The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสังคม ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khaseeyok, 2022-09-16 02:09:30

หลักสูตรสังคม ม.1

หลักสูตรสังคม ม.1

หลกั สูตรระดบั ช้นั เรยี น ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑
รายวชิ า สังคมศึกษา ๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐)
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

นายกาสี ยกน้อยวงษ์
ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ

โรงเรยี นบ้านเมก็ ดา
อาเภอพยคั ฆภูมิพสิ ัย จังหวดั มหาสารคาม
สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต ๒

คานา

หลักสตู รระดบั ช้นั เรียน รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑
กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เพอื่ ใช้เป็นเครือ่ งมอื สาคัญทจ่ี ะช่วยใหค้ รผู ูส้ อน
นาไปพฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณภาพ การพัฒนาหลกั สูตรระดับชั้นเรียนมกี ารจัดทาอย่างเปน็ ระบบ และสอดคล้อง
กับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐) การจัดทาไดร้ ับ
ความร่วมมือจากผเู้ ก่ยี วข้องทุกฝา่ ยในการให้ข้อมูลพน้ื ฐานที่สาคญั สามารถปรับปรุงและยืดหยุน่ ใหเ้ หมาะ
กบั สภาพการณต์ า่ ง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงเพ่ือใชแ้ นวทางจดั การเรยี นรู้ ช่วยส่งเสรมิ ความเจรญิ งอกงามของผ้เู รยี น
ในทุกด้าน รวมทัง้ สง่ เสรมิ ความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์เหมาะกับธรรมชาติวิชา และความต้องการของผู้เรียน
นอกจากนีย้ งั เป็นแนวทางในการวัดผลประเมินผลท่ีชดั เจนเพอ่ื นาไปสกู่ ารพัฒนาผู้เรียนตรงกับสภาพ
ความเปน็ จริง

เน้ือหาหลักสตู รเล่มนี้ ประกอบด้วยมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั คาอธิบายรายวิชา โครงสร้าง
รายวชิ า และหนว่ ยการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถนาไปสู่การพัฒนาแผนการจดั การเรยี นรู้ได้อย่างมีคุณภาพ

ขอบคุณผ้บู รหิ ารสถานศึกษา และคุณครทู ุกทา่ นที่มีส่วนร่วมจัดทาหลักสูตรและให้ความสาคัญ
กับการพฒั นาหลักสตู รระดับชั้นเรียนให้สามารถนาไปใช้ได้จรงิ หวังเปน็ อยา่ งยิง่ วา่ เอกสารหลกั สตู รระดับ
ช้ันเรยี นเลม่ น้ี จะช่วยอานวยความสะดวกให้ครูผู้สอนได้นาไปเป็นแนวทางในการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้
ให้ประสบผลสาเร็จตอ่ ไป

กาสี ยกน้อยวงษ์

สารบัญ

เรือ่ ง หนา้

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ............................................................................................. ๑
คาอธบิ ายรายวชิ า ................................................................................................................ ๘
โครงสรา้ งรายวิชาหนว่ ยการเรียนรู้ ...................................................................................... ๙

ประวตั ิผจู้ ัดทา ..................................................................................................................... ๑๒



หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ โรงเรียนบา้ นเม็กดา

สาระท่ี ๑. ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐานท่ี ส ๑.๑ รแู้ ละเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา

ท่ตี นนับถือหรือศาสนาอืน่ มศี รัทธาท่ีถกู ต้อง ยึดม่ัน และปฏิบตั ิตามหลักธรรม

เพ่ืออยรู่ ่วมกนั อย่างสันติสขุ

ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน  การสงั คายนา

นับถอื ส่ปู ระเทศไทย  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศไทย

๒. วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา หรือ  ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเปน็

ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ทีม่ ีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย  ศาสนาประจาชาติ
รวมทั้งการพฒั นาตนและครอบครัว
 สถาบันหลักของสังคมไทย

 สภาพแวดล้อมทกี่ วา้ งขวาง และครอบคลุม

สังคมไทย

 การพฒั นาตนและครอบครวั
 สรุปและวเิ คราะห์ พุทธประวัติ
๓. วิเคราะหพ์ ุทธประวตั ิต้ังแตป่ ระสูติ จนถงึ บาเพญ็  ประสูติ
ทกุ รกริ ยิ า หรือประวตั ิศาสดาที่ตนนบั ถือตาม  เทวทูต ๔
ทีก่ าหนด  การแสวงหาความรู้

 การบาเพ็ญทกุ รกิรยิ า

๔. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอยา่ งการดาเนนิ  พุทธสาวก พุทธสาวกิ า

