The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanuntida22, 2022-09-05 22:45:21

วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

ชือ่ ผลงาน : การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์โดยใชร้ ะบบหอ้ งเรียนออนไลน์ google
Classroom ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6/3 เร่อื ง การสรา้ งเว็บไซต์ด้วย Google site
ผจู้ ัดทำ : นางสาวชนนั ธดิ า กา้ นดอกไม้
หน่วยงาน : โรงเรยี นอุลติ ไพบูลยช์ นูปถมั ภ์
ปกี ารศึกษา : 2564

บทคัดย่อ
การวจิ ัยครงั้ นม้ี ีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ โดยใช้ ระบบ
หอ้ งเรยี นออนไลน์ Google Classsroom 2) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผ้เู รยี นทม่ี ีต่อการ จดั การเรียนการ
สอนแบบออนไลน์ 3) เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผ้เู รียนทเ่ี รียนจาก การจัดการเรียนการสอน
แบบออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classsroom โดย 3 กลมุ่ ตัวอยา่ งในครัง้ น้ีคือ นกั เรยี น
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/3 จำนวน 27 คน และเครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ัย ครง้ั นค้ี ือ การจดั การเรยี นการสอนแบบ
ออนไลน์ โดยใชร้ ะบบห้องเรยี นออนไลน์ Google Classsroom รายวิชา โครงงานพฒั นาเว็บไซตด์ ้วย Google
siteเร่ืององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์แบบทดสอบเพอ่ื วัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น และ แบบประเมิน
ความพงึ พอใจของผู้เรยี นท่มี ีต่อ การจัดกจิ กรรมการ เรียนรู้แบบออนไลน์ และผลการวจิ ัยใน ครัง้ นี้พบวา่ ผล
การหาประสทิ ธิภาพของสอ่ื ท่ีพฒั นาจาก แผนการจดั กิจกรรมการเรียนร้แู บบออนไลน์มีค่า ความเชอื่ ม่นั เท่ากับ
.90 ซ่งึ อยู่ในเกณฑท์ มี่ ีความ เชื่อมัน่ สูง และจากการวเิ คราะหผ์ ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผเู้ รยี น ระหวา่ งเรยี น
และหลงั เรียน แตกต่างกันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั 0.05 และผเู้ รียนมคี วามพึงพอใจต่อการจัด
กิจกรรมการ เรยี นรู้แบบออนไลน์ในระดับมาก เพราะผเู้ รยี นสามารถศึกษาบทเรยี นไดด้ ้วยตนเองในชว่ งเวลาที่
ต้องการ

บทที่ 1
บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา
ปัจจุบันการจัดการศึกษาของประเทศไทยมีแนวโน้มการพัฒนาที่ดีขึ้น มีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งเกิด
จากความก้าวหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยีการส่ือสารท่ี เจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ เป็นการส่ือสารท่ี ไรพ้ รมแดน ซึ่ง
เราทุกคนสามารถติดต่อ พูดคุย สืบค้นข้อมูลข่าวสารผ่าน ช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ ยูทูป อีเมล หรือผ่าน
การ สื่อสารแบบสังคมออนไลน์ที่ทุกคนเรียกว่า “social”` เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ ต่างๆ ทั้งนี้ในกระบวนการจัด
การศึกษากเ็ ชน่ เดียวกัน ไดม้ กี ารนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการ จดั การเรยี นการสอน โดยมหาวิทยาลัยต่างๆ
ได้นำเอา ระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในดา้ นการ บริหารงานใน โรงเรียน การพัฒนาสื่อการสอนเพื่อนำมาใช้ใน
การเรียน การสอนในห้องเรียน การใช้ ห้องเรียนออนไลน์ ซึ่งใน ปัจจุบันมีหลากหลายช่องทางสำหรับการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ เช่น Google Classsroom ระบบห้องเรียนออนไลน์ ที่ให้บริการเทคโนโลยี
สารสนเทศทางออนไลน์ เพื่อ การเรียนการสอนในระดับประเทศของไทย มีคุณสมบัติเป็นระบบชั้นเรียน
ออนไลน์ (LMS = Learning Management System) ที่ได้รับการพัฒนาข้ึนเพื่อรองรับรูปแบบจัดการการ
เรียนการสอน แบบห้องเรียนกลบั ทาง (Flipped Classroom) และมุ่งส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้ ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี น
เป็น สำคัญ ผู้สอนสามารถออกแบบการเรียนการสอน ที่มีความยืดหยุ่นเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ของ
ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งสะดวก ซ่ึงไดร้ ับผลตอบรบั อยา่ งดจี าก ผูเ้ รยี น แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ระบบการศึกษา ของไทยก็ยังคง
มีจุดอ่อนในด้านการจัดการเรียนรู้ ซึ่งในการพัฒนา ระบบการศึกษานั้น รัฐบาลหรือ ผู้บริหารสถานศึกษา
จำเปน็ ท่จี ะต้องมุ่งสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามพร้อมในดา้ นความรู้ และทกั ษะต่างๆ ท่ีจำเป็นในการดำรงชวี ิต เช่น
ทักษะการจดั การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 เช่น ทักษะ ดา้ นภาษา ทักษะ การใชเ้ ทคโนโลยีนวตั กรรม และทักษะ
ชีวิต ซึ่งจำเป็นจะต้องให้ผู้เรียนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ใน การดำเนินชีวิตได้ รวมถึงกระตุ้นให้ผู้เรียนได้
แสดงออก ซึ่งความคิดสร้างสรรค์ในการเรียนรู้เพื่อให้เป็น มนุษย์ที่ สมบูรณ์ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา อารมณ์และสังคม ซึ่งในการปรับกระบวนการ เรียนการสอนให้เอื้อต่อการพัฒนาขีดความสามารถ
ของผู้เรียนได้แสดง ศกั ยภาพของตนตาม จุดประสงค์การเรยี นร้แู ตล่ ะระดบั โดยยึดหลกั ว่าผู้เรียนมีความสำคัญ
ที่สุด เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้ มีบทบาทโดยตรงกับการจัดการศึกษาใน ปัจจุบัน โดยสามารถแสดงข้อมูล
ข่าวสารได้ทั้งในรูปแบบ ของ เสียง ข้อมูล ภาพ ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอ ทำให้การเรียนรู้ในยุคใหม่ประสบ
ความสำเร็จอย่าง รวดเร็ว (ยืน และสมชาย, 2546) และการจัดการเรียนรู้ใน ปัจจุบัน นอกจากครูจะเป็น
ผู้บรรยายในชั้น เรียนแล้ว ก็มีกิจกรรมอีกหลากหลายรูปแบบที่ได้นำมาจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับทักษะ
การ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง เน้นให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ทำกิจกรรม และครูเป็นเพียงที่
ปรึกษา เช่น การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classsroom ก็เป็น
อีกหนึ่งแนวทางของการ จัดการเรียนการสอนแบบใหม่ โดยให้ผู้เรียน “เรียนที่ บ้าน ทำการบ้าน ที่โรงเรียน”
ซึ่งเป็นการนำสิ่งเดิมที่เคย ทำในชั้นเรียนไปทำที่บ้าน และนำสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ให้ทำที่ บ้านมาทำที่
ห้องเรียนหรือโรงเรียนแทน โดยไม่ เน้นให้ครูอยู่ในชั้นเรยี นเพื่อสอนเนือ้ หาต่างๆ เพราะ ผู้เรียนสามารถศึกษา
เน้ือหานนั้ ๆ ด้วยตนเอง

วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรยี นออนไลน์ Google

Classsroom
2. เพอื่ ประเมินความพงึ พอใจของผู้เรียนที่มตี อ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบออนไลน์
3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รียนทเี่ รียนจากการจัดการเรียนการสอน แบบ

ออนไลน์ โดยใชร้ ะบบห้องเรยี นออนไลน์ Google Classsroom
ขอบเขตของการวจิ ยั

ขัน้ ที่ 1 ผสู้ อนสรา้ งห้องเรยี นออนไลนโ์ ดยใช้ระบบหอ้ งเรยี นออนไลน์ Google Classsroom และ ให้
นกั เรียนผู้เรียนลงทะเบียนเข้ามาเรยี นได้

