มถ่ายภาพ ณ ท่ีโรงแรมเซ็นจูร่ี พารค์ กรงุ เทพฯ เมอื่ วันที่ 3 ธ.ค. ทีผ่ ่านมา

NEWSLETTER 18

บรรณาธกิ ารบริหาร ประธานอนุกรรมการ
ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นกั พัฒนาคณุ ภาพครู นกั ศกึ ษาครู และสถานศกึ ษา กสศ.
ดร.อดุ ม วงษ์สิงห์ หวั หน้าโครงการบริหารจดั การ
นางเพ็ญพรรณ จติ ตะเสนีย ์ นกั วชิ าการบรหิ ารแผน กสศ.
นางสาวชนกพรรณ วรดิลก
ทมี บรหิ ารจัดการโครงการ
กองบรรณาธิการ ทมี บรหิ ารจดั การโครงการ
นางเกอ้ื กลู ชั่งใจ ทมี บรหิ ารจดั การโครงการ
นางสาวมาฆะรัตน์ อมั พรเกียรตพิ ล ทมี บรหิ ารจดั การโครงการ
นางสาวณัฐธยาน์ บุณยทวีพัฒน์
นางสาวณัฐวี พมุ่ จันทร์

19 NEWSLETTER

กองทุนเพอื่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.)
เลขท่ี 388 อาคาร เอส. พี.ชั้น 13 ถนนพหลโยธนิ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400
เวบ็ ไซต์ : [email protected] โทรศพั ท์ : 02-079-5475 โทรสาร : 02-619-1810, 02-619-1812

NEWSLETTER 20


Click to View FlipBook Version