ชีวิตและขอ้ คิดจากประวตั ิสาวก ชาดก/เร่อื งเล่า และ  พระมหากัสสปะ

ศาสนกิ ชนตวั อยา่ งตามทก่ี าหนด  พระอุบาลี

 อนาถบณิ ฑกิ ะ

 นางวสิ าขา

 ชาดก

 อมั พชาดก

 ตติ ติรชาดก
 พระรตั นตรัย
๕. อธิบายพุทธคณุ และขอ้ ธรรมสาคญั ในกรอบอรยิ สัจ  พุทธคุณ ๙
๔ หรือหลักธรรมของศาสนาทีต่ นนับถือตามท่ี
กาหนด เหน็ คุณค่าและนาไปพฒั นาแกป้ ัญหา  อรยิ สจั ๔
ของตนเองและครอบครัว  ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรรู)้
o ขนั ธ์ ๕
- ธาตุ ๔
 สมทุ ัย (ธรรมทคี่ วรละ)
o หลกั กรรม
- ความหมายและคุณคา่
o อบายมุข ๖



ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

 นิโรธ (ธรรมท่คี วรบรรล)ุ

o สขุ ๒ (กายิก, เจตสกิ )

o คหิ ิสขุ

 มรรค (ธรรมทคี่ วรเจรญิ )

o ไตรสิกขา

o กรรมฐาน ๒

o ปธาน ๔

o โกศล ๓

o มงคล ๓๘

-ไม่คบคนพาล

- คบบัณฑิต

- บูชาผู้ควรบชู า

 พทุ ธศาสนสุภาษติ

 ย เว เสวติ ตาทโิ ส

คบคนเชน่ ใดเป็นคนเช่นน้นั

 อตตฺ นา โจทยตตฺ าน

จงเตือนตน ดว้ ยตน

 นิสมมฺ กรณ เสยฺโย : ใคร่ครวญกอ่ นทาจงึ ดี

 ทุราวาสา ฆรา ทกุ ขฺ า

เรือนทคี่ รองไมด่ ีนาทุกข์มาให้

๖. เห็นคุณคา่ ของการพัฒนาจิต เพ่อื การเรยี นรู้และ  โยนิโสมนสกิ าร

การดาเนินชีวติ ดว้ ยวธิ ีคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ  วิธคี ิดแบบคณุ คา่ แท้ – คุณคา่ เทยี ม

คือวธิ คี ิดแบบคณุ คา่ แท้ – คุณคา่ เทยี ม และวิธีคิด  วธิ คี ิดแบบคุณ - โทษและทางออก
แบบคุณ – โทษ และทางออก หรือการพัฒนาจติ

ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถอื
๗. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและเจรญิ ปญั ญา  สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา
ด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนา  วธิ ปี ฏบิ ตั แิ ละประโยชน์ของการบรหิ ารจติ และเจริญ
ปัญญา การฝึกบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาตามหลัก
ทีต่ นนบั ถือตามทก่ี าหนด
สตปิ ฎั ฐานเนน้ อานาปานสติ

 นาวิธีการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญาไปใชใ้ น

ชวี ติ ประจาวนั
๘. วิเคราะห์และปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมทางศาสนา  หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรูข้ ้อ ๕)

ที่ตนนบั ถอื ในการดารงชวี ิตแบบพอเพียง และดแู ล

รักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่รว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติสุข

๙. วเิ คราะหเ์ หตุผลความจาเป็นทท่ี กุ คนตอ้ งศกึ ษา  ศาสนกิ ชนของศาสนาตา่ ง ๆ มีการประพฤติปฏิบตั ติ น

เรียนรศู้ าสนาอื่น ๆ และวิถีการดาเนนิ ชีวติ

แตกตา่ งกนั ตามหลักความเชื่อและคาสอนของศาสนา

ทตี่ นนบั ถือ



ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
 การปฏบิ ตั อิ ย่างเหมาะสมตอ่ ศาสนิกชนอน่ื ใน
๑๐. ปฏิบตั ติ นต่อศาสนิกชนอ่ืนในสถานการณ์ตา่ ง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม สถานการณ์ต่าง ๆ

๑๑. วิเคราะห์การกระทาของบุคคลที่เปน็ แบบอย่าง  ตัวอยา่ งบุคคลในท้องถนิ่ หรือประเทศทป่ี ฏบิ ัตติ นเปน็
ดา้ นศาสนสัมพันธ์ และนาเสนอแนวทางการปฏิบัติ แบบอยา่ งด้านศาสนสมั พนั ธห์ รอื มีผลงานดา้ นศาสน
สมั พนั ธ์
ของตนเอง

สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐานท่ี ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบตั ติ นเปน็ ศาสนกิ ชนทด่ี ี ธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา

หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถือ

ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
๑. บาเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาที่ตน  การบาเพ็ญประโยชน์ และการบารงุ รักษาวัด

นับถอื  วิถชี วี ติ ของพระภิกษุ
๒. อธบิ ายจริยวตั รของสาวกเพ่อื เป็นแบบอย่างในการ  บทบาทของพระภกิ ษใุ นการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา

ประพฤตปิ ฏิบัติ และปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม เช่น การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การประพฤตติ น
ตอ่ สาวกของศาสนาท่ตี นนบั ถอื ให้เปน็ แบบอย่าง
 การเข้าพบพระภิกษุ
๓. ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บคุ คลตา่ ง ๆ ตามหลัก  การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้
ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตามท่ีกาหนด การกราบ การเคารพพระรัตนตรัย การฟังเจริญ
พระพทุ ธมนต์ การฟังสวดพระอภธิ รรม การฟัง
๔. จัดพธิ ีกรรม และปฏบิ ตั ิตนในศาสนพิธี พิธกี รรม  พระธรรมเทศนา
ไดถ้ กู ตอ้ ง  ปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อเพอื่ นตามหลกั
พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือ
๕. อธบิ ายประวตั ิ ความสาคัญและปฏิบตั ิตนในวัน  การจัดโต๊ะหมบู่ ชู า แบบ หมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่ ๙
สาคัญทางศาสนาทีต่ นนับถอื ตามที่กาหนด  การจดุ ธปู เทยี น การจัดเคร่ืองประกอบโต๊ะหม่บู ชู า
ไดถ้ ูกต้อง  คาอาราธนาต่าง ๆ
 ประวัติและความสาคญั ของวันธรรมสวนะ
วันเข้าพรรษา วนั ออกพรรษา วันเทโวโรหณะ
 ระเบยี บพธิ ี พิธีเวยี นเทียน การปฏบิ ัตติ นใน
วนั มาฆบชู า วันวสิ าขบชู า วนั อัฏฐมีบูชา
วนั อาสาฬหบูชา วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาคญั



สาระที่ ๒ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏบิ ัติตนตามหน้าท่ีของการเปน็ พลเมืองดี มคี ่านยิ มทด่ี ีงามและธารงรกั ษา

ประเพณวี ฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยรู่ ว่ มกันในสงั คมไทยและสังคมโลกอย่างสันตสิ ขุ

ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑. ปฏิบัตติ ามกฎหมายในการคมุ้ ครองสทิ ธขิ องบุคคล  กฎหมายในการคุ้มครองสทิ ธขิ องบุคคล

๒. ระบคุ วามสามารถของตนเองในการทาประโยชน์ - กฎหมายการคมุ้ ครองเด็ก
ต่อสงั คมและประเทศชาติ - กฎหมายการศึกษา
- กฎหมายการคุม้ ครองผู้บริโภค
๓. อภิปรายเก่ยี วกบั คณุ ค่าทางวฒั นธรรมท่เี ปน็ ปัจจัย - กฎหมายลขิ สทิ ธิ์
ในการสรา้ งความสัมพันธ์ทด่ี ีหรอื อาจนาไปสู่  ประโยชนข์ องการปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมาย
ความเข้าใจผดิ ต่อกนั การคมุ้ ครองสิทธิของบุคคล
 บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนทม่ี ีตอ่ สังคมและ
๔. แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน ประเทศชาติ โดยเนน้ จติ สาธารณะ เช่น เคารพ
กตกิ าสงั คม ปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย มีสว่ นร่วม
และรบั ผิดชอบในกจิ กรรมทางสังคม อนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์

 ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างระหว่าง
วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาค
เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

 วัฒนธรรมทเี่ ปน็ ปัจจยั ในการสรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ดี ี
หรอื อาจนาไปสูค่ วามเข้าใจผดิ ต่อกัน

 วิธีปฏิบตั ติ นในการเคารพในสทิ ธขิ องตนเองและ

ผ้อู นื่

 ผลท่ไี ดจ้ ากการเคารพในสทิ ธิของตนเองและผอู้ ่ืน

สาระท่ี ๒ หน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจั จบุ นั ยดึ มั่น ศรัทธา ธารงรกั ษาไว้

ซึ่งการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

๑. อธบิ ายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และ  หลักการ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และสาระสาคญั
สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบับ
ฉบับปัจจบุ นั โดยสังเขป ปัจจุบนั



ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
๒. วเิ คราะห์บทบาทการถ่วงดุลของอานาจอธิปไตย  การแบ่งอานาจ และการถ่วงดุลอานาจอธิปไตย

ในรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบับปจั จุบัน ทัง้ ๓ ฝ่าย คอื นิติบญั ญตั ิ บริหาร ตลุ าการ ตามที่
ระบุในรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบับ
๓. ปฏบิ ัติตนตามบทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู แห่ง ปจั จบุ ัน
ราชอาณาจักรไทย ฉบบั ปัจจบุ ันทเี่ กี่ยวข้องกบั ตนเอง
 การปฏบิ ัติตนตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนญู
แห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั ปัจจุบนั เก่ียวกับ
สิทธิ เสรีภาพ และหนา้ ที่

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา้ ใจและสามรถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชท้ รพั ยากร

ท่มี ีอยู่อย่างจากัดได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียงเพ่อื การดารงชวี ติ อย่างมดี ุลยภาพ

ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

๑. อธบิ ายความหมายและความสาคัญของ  ความหมายและความสาคญั ของเศรษฐศาสตร์

เศรษฐศาสตร์ เบื้องตน้

 ความหมายของคาว่าทรัพยากรมีจากัดกับความ

ต้องการมีไมจ่ ากัด ความขาดแคลน การเลือกและ

คา่ เสยี โอกาส

๒. วิเคราะห์คา่ นิยมและพฤติกรรมการบรโิ ภคของคน  ความหมายและความสาคญั ของการบรโิ ภค

ในสงั คมซ่งึ ส่งผลต่อเศรษฐกจิ ของชมุ ชนและประเทศ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