ขน้ั ท่ี 2 ผสู้ อนพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบออนไลน์เร่ืององค์ประกอบของระบบ
คอมพิวเตอร์เชน่ การทำแนบไฟล์ ใบความรู้ ทำข้อสอบ ทำใบงาน เปน็ ต้น แสดงไวใ้ น หอ้ งเรยี น ออนไลน์ ซงึ่
นักเรยี นสามารถมาศึกษาขอ้ มูลได้ดว้ ยตนเองได้

ข้นั ท่ี 3 เม่ือผู้เรียนไดเ้ ขา้ มาศึกษาเน้ือหาและ แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบออนไลน์แลว้ ผูส้ อน
จะให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบ และใบงานออนไลน์ เพื่อเก็บคะแนนนักเรียนในแตล่ ะหนว่ ยยอ่ ย พร้อมท้งั บอก
คะแนนทนั ที

ขน้ั ท่ี 4 หากนักเรียนทำแบบทดสอบไมผ่ า่ น นักเรยี นสามารถทบทวนบทเรยี นได้
ตวั แปร

1. ตวั แปรทใ่ี ช้ในการวจิ ัยคร้งั น้ี ประกอบดว้ ย
1.1 ตัวแปรตน้ ระบบหอ้ งเรียนออนไลน์ Google Classsroom เรอื่ ง การออกแบบชิ้นงานเบื้องต้น
1.2 ตวั แปรตาม ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของ ผเู้ รยี นทเ่ี รียนดว้ ยการจัดการเรยี นการสอนแบบ

ออนไลนด์ ขี ึ้น และมีพึงพอใจตอ่ การเรียนการสอนแบบออนไลน์
คำจำกดั ความท่ีใชใ้ นการวจิ ัย

Google Classroom เป็นหนงึ่ ใน Google Apps ท่ีรวบรวมบรกิ ารท่ีสําคญั ต่างๆ เข้าดว้ ยกัน เพ่ือ
สนบั สนุนธรุ กิจ โรงเรียน และสถาบนั ตา่ งๆ ให้ใช้ผลติ ภณั ฑ์ของ Google ได้อย่างหลากหลาย

Google Classroom ถกู ออกแบบมาเพื่อชว่ ยใหค้ รสู ร้างและลดกระดาษในการจัดเก็บ รวมท้งั
คณุ สมบัติท่ีช่วยประหยัดเวลา เชน่ ความสามารถในการสำเนาเอกสาร Google ใหก้ ับนักเรยี น แตล่ ะคน
นอกจากน้ยี ังสรา้ งโฟลเดอร์สำหรับแต่ละบุคคลที่ได้รบั มอบหมาย นกั เรยี นสามารถติดตาม งาน ทีไ่ ดจ้ ากการ
กำหนดบนหน้าและเร่ิมต้นการทำงาน ดว้ ยเพียงไม่ก่คี ลิก ครูสามารถติดตามการ ทำงานว่าใครยงั ไมเ่ สร็จให้
ตรงตามเวลา ยังสามารถแสดงความคดิ เหน็ แบบเรยี ลไทม์ และผลการเรยี น ในชัน้ เรยี น

บทเรียนออนไลน์ คือ บทเรยี นทใ่ี ช้คอมพิวเตอร์ในการนำเสนอเน้ือหาในรปู แบบบทเรยี น ออนไลน์ที่
ใชน้ ำเสนอข้อมลู ประเภทตา่ ง ๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว ตัวอกั ษรและเสียงในลักษณะ ของส่อื หลายมิติ
โดยผใู้ ช้มกี ารโตต้ อบกับส่ือโดยตรง

ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั
1. การจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ ดา้ นช่วยให้ผูเ้ รียนพัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ที่มี ประสทิ ธภิ าพ

ยิ่งขน้ึ
2. การจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ ทำให้ผู้เรยี นสามารถใช้เวลาในการเรียนรูไ้ ด้ไม่จำกัด

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วข้อง
ในการวจิ ยั ในคร้งั นี้ ผู้วิจยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ซึ่งจะไดน้ าํ เสนอตาม หัวขอ้
ต่อไปนี้
1. Google Classsroom
2. ความหมายของบทเรยี นออนไลน์
3. แนวคิดทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้องกับการจดั การเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21eLearning
1. Google Classsroom
Google Classroom เป็นหนึ่งใน Google Apps ที่รวบรวมบริการที่สําคัญต่างๆ เข้าด้วยกัน เพ่ือ
สนับสนุนธุรกิจ โรงเรียน และสถาบันต่างๆ ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ Google ได้อย่างหลากหลาย Classroom
ผสานรวม Google เอกสาร,ไดรฟ์และ gmail ไว้ด้วยกัน เพื่อให้ครูสามารถสร้างและ รวบรวมงานโดยไม่
สิ้นเปลอื งกระดาษ ภายใน Classroom ครูสามารถสรา้ งงาน ใช้งานนัน้ ในชนั้ เรียนตา่ งๆ ได้ และเลอื กว่าจะให้
นักเรียนทำอย่างไร (เช่น นักเรียนแต่ละคนจะรับสำเนาของตนเอง หรือนักเรียนทุกคนจะทำงานในสำเนา
เดียวกัน) ครูสามารถติดตามว่านักเรียนคนใดทำงานเสร็จแล้ว บ้าง และใครยังทำงานไม่เสร็จ ตลอดจนแสดง
ความคิดเหน็ กับนกั เรยี นแตล่ ะคนได้ ดังรปู ตัวอยา่ ง การทำงานระหวา่ งครแู ละนักเรียน
“Google Classroom ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยให้ครูสร้างและลดกระดาษในการจัดเก็บ รวมท้ัง
คุณสมบัติที่ช่วยประหยัดเวลา เช่น ความสามารถในการสำเนาเอกสาร Google ให้กับนักเรียน แต่ละคน
นอกจากนี้ยังสร้างโฟลเดอร์สำหรับแต่ละบุคคลที่ได้รับมอบหมาย นักเรียนสามารถติดตาม งาน ที่ได้จากการ
กำหนดบนหน้าและเริ่มต้นการทำงาน ด้วยเพียงไม่กี่คลิก ครูสามารถติดตามการ ทำงานว่าใครยังไม่เสร็จให้
ตรงตามเวลา ยงั สามารถแสดงความคิดเหน็ แบบเรยี ลไทม์ และผลการเรียน ในชั้นเรียน”
ผสู้ อนสามารถใช้ Google Classroom เพ่ือจดั การช้ันเรียนได้ ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้
1.เพม่ิ ผเู้ รียน หรอื แจ้งรหสั เพ่ือให้ผู้เรียนเขา้ ชั้นเรียนได้
2.สรา้ ง ตรวจ และให้คะแนนงาน
3.ตรวจสอบกำหนดการสง่ งาน สถานะการสง่ งานและคะแนน
4.เน้อื หาท่ีอยูใ่ นชัน้ เรียนจะถูกจดั เก็บอยใู่ น Google Drive
5.ส่งประกาศ แชรแ์ หล่งขอ้ มูล พดู คุยหรือตอบคำถามตามหัวขอ้ ที่ผู้สอนกำหนดให้
6.เพ่ิมผู้สอนไดม้ ากกวา่ หนึ่งคนในรายวิชาเดียวกัน
7.ใช้ผา่ นอปุ กรณ์ได้หลายชนดิ เช่น คอมพวิ เตอร์ แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน
ขอ้ ดขี อง Google Classroom
1. ต้งั คา่ ง่าย ครสู ามารถสร้างชัน้ เรียน เชิญนักเรยี น และผสู้ อนร่วม จากนัน้ ครูจะสามารถ แชรข์ ้อมูล
ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ งาน ประกาศ และคำถามในสตรีมของชัน้ เรียนได้
2. ประหยดั เวลาและกระดาษ ครูสามารถสร้างชน้ั เรียน แจกจา่ ยงาน ส่อื สาร และจัดรายการ ต่างๆ
ใหเ้ ปน็ ระเบียบอย่เู สมอได้ในทเ่ี ดียว