 หลกั การในการบริโภคที่ดี

 ปจั จัยท่มี ีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบรโิ ภค

 ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภคของคน

ในสงั คมปจั จุบนั รวมท้ังผลดแี ละผลเสียของ

พฤติกรรมดังกล่าว

๓. อธิบายความเปน็ มาหลกั การและความสาคญั ของ  ความหมายและความเป็นมาของปรชั ญาของ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งต่อสงั คมไทย เศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ความเปน็ มาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการ

ทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รวมท้ัง

โครงการตามพระราชดาริ

 หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง

 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ

ดารงชีวติ

 ความสาคัญ คณุ คา่ และประโยชนข์ องปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงต่อสงั คมไทย



สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความจาเปน็

ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑. วิเคราะหบ์ ทบาทหนา้ ท่ีและความแตกต่างของ  ความหมาย ประเภท และความสาคัญของสถาบัน

สถาบนั การเงินแตล่ ะประเภทและธนาคารกลาง การเงินท่มี ีต่อระบบเศรษฐกิจ
 บทบาทหน้าท่ีและความสาคญั ของธนาคารกลาง
๒. ยกตวั อย่างท่สี ะทอ้ นให้เห็นการพงึ่ พาอาศัยกนั  การหารายได้ รายจา่ ย การออม การลงทนุ
และการแข่งขนั กันทางเศรษฐกจิ ในประเทศ
ซึง่ แสดงความสมั พันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผูบ้ รโิ ภค
๓. ระบปุ ัจจัยท่ีมีอิทธิพลตอ่ การกาหนด อุปสงค์และ และสถาบันการเงิน
อปุ ทาน  ยกตวั อย่างท่ีสะท้อนให้เห็นการพ่ึงพาอาศัยกนั
และกนั การแข่งขันกนั ทางเศรษฐกจิ ในประเทศ
๔. อภปิ รายผลของการมีกฎหมายเกี่ยวกบั ทรัพย์สนิ  ปญั หาเศรษฐกจิ ในชุมชน ประเทศ และเสนอ
ทางปญั ญา แนวทางแก้ไข

 ความหมายและกฎอปุ สงค์ อปุ ทาน

 ปัจจยั ทม่ี ีอิทธิพลต่อการกาหนดอุปสงค์และอุปทาน
 ความหมายและความสาคัญของทรัพย์สิน

ทางปัญญา
 กฎหมายท่ีเก่ยี วกับการคุ้มครองทรัพย์สนิ

ทางปัญญาพอสังเขป
 ตวั อย่างการละเมิดแห่งทรัพยส์ นิ ทางปัญญาแต่ละ

ประเภท

สาระท่ี ๕ ภมู ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พันธ์ของสรรพส่งิ ซง่ึ มีผลตอ่ กัน ใช้แผนที่

และเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู ิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

๑. วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย  ท่ตี ัง้ ขนาด และอาณาเขตของทวปี เอเชยี ทวีป
ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย โดยใช้เคร่ืองมือ ออสเตรเลียและโอเชียเนีย
ทางภูมิศาสตรส์ บื ค้นขอ้ มูล
 การใชเ้ ครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์ เชน่ แผนท่ี

รูปถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทยี มในการ
สืบค้นลักษณะทางกายภาพของทวปี เอเชีย

ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนี



ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๒. อธบิ ายพิกดั ภมู ิศาสตร์ (ละติจูด และลองจจิ ูด)
 พิกดั ภมู ิศาสตร์ (ละตจิ ดู และลองจจิ ดู )
เสน้ แบง่ เวลา และเปรียบเทยี บวนั เวลาของโลก  เสน้ แบง่ เวลา
 การเปรยี บเทียบวนั เวลาของโลก
๓. วเิ คราะห์สาเหตุการเกดิ ภัยพิบตั แิ ละผลกระทบ
ในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชยี เนีย  สาเหตกุ ารเกิดภัยพิบัติและผลกระทบในทวีปเอเชีย

ทวปี ออสเตรเลียและโอเชียเนีย

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์กบั ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพที่ก่อใหเ้ กิดการสรา้ งสรรค์

วิถกี ารดาเนนิ ชีวติ มจี ิตสานกึ และมีส่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม
เพือ่ การพัฒนาทยี่ ่งั ยนื

ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

๑. สารวจและระบทุ าเลท่ีต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ  ทาเลท่ตี งั้ ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คม

และสงั คมในทวปี เอเชียทวีปออสเตรเลยี และ เชน่ พ้ืนทเ่ี พาะปลูกและเลีย้ งสัตว์ แหลง่ ประมง

โอเชียเนีย การกระจายของภาษาและศาสนาในทวีปเอเชยี

ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนีย

๒. วิเคราะหป์ จั จัยทางกายภาพและปัจจัยทางสงั คม  ปจั จยั ทางกายภาพและปัจจยั ทางสงั คมที่ส่งผลต่อ

ทีส่ ง่ ผลตอ่ ทาเลทีต่ ง้ั ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากร

สงั คมในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และ สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม

โอเชียเนีย ในทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี

๓. สืบค้น อภิปรายประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์  ประเด็นปญั หาจากปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งแวดล้อม

ระหวา่ งสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพกับมนุษยท์ ี่เกิดขนึ้ ทางกายภาพกบั มนษุ ย์ทีเ่ กดิ ข้ึนในทวีปเอเชยี

ในทวีปเอเชียทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี

๔. วเิ คราะหแ์ นวทางการจัดการภยั พบิ ตั ิและ  แนวทางการจัดการภยั พิบัตแิ ละการจดั การ

การจัดการทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ มในทวีปเอเชยี ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมในทวีปเอเชีย

ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนียทย่ี ง่ั ยนื ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนียทีย่ ัง่ ยืน



คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน

ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง

ศกึ ษา วิเคราะห์ อธิบาย การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือสู่ประเทศไทย ความสาคัญ
ของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือที่มีตอ่ สภาพแวดล้อมในสงั คมไทย รวมทงั้ การพัฒนาตนเองและ
ครอบครัว พุทธประวัตติ ั้งแต่ประสตู จิ นถึงบาเพ็ญทกุ รกริ ิยา หรอื ประวัตศิ าสดาท่ตี นนับถอื ตามที่กาหนด
ประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชวี ติ และขอ้ คิดจากประวตั ิสาวก ชาดก/เรอื่ งเลา่ และศาสนิกชนตวั อย่าง
อธิบายพุทธคุณ และขอ้ ธรรมสาคัญในกรอบอรยิ สัจ ๔ หรอื หลกั ธรรมของศาสนาทีต่ นนับถือตามท่ีกาหนดและ
นาไปพัฒนาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว เหน็ คณุ ค่าของการพัฒนาจิตเพ่ือการเรยี นร้แู ละการดาเนินชีวิต
ดว้ ยวิธคี ิดแบบโยนิโสมนสกิ าร สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและเจรญิ ปัญญาด้วยอานาปานสติ วเิ คราะห์ความ
จาเป็นท่ีต้องศึกษาศาสนาอนื่ ๆ และปฏิบัตติ นต่อศาสนกิ ชน ศาสนาสถานของอ่ืนได้อย่างเหมาะสม บาเพญ็
ประโยชนต์ อ่ ศาสนสถานท่ตี นนบั ถือ จดั พธิ ีกรรมและปฏบิ ัตติ นในศาสนพธิ ี พีธกี รรม และร่วมกจิ กรรมในวันสาคญั
ทางศาสนาได้ถูกต้อง ปฏบิ ัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบคุ คล การทาประโยชน์ต่อสังคมและ
ประเทศชาติ เหน็ คณุ ค่าทางวัฒนธรรมและแสดงออกถงึ การเคารพสทิ ธเิ สรภี าพของตนเองและผู้อืน่ อธบิ าย
หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และสาระสาคัญของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปจั จุบันโดยสังเขป
วเิ คราะห์บทบาทการถว่ งดลุ ของอานาจอธิปไตยในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย และปฏิบัตติ นตาม
บทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนญู ทีเ่ ก่ยี วข้องกับตนเอง

โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสืบคน้ ข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสงั คม
กระบวนการกลุม่ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแกป้ ัญหา

เพ่อื ใหเ้ กิดความร้คู วามเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดารงชวี ติ มคี ุณธรรม จริยธรรม
มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ในดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ มวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ รักความเป็นไทย
มจี ิตสาธารณะ สามารถดารงชีวติ อยา่ งสันติสุขในสงั คมไทยและสังคมโลก

รหสั ตวั ชี้วดั
ส ๑. ๑
ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗, ม.๑/๘,ม.๑/๙, ม.๑/๑๐,ม.๑/๑๑
ส ๑.๒
ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
ส ๒.๑
ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
ส ๒.๒
ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓

รวมทั้งสิน้ ๒๑ ตัวชวี้ ัด



ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา โครงสร้างรายวิชาพ้นื ฐาน
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียน ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง

ลาดับที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
ตัวช้วี ัด ชั่วโมง คะแนน

๑ ประวัติและ ส ๑.๑ หลงั จากสังคายนาพระไตรปิฎก ๕ ๑๐

ความสาคญั ของ ม.๑/๑ คร้ังท่ี ๓ พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่

พระพุทธศาสนา ม.๑/๒ เขา้ สปู่ ระเทศไทย และมีพัฒนาการ

ตามยคุ สมยั และมีความสาคัญตอ่

สงั คมไทยในฐานะเป็นศาสนา

ประจาชาตแิ ละเป็นสถาบนั หลกั

ของสงั คมไทย

๒ พุทธประวตั ิ พระ ส ๑.๑ การศกึ ษาพุทธประวัติ ประวัติ ๘ ๑๐

สาวก ชาดก และ ม.๑/๓ พระสาวก ชาดก และศาสนิกชน

ศาสนกิ ชนตวั อย่าง ม.๑/๔ ตวั อยา่ ง ทาใหเ้ กิดความศรทั ธา

เห็นแบบอยา่ งและข้อคิดที่ดใี นการ

ดาเนนิ ชีวติ

๓ หลักธรรมทาง ส ๑.๑ การศึกษาหลกั ธรรมคาสอนของ ๑๐ ๑๐

พระพทุ ธศาสนา ม.๑/๕ พระพทุ ธศาสนาในกรอบพระ

ม.๑/๖ พุทธคุณ ๙ อรยิ สัจ ๔ พุทธศาสน

สุภาษติ ให้เข้าใจถ่องแท้ สามารถ

นาไปเป็นแนวในการประพฤติ

ปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง อนั จะเปน็

ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม

๔ การบรหิ ารจิตและ ส ๑.๑ การสวดมนต์ การแผเ่ มตตา ๖ ๑๐

เจรญิ ปญั ญา ม.๑/๖ การบริหารจติ และเจรญิ ปญั ญา

ม.๑/๗ ดว้ ยอานาปนสติ เป็นการพฒั นาจิต

เพื่อการเรยี นรู้และการดาเนินชีวิต

จะชว่ ยให้เข้าใจอะไรไดง้ ่าย

และแจม่ แจ้ง

๕ หน้าทแ่ี ละมารยาท ส ๑.๒ การบาเพ็ญประโยชนต์ ่อศาสนา ๖ ๑๐

ชาวพทุ ธ ม.๑/๑ การปฏิบัตติ นต่อพระสาวก

ม.๑/๒ การปฏบิ ัตติ นในศาสนาพธิ ีและการ

ม.๑/๓ เข้ารว่ มกจิ กรรมในวันสาคญั ทาง

ม.๑/๔ ศาสนาเป็นหน้าทขี่ องชาวพุทธที่พึง

ม.๑/๕ ปฏบิ ัติ

๑๐

ลาดับท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
๖ ศาสนสัมพันธ์ ตวั ชี้วดั ช่ัวโมง คะแนน
การเรยี นรศู้ าสนาอ่ืน การปฏิบตั ิ
๗ กฎหมายคุ้มครอง ส ๑.๑ ต่อศาสนิกชน ศาสนาสถาน การยก ๕ ๑๐
๘ สทิ ธสิ ว่ นบุคคล ม.๑/๘ ย่องบุคคลตัวอยา่ ง การปฏิบัติตาม
๙ ม.๑/๙ หลักธรรมทางศาสนาเปน็ การสร้าง ๕ ๑๐
บทบาทหนา้ ท่ีของ ม.๑/๑๐ ความสัมพนั ธ์อันดเี พื่อการอยู่ ๕ ๑๐
๑๐ เยาวชนท่มี ตี ่อสังคม ม.๑/๑๑ รว่ มกันได้อยา่ งสันติสุข ๕ ๑๐
และประเทศชาติ การเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผอู้ ่ืน
วฒั นธรรมไทยกับ ส ๒.๑ และการปฏบิ ัตติ ่อกนั อย่าง ๕ ๑๐
การสร้างความ ม.๑/๑ เหมาะสม สง่ ผลดตี ่อการพฒั นา
สมั พันธท์ ี่ดตี ่อกนั คุณภาพชีวิต ๖๐ ๑๐๐
ส ๒.๑ การเคารพสิทธขิ องตนเองและผู้อ่นื
รัฐธรรมนญู กับ ม.๑/๒ การทาประโยชนต์ ่อสังคมและ
การเมืองการ ม.๑/๔ ประเทศชาติ สง่ ผลต่อการอยู่
ปกครองของไทย ร่วมกันอยา่ งสงบสุข
ส ๒.๑ การศึกษาวัฒนธรรมไทยและ
ม.๑/๓ วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาค
เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เพ่ือให้
ส ๒.๒ เข้าใจแนวทางการสรา้ ง
ม.๑/๑ ความสมั พันธ์ทด่ี ีต่อกนั
ม.๑/๒ การศกึ ษาหลักการ เจตนารมณ์
ม.๑/๓ โครงสรา้ ง สาระสาคญั และการใช้
อานาจอธปิ ไตย สง่ ผลดีตอ่ การ
รวมตลอดภาคเรียน ปฏบิ ตั ติ นตามบทบัญญตั ิของ
รัฐธรรมนญู

๑๑

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน

ส ๒๑๑๐๓ สังคมศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง

ศึกษา วิเคราะห์ ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ คา่ นิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคน
ในสังคม ซึ่งมผี ลตอ่ เศรษฐกจิ ของชมุ ชนและประเทศ ความเปน็ มา หลกั การและความสาคัญของปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งต่อสังคมไทย บทบาทหนา้ ที่และความแตกต่างของสถาบันการเงนิ แต่ละประเภทและธนาคาร
กลาง การพึงพาและการแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกิจในประเทศ ปัจจยั ท่ที มี่ ีอิทธิพลต่อการกาหนดค่าอุปสงค์อุปทาน
กฎมายท่ีเกี่ยวกับทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา ใช้เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์สารวจ สบื คน้ พกิ ดั ภมู ิศาสตร์ (ละติจูด และ
ลองจจิ ดู ) เส้นแบง่ เวลา และเปรยี บเทียบวนั เวลาของโลก ลกั ษณะทางกายภาพ ทาเลทีต่ ้ังของกิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ สงั คม รวมถงึ ปัจจัยทางกายภาพ ปจั จัยทางสังคมทม่ี ผี ลตอ่ ทาเลที่ตัง้ ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจและ
สังคมในในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี สาเหตุการเกดิ ภัยพบิ ตั ิ การจดั การสงิ แวดล้อมในทวีป
เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี

โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้น กระบวนการณ์เผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปัญหา กระบวนการ
กลมุ่ กระบวนการทางสังคม การใช้เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตรใ์ นการสบื คน้ วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มลู ตาม
กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใชท้ ักษะทางภูมิศาสตรด์ า้ นการสงั เกต การแปลความ
ข้อมูลภูมิศาสตร์ การคิดเชิงพื้นท่ี การคิดแบบองคร์ วม การใช้เทคโนโลยี การใช้เทคนคิ และเครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์
การคิดเชงิ ภูมสิ มั พนั ธ์ การใช้สถิติพ้ืนฐาน รวมถงึ ทักษะดา้ นการสือ่ สาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ สถาบันทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสัมพันธท์ างเศรษฐกจิ การร่วมมือทาง
เศรษฐกิจในสงั คมโลก สามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลติ และการการบริโภคไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
คุม้ คา่ และนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ มีความสามารถทางภมู ศิ าสตร์ กระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ทกั ษะทางภมู ิศาสตร์ และมีทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ดา้ นการส่อื สาร การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
ความสามารถในการคดิ แก้ปัญหา มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงคใ์ นด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สจุ ริต มวี ินัย
ใฝ่เรยี นรู้ รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ มงุ่ มั่นในการทางาน มีสว่ นรว่ มในการจัดการภยั พิบตั แิ ละการอนรุ ักษ์
สิง่ แวดล้อมในประเทศไทย ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนีย

รหสั ตวั ช้ีวดั

ส ๓.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓
ส ๓.๒ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔
ส ๕.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓
ส ๕.๒ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓, ม.๑/๔

รวมท้ังสนิ้ ๒๑ ตัวชวี้ ัด

๑๒

ส ๒๑๑๐๓ สังคมศกึ ษา โครงสร้างรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี น ๒ กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา ๖๐ ชั่วโมง

ลาดับที่ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
๑ ตัวช้ีวดั ชั่วโมง คะแนน
เศรษฐศาสตร์
เบอ้ื งตน้ ส ๓.๑ การมีความรู้ ความเข้าใจใน ๓ ๕
ม.๑/๑
ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ ๑๐

สามารถตัดสนิ ใจเลือกใช้ทรัพยากร ๕
๑๐
ท่มี อี ยู่อยา่ งคมุ้ ค่า ๑๐

๒ พฤติกรรมการบรโิ ภค ส ๓.๑ ค่านยิ มและพฤติกรรมการบริโภค ๕ ๑๐
ม.๑/๒
ของคนในสงั คม มคี วามสมั พันธ์กบั
ส ๓.๒
ม.๑/๓ อุปสงค์และอุปทาน และมผี ลต่อ
ม.๑/๔
เศรษฐกจิ ของชุมชนและประเทศ

กฎหมายทรพั ยส์ ินทางปญั ญาเป็น

เครื่องมอื คุ้มครองทรัพย์สนิ ทาง

ปัญญาประเภทต่าง ๆ

๓ สถาบันทางการเงิน ส ๓.๒ บทบาทหนา้ ที่ของสถาบนั การเงินมี ๒
ม.๑/๑
ความสาคญั ต่อเศรษฐกจิ ภายใน

ประเทศ

๔ เศรษฐกจิ ของ ส ๓.๒ การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ ๕
ประเทศไทย ม.๑/๒
มที งั้ การพึงพาอาศยั และการ

แขง่ ขนั กนั

๕ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ส ๓.๑ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มหี ลัก ๕
ม.๑/๓
สาคญั ท่ที าให้ผู้ปฏบิ ตั สิ ามารถ

ดารงชีวิตอย่างมดี ลุ ยภาพสง่ ผลต่อ

การพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม

อยา่ งย่ังยนื

๖ เคร่ืองมอื ทาง ส ๕.๑ เครอื่ งทางภมู ิศาสตรช์ ่วยสบื ค้น ๕

ภมู ศิ าสตร์และเวลา ม.๑/๒ ขอ้ มลู ตามกระบวนการทาง

ของโลก ภูมศิ าสตร์อย่างถูกต้องและสง่ ผลให้

ได้ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อนาไปใช้ใน

กิจกรรมต่าง ๆอยา่ งมีประสิทธิภาพ

และระบบพิกัดภมู ศิ าสตร์ใช้ในการ

อ้างองิ ตาแหนง่ และคานวณวันเวลา

๑๓

ลาดับท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
การเรียนรู้/ตัวช้วี ดั ชัว่ โมง คะแนน

๗ ทวีปเอเชีย ส ๕.๑ ๑) เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตรส์ ามารถ ๑๔ ๒๐