3. จัดระเบยี บไดด้ ีขึ้น นกั เรยี นสามารถดูงานไดใ้ นหน้าส่งิ ที่ตอ้ งทำ ในสตรีมของช้นั เรยี น หรอื ใน
ปฏทิ ินของชนั้ เรยี น โดยเนอ้ื หาประกอบท้งั หมดของชน้ั เรียนจะเกบ็ ไวใ้ นโฟลเดอร์ Google ไดรฟ์ โดยอตั โนมัติ

4. การสอ่ื สารและการแสดงความคดิ เหน็ ทปี่ รบั ปรงุ ขนึ้ ครสู ามารถสรา้ งงาน สง่ ประกาศ และ เร่มิ การ
อภิปรายในชนั้ เรยี นไดท้ นั ที นักเรยี นกส็ ามารถแบ่งปนั แหลง่ ข้อมูลรว่ มกับเพื่อนๆ และโต้ตอบ กันไดใ้ นสตรีม
ของชนั้ เรียนหรอื ผา่ นทางอีเมล ครสู ามารถดไู ด้อย่างรวดเร็ววา่ ใครทำงานเสร็จหรือไม่ เสร็จบา้ ง ตลอดจน
สามารถแสดงความคิดเห็นและให้คะแนนโดยตรงไดแ้ บบเรียลไทม์

5. ใชไ้ ด้กับแอปท่ีคุณใช้อยู่ Classroom ใชไ้ ดก้ บั Google เอกสาร, ปฏิทนิ , Gmail, ไดรฟ์ และฟอร์ม
6. ประหยดั และปลอดภยั Classroom ใหค้ ุณใชง้ านฟรี ไม่มโี ฆษณา และไมใ่ ชเ้ นือ้ หาของคณุ หรอื
ข้อมูลของนักเรียนเพือ่ การโฆษณา

รปู ตวั อยา่ งกระบวนการทำงานของ Google Classroom

ผศ.ดร.ภาสกร เรืองรอง (2558) ได้กลา่ วไวใ้ นบทความเร่อื ง การใช้เทคโนโลยี Google Apps ใน
ก า ร พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น The use of Google Apps in the developmentof
innovative teaching ไว้วา่ การจดั การเรียนการสอนในห้องเรยี น จงึ มคี วาม จำเป็นอย่างมากท่จี ะต้องมีการ
นำเครอ่ื งมือหรือเทคโนโลยีใหมๆ่ เขา้ มาใช้ในการจัดระบบการเรยี น การสอนเพอ่ื ชว่ ยอำนวยความสะดวกใน
หลายๆ ดา้ น เครื่องมอื ที่น่าสนใจในการจัดการเรียนการสอน ปัจจบุ ัน คือ Google Apps for Education ที่จดั
ไดว้ า่ เป็นเครื่องมือทีช่ ว่ ยตอบสนองปญั หาต่างๆ ของการเรียนการสอนในห้องเรยี นได้อย่างหลากหลาย และมี
ประสทิ ธภิ าพอีกเคร่ืองมือหนึ่งในการ จดั การเรียนการสอนของไทย ดงั น้นั จะเห็นไดว้ ่า Google Apps for
Education สามารถตอบโจทย์ การศึกษายุคใหม่ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ จงึ ได้ชอ่ื วา่ เป็นการสรา้ งตำนานแห่ง
โลกการศกึ ษายุคใหม่ เพราะได้ทำใหร้ ปู แบบการจดั การเรยี นการสอน การตดิ ต่อสอื่ สาร การมปี ฏิสัมพันธ์
แปรเปล่ยี นไป จากอดีตอย่างส้นิ เชิง

แนวทางการจัดการเรยี นการสอนดว้ ย Google Classroom
การนำ Google Classroom มาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาจดั เตรียม Google

Account ให้กับผู้เรียนและผู้สอน ซงึ่ สามารถนำมาใช้จดั การเรียนรไู้ ดท้ กุ กลมุ่ สาระการ เรยี นรู้ รวมทั้งกจิ กรรม
พฒั นาผูเ้ รียน ตัวอย่างการจัดการวชิ าตา่ ง ๆ ในช้ันเรียนดว้ ย Google Classroom ดงั รปู

รปู ตัวอย่างชนั้ เรียนใน Google Classroom ผา่ นเวบ็ บราวเซอร์

ผ้สู อนสามารถจดั กิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้บรกิ ารของ Google Classroom ให้สอดคล้องกับ กิจกรรม
การเรียนการสอนในห้องเรียน โดยเริ่มตน้ จากการทำกจิ กรรมงา่ ยๆ ท่ีไม่ซับซอ้ นจนเกินไป เพือ่ กระตุ้นใหผ้ ู้เรยี น
เกดิ ความสนใจอยากรู้ เชน่ ตอบคำถามหรือแบบฝึกหัด แล้วจึงพฒั นาเป็นลำดบั ต่อๆ ไป โดยประยุกตใ์ ช้รว่ มกับ
การเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น ผสู้ อนสามารถตดิ ตามและวเิ คราะห์ พฤตกิ รรมของผเู้ รียนจากการสังเกต การ
เข้ารว่ มเรยี นและการสง่ งานของผเู้ รียนผ่าน Google Classroom ได้ จากประสบการณใ์ นการจัดการเรียนรู้
ของผเู้ ขยี นพบวา่ ทำให้ผู้เรียนมีวินยั ในการ ส่งงาน มีความสนใจเรยี นมากข้นึ ปรมิ าณการสง่ งานเพิ่มขน้ึ ผเู้ รยี น
พอใจท่จี ะเรยี นรผู้ ่านอุปกรณ์ ของตนเองนอกเวลาเรยี น เพราะเรยี นได้ทุกท่ีทุกเวลาและกล้าทีจ่ ะแสดงความ
คิดเห็นมากข้ึน
2.ความหมายของบทเรียนออนไลน์

ถนอมพร เลาหจรสั แสง (2545: 4-5) ได้กล่าวถึงความหมายของบทเรยี นออนไลน์ออกเป็น 2 ลักษณะ
ได้แก่ ความหมายโดยทว่ั ๆ ไป จะหมายถงึ การเรยี นในลักษณะใดก็ไดซ้ ง่ึ การถา่ ยทอดเน้ือหา ผา่ นทางอุปกรณ์
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ไม่วา่ จะเปน็ คอมพวิ เตอร์ เครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต อนิ ทราเนต็ สัญญาณ โทรทศั นห์ รอื สัญญาณ
ดาวเทยี มอีกความหมายหน่ึงคือ ความหมายเฉพาะ การเรยี นเนื้อหาหรือ สารสนเทศสําหรับการสอนหรือการ
อบรม ซ่ึงใชก้ ารนาํ เสนอด้วยตัวอักษร ภาพน่งิ ผสมผสานกบั การ ใช้ภาพเคล่ือนไหว วดี ิทัศน์และเสยี ง โดยอาศัย
เทคโนโลยีของเครอื ข่ายในการถา่ ยทอดเนือ้ หารวมท้งั การจัดใหม้ รี ะบบบนั ทกึ ติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผล
การเรียน โดยผู้เรยี นท่เี รียนจากบทเรยี นออนไลนน์ ้ีสว่ นใหญ่แล้วจะศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลนซ์ ึ่งหมายถึง

จากเครื่องทีม่ ีการเชือ่ มต่อกบั ระบบลักษณะสาํ คัญของบทเรยี นออนไลน์ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545, หนา้ ,
21-22) ได้กล่าววา่ บทเรยี นออนไลน์ท่ีดปี ระกอบไปด้วยลกั ษณะสาํ คญั ดงั น้ี (1) ทกุ ที่ ทุกเวลา(everywhere
everytime)หมายถึง บทเรียนออนไลน์ ทสี่ ามารถชว่ ยขยายโอกาสในการเข้าถงึ ข้อมลู และเนือ้ หาการ เรียนรู้
ของผู้เรียนไดจ้ ริง ในทีน่ ห้ี มายรวมถึงการท่ีผู้เรียนสามารถเรียกดเู นอื้ หาไดต้ ามความสะดวกของ ผเู้ รยี น (2)
มลั ติมเี ดีย (multimedia) หมายถึง บทเรียนออนไลน์ต้องมีผสมผสานสื่อต่างๆท่ีใชส้ ําหรับ การนําเสนอเน้ือหา
โดยใชป้ ระโยชนจ์ ากส่อื ประสม เพ่ือช่วยในการประมวลผลสารสนเทศของผูเ้ รียน ให้เกิดความคงทนในการ
เรยี นรไู้ ดด้ ีข้นึ (3) ไมใ่ ช่เส้นตรง (non-linear) หมายถึง บทเรยี นออนไลน์ สาํ หรบั การเรยี นรแู้ บบทีค่ วรต้องมี
การนําเสนอเนื้อหาในลกั ษณะทไี่ ม่เป็นเชงิ เส้นตรงกล่าวคือ ผูเ้ รียน สามารถเข้าถึงเนอ้ื หาตามความต้องการใน
แตล่ ะบทเรียนออนไลน์จะต้องจดั หาการเชือ่ มโยงทยี่ ดื หยนุ่ แก่ผู้เรยี น (4) ปฏิสัมพันธ์ (interaction) หมายถงึ
บทเรียนออนไลนต์ ้องมีการเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้ มปี ฏิสัมพันธก์ บั เน้ือหา หรือผู้ทมี่ คี วามตอ้ งการเขา้ ถึงข้อมลู
อ่นื ได้กลา่ วคือบทเรียนออนไลน์ควรตอ้ งมี การออกแบบกิจกรรมซง่ึ ผเู้ รียนสามารถโต้ตอบกับเนอ้ื หา รวมทั้งมี
การจัดเตรยี มแบบฝึกหดั และ แบบทดสอบใหผ้ เู้ รียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจดว้ ยตนเองได้บทเรยี น
ออนไลน์ควรต้องมกี าร จัดทาํ เครือ่ งมอื ในการใหช้ ่องทางแก่ผู้เรียนในการตดิ ต่อสอ่ื สารเพ่ือการปรึกษา สนทนา
อภิปราย ซักถามแสดงความคดิ เหน็ กบั ผสู้ อน วิทยากร ผเู้ ชี่ยวชาญ หรือเพื่อน ๆได้เป็นอย่างดี (5) การ
ตอบสนองแบบทนั ทที นั ใด (immediate response) หมายถงึ บทเรียนออนไลน์ควรต้องมีการ ออกแบบให้มี
การทดสอบ การวดั ผลและการประเมินผล ซง่ึ ให้ผลตอบกลับโดยทนั ทีแก่ผเู้ รียนไมว่ า่ จะ อยู่ในลักษณะของ
แบบทดสอบก่อนเรยี น (pre-test) หรือแบบทดสอบหลังเรียน(post-test) เป็นต้น องค์ประกอบของบทเรียน
ออนไลน์ สนุ ันท์ สงั ข์อ่อง (2549, หน้า, 7-8) กล่าวถงึ บทเรยี นออนไลนว์ า่ มี องค์ประกอบหลาย ๆ ดา้ นไดแ้ ก่
(1)วิธีสอน (pedagogy) หมายถึง วิธกี ารนําเสนอการใหผ้ ู้เรียนมีส่วน ร่วมการเรยี นการใชแ้ รงเสรมิ แรงจงู ใจ
การจัดระบบการมอบหมายงาน การให้ข้อมลู ป้อนกลบั การ วัดผล และการบูรณาการกบั หลักสตู ร (2) การ
ประเมินผล (assessment) ถา้ เปน็ การสอนปกติครจู ะ เก็บข้อมลู จากการวดั ผลด้วยคะแนนหรือจากวิธีการ
สงั เกต เพ่ือตัดสนิ วา่ ผูเ้ รียนมีพัฒนาการอยา่ งไร ใน การเรยี นแบบบทเรียนออนไลน์ จะใชว้ ธิ ปี ระเมนิ แบบไมเ่ ป็น
ทางการไม่ได้เนอ่ื งจากยากท่จี ะวดั ได้การ

ประเมินผลจะต้องมีการวางแผนอย่างรัดกุมชัดเจนเพื่อมุ่งวัดสมรรถภาพที่เกิดข้ึ นมีการให้ข้อมูล
ป้อนกลับ และมีการตัดสินคะแนน การประเมินผลในบทเรียนออนไลน์มีความจําเป็นมากกว่าการสอน ปกติ
เนื่องจากผู้เรียนและผู้สอนไม่ได้พบกันแบบหนา้ ต่อหนา้ การประเมินแบบไม่เปน็ ทางการ เช่น การสังเกต การ
ซักถาม จงึ ทาํ ไม่ได้ในบทเรียนออนไลน์ดงั นนั้ จึงต้องมีการประเมนิ บอ่ ย ๆ และประเมนิ ทุกขณะของการเรียนรู้
(3) เนื้อหา (content) ตามทฤษฎีเนื้อหาควรสัมพันธ์กับวิธีสอนหรือวิธีเรียนจึง ยังคงมีคําถามที่ต้องวิจัยว่า
เนื้อหาที่ใช้สอนในบทเรียนออนไลน์ให้ประสบความสําเร็จควรมีลักษณะเช่นไร (4) การนําเสนอเนื้อหา
(instruction delivery)วิธีการที่ใช้ในการนําเสนอการเรียนแบบ ออนไลน์ มีความสําคัญยิ่งในการเรียนแบบ
บทเรียนออนไลน์(5) การบริหารการเรียนการสอน (instructional management) มีสิ่งสําคัญ 2 อย่างคือ
แหล่งความรู้(resource) และระบบ (systems) หมายถึง การจัดแหล่งความรู้ การให้ข้อมูลป้อนกลับ การ
จดั เก็บข้อมูลการประเมิน และ การสนบั สนุนเกี่ยวกับสมรรถภาพผู้เรียน แหล่งความรู้ ข้อมูลระหว่างเรียนการ