ม.๑/๑ นาไปใชใ้ นการสบื คน้ ข้อมลู เพอื่

ส ๕.๒ วเิ คราะหล์ กั ษณะภูมิประเทศ

ม.๑/๑ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ

ม.๑/๒ ของทวปี เอเชยี

๒) ทาเลที่ตงั้ ของกิจกรรมทาง

เศรษฐกจิ สงั คมของทวปี เอเชยี

มคี วามสัมพนั ธ์กับลกั ษณะ

ภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ และ

ทรพั ยากรธรรมชาติ

๓) ปัจจัยทางกายและปจั จยั

ทางสงั คมมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลง

ทางประชากร เศรษฐกจิ สังคมและ

วัฒนธรรมของทวปี เอเชยี

๘ ทวปี ออสเตเลยี และ ส ๕.๑ ๑) เครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์สามารถ ๙ ๑๐

โอเชียเนีย ม.๑/๑ นาไปใช้ในการสืบค้นข้อมูล

ส ๕.๒ เพ่ือวเิ คราะห์ลักษณะภมู ิประเทศ

ม.๑/๑ ภูมอิ ากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ

ม.๑/๒ ของทวปี ออสเตรเลียและโอเชียเนยี

๒) ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทาง

เศรษฐกิจ สังคมของทวีปออสเตรเลยี

และโอเชยี เนยี มีความสัมพนั ธก์ ับ

ลักษณะภูมปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ และ

ทรพั ยากรธรรมชาติ

๓) ปจั จัยทางกายและปัจจัยทาง

สงั คมมผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงทาง

ประชากร เศรษฐกจิ สงั คม และ

วฒั นธรรมของทวปี ออสเตรเลีย และ

โอเชยี เนยี

๙ ภยั พิบัติทาง ส ๕.๑ ๑) ลกั ษณะทางกายภาพทวีปเอเชยี ๖ ๑๐

ธรรมชาติในทวปี ม.๑/๓ ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี

เอเชีย ทวปี ส ๕.๒ ส่งผลต่อการเกิดภัยพบิ ัติและ

ออสเตรเลีย และ ม.๑/๔ ผลกระทบต่างกนั

โอเชยี เนีย ๒) การจดั การภัยพิบตั ิและการ

จัดการทรพั ยากรในทวปี เอเชีย ทวีป

ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ทาให้

มนษุ ยอ์ ย่รู ่วมกับธรรมชาตยิ ่งั ยืน

๑๔

ลาดับท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
ตวั ช้ีวัด ช่ัวโมง คะแนน

๑๐ ปญั หาทรัพยากร ส ๕.๒ ๑) ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพมี ๖ ๑๐

ธรรมชาตแิ ละ ม.๑/๓ อิทธิพลต่อกิจกรรมของมนุษย์

สิงแวดล้อมใน ม.๑/๔ ขณะเดยี วกันกิจกรรมของมนุษย์ก็

ทวปี เอเชยี ทวีป ส่งผลต่อสิงแวดล้อมทางกายภาพ

ออสเตรเลีย และ และก่อให้เกิดปัญหาการทาลาย

โอเชียเนยี ส่งิ แวดลอ้ มในทวีปเอเชยี ทวีป

ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย

๒) การจดั การภัยพิบัตแิ ละการ

จัดการส่งิ แวดลอ้ มในทวปี เอเชยี

ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนียจะ

ช่วยให้มนุษยอ์ าศัยรว่ มธรรมชาตไิ ด้

อยา่ งยง่ั ยนื

รวมตลอดภาคเรียน ๖๐ ๑๐๐

ช่อื ประวัติย่อของผจู้ ดั ทำหลักสูตรระดับช้ันเรียน
วันเกดิ
สถำนท่ีเกิด นายกาสี ยกนอ้ ยวงษ์
สถำนท่ีอยู่ปจั จบุ นั วนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๐๖
บา้ นโคกจนั ทรห์ อม ตาบลเม็กดา อาเภอพยคั ฆภูมพิ ิสยั จังหวัดมหาสารคาม
ตำแหน่งหน้ำทก่ี ำรงำน บา้ นเลขท่ี ๒๒ หมทู่ ี่ ๒๐ ตาบลเมก็ ดา อาเภอพยัคฆภูมพิ สิ ัย
สถำนที่ทำงำนปัจจบุ นั จังหวัดมหาสารคาม
ประวตั ิกำรศกึ ษำ ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ
โรงเรียนบ้านเม็กดา อาเภอพยัคฆภูมิพิสยั จงั หวัดมหาสารคาม
พ.ศ. ๒๕๒๒
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ (ม.ศ. ๓) โรงเรียนพุทไธสง อาเภอพุทไธสง
พ.ศ. ๒๕๒๔ จงั หวดั บุรีรมั ย์
พ.ศ. ๒๕๒๙ ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) วทิ ยาลัยครูมหาสารคาม
พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกาศนียบัตรประโยคพเิ ศษครมู ัธยม (พ.ม.) กรมฝึกหดั ครู
ปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ) วชิ าเอกบริหารการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๑ วชิ าเลอื กสงั คมไทย มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต (ศศ.ม) สาขาวชิ า การจัดการกีฬาและสุขภาพ
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม




Click to View FlipBook Version