ออกแบบการเรียนงาน มอบหมาย และบันทึกระเบียบพฒั นาการ (6 )มาตรฐานและเปา้ หมาย(standard and
policies) หมายถึง ความสามารถเข้าถึงได้(accessibility) ความยืดหยุ่น (flexibity) การเรียนตามอัธยาศัย
(asynchronous) บทเรียนออนไลน์และการจัดองค์ประกอบของบทเรียนออนไลน์ต้องเป็นไปตาม มาตรฐาน
และเปา้ หมายปัจจบุ ัน (7) รูปแบบบทเรียนออนไลน์ทีใ่ ชก้ นั อย่นู ้นั ยงั ไม่มีข้อมูลเชิงวจิ ัย สนบั สนนุ วา่ แบบใดจะมี
ประสิทธิภาพดีที่สุด ดังน้ันจึงควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน การทําให้บทเรียนออนไลน์เกิด
ประสทิ ธภิ าพมากทส่ี ดุ รูปแบบการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ รูปแบบ การเรยี นการสอนทน่ี ําระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน โดยแบ่งการ เรียนการสอนเป็นแบบซิงโครนัส(synchronous
learning) และอะซิงโครนัส(asynchronous learning) ที่การเรียนการสอนในยุคสมัยใหม่ไม่ต้องอาศัยตํารา
เพียงอย่างเดียว ผู้เรียนทุกคนในชั้น เรียนไม่ใช้ตําราจากที่กําหนดโดยอาจารย์ผู้สอนเท่านั้น แต่สามารถ
แสวงหาแหล่งความรูอ้ ืน่ ไดอ้ กี มากมาย เชน่ หอ้ งสมดุ แบบดิจิทลั ที่เรยี กวา่ ขุมความรู้โลก บทบาทการสอนของ
อาจารย์จะเปล่ียน จากการใชช้ อล์กและกระดานดํามาเปน็ การช้ีนํา เพราะยนื เคียงข้างผเู้ รยี น เพ่ือให้ผู้เรียนได้
แสวงหา ความรแู้ ละเรียนรู้ตามการชีแ้ นะเปน็ ตัวของตวั เองในการแสวงหาความรู้ มคี วามคดิ ริเริ่มในการเรียนรู้
สิ่งใหม่ ต้องเปลี่ยนสภาพการเรียนแบบนั่งเรียนมาเป็นแบบการเรียนรู้ที่มีการใช้ปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ มี การใช้
เทคโนโลยีประกอบการเรียนรู้ยังต้องสร้างบทบาทที่ให้เรียนรู้ด้วยตนเองแบบอะซิงโครนัสได้ และที่สําคัญการ
วดั การเรยี นรู้คงไม่อยู่ทผี่ ลของคะแนนสอบแต่เพียงอยา่ งเดียว ต้องเปล่ียนสภาพการ เรยี นการสอนแบบเดิมมา
สูก่ ระบวนการสรา้ งและสังเคราะหค์ วามรู้ได้ รปู แบบของการเรียนการสอน แบบออนไลนส์ ามารถแบ่งออกเป็น
3รูปแบบคือ (1) การเรียนด้วยตนเอง (self-directed) (2) แบบ ผสมผสาน (asynchronous) ที่มีการ
ผสมผสานท้งั การเรยี นด้วยตนเองกับการเรียนในชั้นเรียนมาไว้ บนเครอื ขา่ ยหรือบนอินเทอร์เน็ตเหมาะสําหรับ
การอภิปราย ถกปัญหาเป็นทีม ซึ่งลดข้อจํากัดเรื่อง เวลา สถานที่ สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ซึ่งเป็นการเรียน
การสอนผา่ นทางเวบ็ มกี ารสร้างโฮมเพจ รายวิชา ทใ่ี ห้ผูเ้ รียนสามารถเรียนรู้ได้ตามอัธยาศยั (3) การเรียนแบบ
ห้องเรียนเสมือนจริง (synchronous) มีข้อจํากัดที่ต้องกําหนดการเรียน การสอนตามตารางสอนมีการใช้
หอ้ งเรยี นและต้องนัดเวลาเรียน และมกี ารจําลองสถานการณจ์ รงิ ของ ห้องเรยี นมาไวบ้ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โดยใช้ศักยภาพของเครือข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนํา บทเรียนที่สอนบรรจุไว้บนเครื่องแม่ข่าย
สามารถผลิตสื่อการสอนด้วยระบบมัลติมีเดีย ภาพและเสียง ครบครัน รองรับการสื่อสารในชั้นเรียนได้อย่าง
เต็มที่ นอกจากนั้นยังสามารถจัดการเกี่ยวกับการส่งต่อ องค์ความรู้ และการจัดการความรู้ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพซ่ึงจะสามารถนาํ ให้บริการในการเรยี น การ

สอนแบบด้วยตวั เองได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพข้อดีของบทเรียนออนไลน์ ขอ้ ดจี ากการเรียนการสอนแบบ
บทเรียนออนไลน์ มีดังต่อไปนี้(ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2545, หน้า, 18-20) (1) ช่วยให้การจัดการ เรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขนึ้ เพ่ือการถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางมัลติมเี ดีย สามารถทําให้ ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้
ได้ดีกว่าการเรียนจากสื่อข้อความเพียงอย่างเดียว หรือจากการสอน โดยช่วยให้ ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพในเวลาที่เร็วกว่า (2)ช่วยทําให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบ ความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของ
ผู้เรียนได้อย่างละเอียดและตลอดเวลา โดยมีการจัดหาระบบ การจัดการรายวิชา (3) ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ
ควบคุมการเรียนของตนเองได้ เนื่องจากการนําเอา เทคโนโลยีผสมผสานระหว่างสื่อหลาย ๆ ชนิด

(hypermedia) มาประยุกต์ใช้ ซึ่งมีลักษณะการ เชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกันเข้าไว้ด้วยกันในลักษณะที่ไม่
เปน็ เชิงเส้นตรง (non-linear)ดังนน้ั ผูเ้ รยี น สามารถเข้าถึงข้อมูลใดก่อนหลังก็ได้โดยไมต่ ้องเรียงตามลําดับและ
เพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงของ ผเู้ รยี น (4) ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนรู้ได้ตามจังหวะของตน (self-paced
learning) ผู้เรียนสามารถ ควบคุมการเรียนรู้ของตนในด้านของลําดับการเรียนได้ (sequence) ตามพื้น
ฐานความรูค้ วามถนัด และความสนใจของตน(5) ช่วยทําใหเ้ กิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครผู ู้สอน และกับ
เพื่อน ๆได้ เนื่องจากมีเครื่องมือที่เอื้อต่อการโต้ตอบท่ีหลากหลาย เช่น การพูดคุย กระดานสนทนา จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น (6) ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ รวมทั้งเนื้อหาที่มีความทันสมัย และ
ตอบสนองต่อเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ในปจั จุบนั ไดอ้ ย่างทนั ที (7) ทําให้เกิดรปู แบบการเรยี นท่สี ามารถ จัดการเรียนการ
สอนให้แก่ผู้เรียนในวงกว้างขึน้ เนื่องจากไม่มขี ้อจํากัดด้านเวลาและสถานที่ จึงสามารถ นําไปใช้เพื่อการเรียนรู้
ตลอดชวี ิต
3. แนวคิดทฤษฎที เ่ี กี่ยวขอ้ งกับการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 eLearning

การพฒั นาของโลกในยุคปจั จุบนั มุ่งสู่ทิศทางของสงั คมแห่งการเรียนรู้ วิธกี ารเรยี นรู้ของ มนุษย์จึงต้อง
มีการปรับเปลี่ยนให้ทันยุคทันสมัยและเข้ากันได้กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรในปัจจุบนั ซึ่งในขณะนี้เป็นช่วง
ยคุ ดิจิตอลในศตวรรษท่ี 21 หรอื ท่เี รียกอีกอย่างหนึ่งว่ายคุ สังคมสารสนเทศ ดงั นั้น สอื่ อิเล็กทรอนิกส์จึงถือว่ามี
บทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในการถ่ายทอดความรู้ด้วยกระบวนต่าง ๆ ท่ี หลากหลาย ไปสู่กลุ่มเป้าหมายที่มี
ความต้องการต่างกัน นับตั้งแต่มีการพัฒนาอินเทอร์เน็ต การ ติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์ก็เป็นไปด้วยความ
สะดวกรวดเร็วมากข้ึน รวมทงั้ การเรยี นการสอนและ การศึกษาหาความรูก้ ็สามารถทำได้อยา่ งไรพ้ รมแดนทำให้
เกิดคาว่า E-Learningหรือ Electronic Learning เป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลก (ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ; 8
มกราคม 2550)1. ความหมาย ของ E-learningE-learning คืออะไร ได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้คานิยาม
คาว่าไว้มากมาย เก่ียวกบั ความหมายของ E-learning โดยขอสรปุ ว่า “E-Learning คอื กระบวนการ

การเรยี น การสอนผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ อนื่ ๆท่ี
เหมาะสม ซ่งึ ชว่ ยลดข้อจำกดั ดา้ นเวลาและสถานทรี่ ะหว่างผู้เรียนและผ้สู อนชว่ ยให้ผู้เรยี น สามารถเรยี นไดต้ าม
ความตอ้ งการและความจาเป็นของตนได้อยา่ งต่อเนอื่ งตลอดเวลา”2. ประเภท ของการศกึ ษาพระราชบญั ญตั ิ
การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 การจัดการศกึ ษามี 3 รูปแบบ คือการศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย

(1) การศกึ ษาในระบบ เป็นการศกึ ษาท่ีกาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศกึ ษา หลักสตู ร ระยะเวลา ของ
การศกึ ษา การวัดและการประเมินผล ซง่ึ เป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศกึ ษาที่แน่นอนศึกษา โดย มีการศึกษา
ระดบั ปฐมวยั ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาและระดับการศึกษาอดุ มศกึ ษา

(2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มคี วามยดื หย่นุ ในการกาหนดจดุ มุง่ หมาย รปู แบบ วธิ กี าร
จดั การศกึ ษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมนิ ผล โดยเนือ้ หาและหลกั สตู รจะต้อง มีความ
เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปญั หาและความตอ้ งการของบุคคลแต่ละกลุม่

(3) การศึกษาตามอัธยาศยั เปน็ การศึกษาที่ใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรดู้ ้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ
ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สภาพแวดล้อม สงั คม สื่อหรือ แหล่งความรู้อืน่ ๆ ใน

ท่นี ีจ้ ะขอกล่าวถึงการใช้ e-learning ทเี่ ขา้ มามบี ทบาทกับการศึกษาไทย ซงึ่ จะ กล่าวถงึ การศึกษาในระบบ
เพราะจะเห็นพฒั นาการเปลี่ยนแปลงทีเ่ ดน่ ชัดท่สี ดุ

E-learning กับการศึกษาในประเทศไทยประเทศไทยมีการนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาใช้ สนับสนุน
การศึกษาอย่างเป็นทางการตั้งแต่พ.ศ. 2498 เมื่อกระทรวงศึกษาธิการได้ก่อตั้งสถานี วิทยุกระจายเสียงเพ่ือ
การศกึ ษาข้ึนมาเปน็ ครั้งแรกหลังจากนน้ั ไมน่ านเมื่อมีการจดั ต้ังสถานวี ิทยุ โทรทัศน์ขน้ึ กระทรวง ศึกษาธิการก็
มโี อกาสผลติ รายการเพอ่ื การศกึ ษาออกอากาศไปสปู่ ระชาชน ทัว่ ไปอีกช่องทางหน่งึ วทิ ยกุ ระจายเสยี งและวิทยุ
โทรทัศนจ์ งึ เปน็ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีมีบทบาทในการ สนับสนนุ การศึกษามาเปน็ เวลานาน จนกระท่ังมีการก่อตั้ง
สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการขึ้นใน พ.ศ. 2537 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ
การศึกษาในประเทศไทย เริ่มต้นในระดับอุดมศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาในระยะแรกเป็นการใช้
ในรูปแบบของ คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน(Computer-Assisted Instruction: CAI)ต่อมาเมือ่ มีเทคโนโลยีเครือข่าย
และ อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้น จึงพัฒนาไปสู่การเรียนการสอนออนไลน์หรือ Web-Based Instruction
(WBI)eLearning ในประเทศไทยเริ่มดาเนินการในปี พ.ศ. 2538 โดยรัฐบาลได้เปิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพ่ือ
โรงเรียนไทย เพื่อต้องการจะเชื่อมโยงโรงเรียนต่าง ๆ ในประเทศเข้าด้วยกันโดยผ่านเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางการศึกษาร่วมกันบน เครือข่าย ต่อมา
คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2542 ให้ขยายเครือข่ายให้ ครอบคลุมโรงเรียนในระดับ
ประถมศึกษามัธยมศึกษา และอาชีวศึกษาทั่วประเทศโดยความรับผิดชอบ ของเนคเทค ปัจจุบันเนคเทคได้ดา
เนินกิจกรรมบนเครือข่ายหลายอย่าง ประกอบด้วยการจัดทำ เว็บไซต์ของโครงการเพื่อเป็นสื่อกลางในการ
แลกเปลี่ยนความรู้และเรียนรู้ (เยาวลักษณ์พิพัฒน์จำเริญ กุล ;11 กุมภาพันธ์ 2555)กระทรวงศึกษาได้มีการ
รับรองการศกึ ษาทางไกลผ่านอนิ เทอร์เนต็ อย่างเปน็ ทางการตง้ั แตต่ ้นปี 2549 จึงทำให้การเตบิ โตของหลักสูตร
E-learning มีอัตราการเติบโตเป็นเท่าตัว เพราะการศึกษาทางไกลไม่เพียงจะอำนวยความสะดวกและเอื้อ
ประโยชนต์ ่อผู้เรียนแล้วยังอำนวย ประโยชนใ์ ห้กบั สถาบนั การศกึ ษาในแง่ของการบริหารจัดการอีกดว้ ย คอื ทำ
ใหต้ ้นทนุ ในการจัดการ หลกั สูตรตำ่ ลงดว้ ยรปู แบบการเรียนการสอนในระบบทางไกลทีน่ ักศึกษาไม่ต้องเดินทาง
มาเข้าชั้นเรียน และสามารถรองรับนักศึกษาได้อย่างไม่จำกัด เป็นช่องทางในการสร้างและขยายโอกาสทาง
การศึกษา ให้เข้าถึงผ้ทู ี่มคี วามตอ้ งการในวงกว้างขน้ึ โดยเฉพาะนกั ศึกษาทอี่ าศัยในต่างจงั หวัดดังน้นั
e-Learning

จึงเป็นช่องทาง โอกาสและทางเลือกไม่เพียงแต่นักศึกษาเท่านั้นมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชนยงั ได้ให้ความสำคญั ด้วยเชน่ กนั โดยในช่วง 2 ปที ีผ่ ่านมามหาวิทยาลยั ท้งั ภาครัฐและ ภาคเอกชนได้
มีการเปิดหลักสูตร e-Learning กันมากมาย เช่น หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขา การพัฒนาซอฟต์แวร์
คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑติ สาขาการ ท่องเท่ียว มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัย หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ความรู้ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย
ศิลปากร เกิดขึ้นอีกอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่าจากการขยายตัว ของหลักสูตรต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้นได้สะท้อนให้
เห็นแนวโน้มของe-Learning ที่เข้ามามีบทบาทสำคัญใน งานการศึกษา (อรวรรณ รักรู้ ; 6 กรกฎาคม 2550)
ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีการส่ือสารแบบไร้สาย (wireless) ได้เริ่มเข้ามามีบทบาทและเตบิ โตอย่างมากในช่วงเวลา

2-3 ปีที่ผ่านมา อุปกรณ์แบบไร้สาย ต่างๆ ได้เข้ามาแทนที่อุปกรณ์แบบมีสาย (wired)ที่เราเห็นได้ชัดเจนคือ
โทรศพั ท์มอื ถือ เมื่อมกี าร พัฒนาอย่างรวดเรว็ ของเทคโนโลยีแบบไร้สายเทคโนโลยีสาหรบั อุปกรณ์ไร้สายต่างๆ
ก็ถูกพัฒนาตาม ขึ้นไปด้วย ซึ่งได้แก่ Bluetooth, WAP(Wireless Application Protocol) และ GRPS
(General Packet Radio System) เมื่อเทคโนโลยีได้ก้าวหน้าไป วิธีการศึกษาหาความรู้ก็ถูกพัฒนาตามไป
ด้วย จึงเกดิ ข้ึน m-Learning ย่อมาจาก mobile learning ซ่ึงเปน็ การพัฒนาอกี ขั้นของ e-Learning เป็น การ
ผสมผสานท่ีลงตวั ของการพัฒนาการศึกษาเรยี นรู้ โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมยั เข้ามาชว่ ย เทคโนโลยีที่กล่าวถึงน้ี
ก็คือ เทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย เราเรียกการเรียนแบบนี้ว่า Wireless Learning , Mobile Learning
หรือ m-Learning ดังนั้น m-learning คือ การศึกษาทางไกลผ่านทาง อุปกรณ์เคลื่อนที่แบบไร้สายต่างๆ เช่น
โทรศัพท์มือถือ , PDA ,laptop computer,ipad, tablet เป็นต้น (ชนะศึก โพธิ์นอก ; 8 กันยายน 2554)ซึ่ง
ในขณะนี้ในหลายๆ สถาบันก็ได้มีการมีการสอน แบบ e-learning ผ่านสื่อ m-learning เช่น ipad, tablet
เหตุผลเน่ืองจากสะดวกแก่การเรยี นการ สอน เพราะ ในมหาวิทยาลัยกม็ ีระบบ wifi อย่างท่วั ถงึ ทำให้การเรียน
ผา่ น ipad, tablet ทำใหก้ าร เรียนแบบ e-learning เปน็ จริงและได้ผลมากข้นึ เชน่ ไมเ่ พียงแต่อาจารยส์ ามารถ
ทำตาราเรียนเปน็ Power point ให้นกั ศึกษาดาวนโ์ หลดมาเรียนได้ แตย่ งั เพ่มิ ความสนุกสนานในการเรียนมาก
ขึ้นอีก ด้วย VDO Clip และ interactive ทำให้การเรียนมีชีวิตชีวามากขึ้น การใช้ชีวิตในการเรียนไม่น่าเบื่อ
สรุปดังจะเห็นได้ว่า การเรียนการสอนแบบ e-learning นั้นได้เข้ามาเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาไทย เป็นเวลา
ช้านาน และ e-learning ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ทั้งนี้ก็เพื่อจะ
ตอบสนองความตอ้ งการในการเรยี นรูข้ องผเู้ รียนและเพือ่ ตอบสนองนโยบายการเรียนรู้ เนอ่ื งจากบุคลากรถือได้
ว่าเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กรให้กา้ วไปในทศิ ทางที่ถูกต้อง เพื่อ พัฒนาประเทศให้เกิดการแข่งขัน
ได้กับประเทศอื่น ๆ จึงต้องการบุคลากรที่มีคุณภาพ โดยได้รับ การศึกษาที่เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และ
สอดคล้องกบั ความสามารถของแต่ละคน ประกอบกับ วิวฒั นาการของเทคโนโลยีต่าง ๆ ทเ่ี ปล่ียนไปในทางท่ีดี
ขนึ้ เร็วข้นึ ดังน้นั ระบบการเรียนการสอน ทางไกลโดยใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในลักษณะของ e-Learning จึง
เกิดขึ้น เพื่อใช้สนับสนุนการศึกษา และการฝึกอบรมให้บุคลากรได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต อัน
เป็นแนวทางทส่ี ำคญั ในการ พัฒนาประเทศ

บทที่ 3
การดำเนินการวิจยั
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้
ระบบห้องเรยี นออนไลน์ Google Classsroom ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 เรื่องการออกแบบชิน้ งานเบื้องตน้ มี
รายละเอยี ดการดำเนินการวิจยั ดังนี้
1. กล่มุ เป้าหมาย
กลมุ่ เปา้ หมายที่ใชใ้ นการวจิ ัยคร้ังนี้ คอื นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6/3 จำนวน 27 คน
2. เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวิจัย
เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ไดแ้ ก่ บทเรียนออนไลน์ โดยใช้ระบบหอ้ งเรยี นออนไลน์ Google
Classsroom และ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน บทเรียนออนไลน์ บทเรียนออนไลน์ประกอบไปด้วย
เนือ้ หา ข้อสอบ และใบงาน เร่ืององค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
3. ขั้นตอนการดำเนนิ การวิจยั การวิจยั คร้งั นเ้ี ป็นการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์
โดยใชร้ ะบบ ห้องเรียนออนไลน์ Google Classsroom มีขั้นตอนการดำเนินการวจิ ัยดังนี้
ขั้นที่ 1 ผสู้ อนสรา้ งห้องเรยี นออนไลน์โดยใช้ ระบบหอ้ งเรยี นออนไลน์ Google Classsroom และ ให้
นักเรียนผเู้ รียนลงทะเบยี นเขา้ มาเรยี นได้
ขัน้ ที่ 2 ผ้สู อนพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แบบออนไลน์ เรอ่ื งองคป์ ระกอบของ ระบบ
คอมพิวเตอร์ เช่น การทำแนบไฟล์ ใบความรู้ ทำข้อสอบ ทำใบงาน เป็นต้น แสดงไว้ใน ห้องเรียนออนไลน์ ซึ่ง
นกั เรยี นสามารถมาศกึ ษาขอ้ มูลได้ดว้ ยตนเองได้
ขนั้ ที่ 3 เมือ่ ผเู้ รียนไดเ้ ขา้ มาศึกษาเนือ้ หาและ แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ออนไลนแ์ ลว้
ผู้สอนจะให้นักเรียนทำแบบทดสอบ และใบงานออนไลน์ เพื่อเก็บคะแนน นักเรียนในแต่ละหน่วยย่อย พร้อม
ทงั้ บอกคะแนนทนั ที
ข้ันท่ี 4 หากนักเรยี นทำแบบทดสอบไม่ผา่ น นกั เรยี นสามารถทบทวนบทเรียนไดก้ าร
4. วิเคราะหข์ อ้ มลู
การวิเคราะหข์ ้อมลู มกี ารดำเนนิ การ ดังน้ี
1. วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยการหาประสิทธภิ าพของบทเรียนออนไลน์ 75/75 โดยใช้สถติ ิ ค่าเฉล่ีย
และคา่ รอ้ ยละ ซ่ึงดำเนินการดงั นี้
คำนวณหาประสิทธภิ าพของบทเรียนออนไลนโ์ ดยใชส้ ตู ร E1 / E2
2. ขอ้ มลู จากแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี นออนไลนโ์ ดยการใช้สถติ ิคา่ เฉล่ยี และค่าร้อยละ
ซง่ึ ดำเนนิ การดังน้ี
2.1 หาคา่ เฉลีย่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นการสอนแบบออนไลน์
2.2 หาคะแนนความก้าวหน้าหรอื คะแนนท่ีเพ่ิมขึ้น
2.3 หาคา่ รอ้ ยละของความกา้ วหน้าของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชส้ ตู รรอ้ ยละของ
ความก้าวหน้า

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยนี้จะแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านการหาประสิทธิภาพของ
บทเรียนออนไลน์ด้านการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนแบบออนไลน์โดยใช้ระบบ
ห้องเรียนออนไลน์ Google Classsroom และด้านการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการ เรียน
แบบออนไลน์ดงั แสดงในตารางที่ 1 ดงั น้ี
1. สัญลักษณ์ทใ่ี ชใ้ นการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
2. ลำดับข้นั ตอนในการเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู สัญลกั ษณท์ ใ่ี ช้ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ผูศ้ กึ ษาค้นคว้าได้กำหนด
ความหมายของ
สญั ลักษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดงั นี้
เม่ือ
E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ

X แทน คะแนนรวมของข้อสอบ
A แทน คะแนนเตม็ ของข้อสอบ
N แทน จำนวนผเู้ รยี น
E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลัพธ์

 F แทน คะแนนรวมหลงั การการเรยี นออนไลน์
B แทน คะแนนเต็มของการสอบหลงั การเรียนออนไลน์
X1 แทน คะแนนเฉล่ียกอ่ นการเรยี นออนไลน์
X2 แทน คะแนนเฉล่ียหลงั การการเรียนออนไลน์
ลำดับข้นั ตอนในการเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล
ผ้ศู กึ ษาคน้ คว้า ได้วิเคราะหข์ อ้ มลู ตามลำดบั ขั้นตอนดังน้ี
ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 ที่มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75
ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียน
บทเรยี น

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ตาราง วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 ที่มีประสิทธิภาพ

ตามเกณฑ์ 75/75 ตาราง แสดงคา่ คะแนนเฉลย่ี จากการเรยี นออนไลน์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/3 (N= 27)

ลำดบั ที่ ชอื่ -นามสกลุ กอ่ นเรยี น หลงั เรียน

1 นายจิรายุ ป้อยแกว้ 15 18

2 นายมนัสชยั นาคปนคำ 14 16

3 นายทัดเทพ ประดิษฐ์สขุ 16 17

4 นายธรี ภัทร ยะสะโร 15 18

5 นายปุญญพฒั น์ เอนกฤทธ์ิ 15 15

6 นายพีรวชิ ญ์ เชื้อรอด 14 16

7 นายมนสั ชยั พมึ ขุนทด 12 18

8 นายไชยภทั ร อว่ มต่าย 15 16

9 นายธนานพ นาควนั 12 17

10 นายธัญเทพ ปุริมพล 14 16

11 นายธีรภัทร นอ้ ยจนั ทร์ 12 16

12 นายภูริณฐั หลำ่ สุข 14 17

13 นายสง่ เสริม มว่ งสุข 13 17

14 นายสขุ เกษม อนนั ทสขุ 12 18

15 นายพสั กร ทองพิจติ ต์ 12 17

16 นายสิรวชิ ญ์ ชะเอม 13 18

17 นายอมลณฐั ขำฉนวน 16 15

18 นายอนิ ทชั ชะเอม 13 17

19 นายบรพิ ตั ร หลวงปลัด 13 17

20 นางสาวณฐั พร แกว้ นมิ่ 14 18

21 นางสาวธนั ยา ยาดี 13 17

22 นางสาวพลอยชมภู สุวรรณา 12 16

23 นางสาววิภาวรรณ์ แจง้ มณี 13 19

24 นางสาวธนั ยารตั น์ ชน่ื วัตร 14 17

25 นางสาวพลอยชมพู เรอื งค้มุ 13 18

26 นางสาววรรณกานต์ โคตรพรม 12 17

27 นางสาวศศวิ ิมล เกดิ อว่ ม 13 19

รวม 364 460

13.48 17.04

จากขอ้ มลู ในตารางคำนวณหาคา่ E1และ E2 ไดด้ งั น้ี

E1=[364/27] 100 = 67.41

20

E2=[46200/27] 100 = 85.19

จากตารางพบว่า เมื่อนักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 20 คะแนน ไดค้ ะแนนระหว่าง ระหว่างเรยี น
ได้ค่าเฉลยี่ 13.48 คิดเป็นร้อยละ 67.41 และผลการทดสอบหลังเรียนออนไลนไ์ ด้ ค่าเฉลี่ย 17.04 จากคะแนน
เต็ม 20 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 85.19

ตอนท่ี2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการเรียนบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์
Google Classsroom ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/3

รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ รวม แปรผล

5 4321

1. น่าสนใจดงึ ดูดใจกระตุน้ ให้เกดิ 26 1 134 4.96 ดมี าก

ความสนใจ

2. ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจใน 27 135 5 ดีมาก

บทเรียน

3. มกี ารอพั เดตข้อมูลทท่ี ันสมยั 27 135 5 ดมี าก

4. สามารถเข้าใช้งานไดต้ ลอดเวลา 27 135 5 ดีมาก

5.การออกแบบหนา้ จอเหมาะสม 26 1 134 4.96 ดมี าก

6.ลกั ษณะขนาด สขี องตวั อักษร 26 1 134 4.96 ดีมาก

ชัดเจนสวยงาม อา่ นงา่ ย และ

เหมาะสมกบั ระดับช้นั ทเ่ี รียน

7.ความเหมาะสมของสีพ้นื 17 5 5 120 4.44 ดี

8. ภาพ/ ภาพเคล่อื นไหว/ เสียง ท่ีใช้ 26 1 134 4.96 ดีมาก

เหมาะสมกบั การเรยี นรไู้ ดด้ ี

9. สื่อมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนอย่าง 27 135 5 ดีมาก

เหมาะสม

10. ให้ผลป้อนกลับ เสริมแรงและให้ 27 135 5 ดีมาก

ความช่วยเหลือเหมาะสม

11. สนองตอบต่อความแตกต่าง 26 1 134 4.96 ดมี าก

ระหวา่ งบคุ คล

12. บทเรยี นมีความยืดหยนุ่ มีเมน/ู 25 1 1 129 4.78 ดีมาก

ปุ่ม ใหผ้ ูเ้ รยี นควบคมุ บทเรียนได้

สะดวก

13.การใชง้ านง่ายไมซ่ บั ซ้อน สะดวก 27 135 5 ดีมาก

ตอ่ การใชง้ าน

จากตารางพบว่าผู้ประเมินมีความคิดเห็นต่อบทเรียนออนไลน์อยู่ในระดับดีมาก 12 รายการ คือ ช่วย
เสริมสร้างความเข้าใจในบทเรียน มีการอัพเดตข้อมูลที่ทันสมัย สามารถเข้าใช้งานได้ตลอดเวลา สื่อมี
ปฏิสมั พนั ธ์กบั ผเู้ รียนอยา่ งเหมาะสม ให้ผลปอ้ นกลับ เสรมิ แรงและให้ความช่วยเหลือเหมาะสม และการใช้งาน

ง่ายไม่ซับซ้อน สะดวกต่อการใช้ งาน ( = 5 ) น่าสนใจดึงดูดใจกระตุ้น ให้เกิดความสนใจ การออกแบบ
หน้าจอเหมาะสม ลักษณะขนาด สีของตัวอักษร ชัดเจน สวยงาม อ่านง่าย และเหมาะสมกับระดับชั้นที่เรียน
ภาพ/ ภาพเคล่อื นไหว/ เสียง ท่ใี ชเ้ หมาะสมกบั การเรียนรู้ไดด้ ีและ สนองตอบต่อความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล

( =4.96 )บทเรยี นมีความยดื หยุ่นมเี มน/ู ปมุ่ ให้ผเู้ รยี นควบคมุ บทเรยี นไดส้ ะดวก ( =4.78 )ความเหมาะสม

ของสีพนื้ ( =4.44)

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ โดยใช้ระบบ ห้องเรียน
ออนไลน์ Google Classsroom โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ซ่ึง
กลมุ่ เปา้ หมายท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก่ นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/3 จำนวน 1 หอ้ ง จำนวน 28 คน เครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บทเรียนออนไลน์, แบบฝึกหัดก่อนเรียนและหลัง ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4
ช่วั โมงตามแผนการจัดการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการพัฒนา วเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใชส้ ถิติการหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะมี รายละเอียดดังน้ี
สรปุ ผลการวิจัย
ผลการเปรียบเทยี บกอ่ นและหลงั เรียนออนไลนข์ องนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/3 พบว่า
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียนบทเรียนออนไลน์มี ประสิทธิภาพ
67.41 /85.19 ซ่ึงสงู กวา่ เกณฑท์ ่ตี ้งั ไว้
2. ความพึงพอใจของผ้เู รียนทีม่ ีตอ่ การจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบบห้องเรยี นกลบั ดา้ น ผา่ น Google
classroom
อภิปรายผลการวิจัย
นักเรียนที่ทำคะแนนก่อนและหลังเรียนออนไลน์เมื่อได้เรียนออนไลน์แล้ว จากการเปรียบเทียบ ผล
การบันทึกคะแนนจากเกณฑ์ที่วัดและหาค่าเฉลี่ยของความก้าวหน้าในการเรียนออนไลน์จะเห็นได้ว่า คะแนน
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนแสดงว่าบทเรียนออนไลน์ทำให้นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น เป็นเครื่องชี้ ชัดว่า
บทเรียนออนไลนม์ ีความเหมาะสม และกระตุน้ ให้นกั เรียนอยากเรียนมากข้ึน
ขอ้ เสนอแนะ
1.1 ผู้สอนต้องศึกษาขั้นตอนของการจัด กิจกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แบบออนไลน์ อย่าง ละเอียด
เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจบทบาทของตนเอง และ บทบาทของผู้เรียน เพ่ือให้สามารถนำไปใช้ในการ จดั การ เรียนรู้ได้อย่าง
ถกู ตอ้ งและมปี ระสทิ ธภิ าพ ผ้สู อนควรใหผ้ เู้ รยี นได้มอี สิ ระทางความคิดในการ รังสรรคช์ น้ิ งาน
1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ ควรให้ผู้เรียนได้มีบทบาทในการทำงานของ ตนเองมาก
ทสี่ ดุ ผู้สอนควรสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนทำงาน ร่วมกันเปน็ ทมี ได้ ทำงานดว้ ยตนเองได้
1.3 ผู้สอนควรมีสื่อที่หลากหลายเพื่อ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและสนองตอบความ แตกต่าง
ระหวา่ งบุคคลได้


Click to View FlipBook Version