The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beebird1982, 2024-01-31 11:50:55

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 51 กจส. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านพลังทางสังคม ➢ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 1) โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน และการส่งเสริมกลุ่มอาชีพประชาชน ตาม พระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1.วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารีที่ทรงริเริ่มให้จัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน 2) เพื่อให้ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนวิชาสหกรณ์ในโรงเรียน และทราบหลักเกณฑ์การประกวดโรงเรียนจัดการเรียนรู้การสหกรณ์รางวัล พระราชทาน เพื่อเตรียมความพร้อมในการประกวดโรงเรียนจัดการเรียนรู้การสหกรณ์รางวัลพระราชทานได้ อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ 3) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนให้ได้รับรางวัลพระราชทาน และเกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน 4) เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียนให้แพร่หลาย รวมทั้งส่งเสริมความรู้ และทักษะ ด้านการสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์ให้แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน 5) เพื่อให้โรงเรียนได้มีสื่อการเรียนรู้ด้านการสหกรณ์ในโรงเรียน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย : นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ประชาชนทั่วไป ในจังหวัดสมุทรสงคราม พื้นที่ดำเนินงาน : เขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ด้านการสหกรณ์ในโรงเรียน และประชาสัมพันธ์การจัดการเรียนรู้การ สหกรณ์ ในโรงเรียนผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ รวมทั้งสามารถจัดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ด้าน การสหกรณ์ได้ 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ด้านการสหกรณ์ในโรงเรียน และมีความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ เรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน รวมทั้งทราบหลักเกณฑ์การประกวดโรงเรียนจัดการเรียนรู้การสหกรณ์รางวัล พระราชทานได้อย่างถูกต้อง 2) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปจัดการเรียนการสอนวิชาสหกรณ์ในโรงเรียน และมี การทำกิจกรรมการส่งเสริมสหกรณ์เพื่อเตรียมความพร้อมในการประกวดโรงเรียนจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ รางวัลพระราชทาน 3) นักเรียนได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการรวมกลุ่มโดยใช้การบริหารงานแบบสหกรณ์ และสามารถ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การสหกรณ์ ผ่านครู นักเรียน ผู้ปกครองและหน่วยงานต่าง ๆ และสามารถ ประชาสัมพันธ์การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียนผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ได้อย่างแพร่หลาย


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 52 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - ไม่มี – 6. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) การดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม และศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 16 เพชรบุรีทำการ ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมวันสหกรณ์นักเรียนประจำปี 2566 และเตรียมพร้อมเพื่อให้โรงเรียนส่งผลงาน ประกวดรางวัลพระราชทานฯ ในปี 2567 โดยเข้าพบผู้อำนวยการและคุณครูที่ทำการสอนวิชาการสหกรณ์ใน โรงเรียน รวมทั้งร่วมพูดคุยให้ความรู้แก่นักเรียน เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และประชาสัมพันธ์การเผยแพร่การจัด กิจกรรมวันสหกรณ์นักเรียนผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น เพจ Facebook สำนักงานสหกรณ์ จังหวัด สมุทรสงคราม และกลุ่มไลน์สหกรณ์ในจังหวัดสมุทรสงคราม โดยเชิญชวนให้ผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมผ่านทาง Facebook Live ของสำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงานโครงการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านการสหกรณ์ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับ จัดเป็นกิจกรรมฐานการเรียนรู้ด้านการสหกรณ์ให้น่าสนใจยิ่งขึ้น


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 53 กจส. 2) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราช กุมาร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ วัตถุประสงค์: 1) เพื่อให้เกษตรกรที่มีปัญหาด้านการเกษตร สามารถเข้าถึงบริการทางวิชาการและได้รับการแก้ไข ปัญหาด้านการเกษตรอย่างครบวงจร 2) เป็นการสร้างภาพพจน์และภาพลักษณ์ด้านวิชาการ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ของหน่วยงานใน สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ต่อประชาชน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย: เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในจังหวัดสมุทรสงคราม ที่เข้าร่วมงาน จำนวน 300 คน พื้นที่ดำเนินงาน : เขตอำเภอเมือง อำเภออัมพวา และอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม 3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในจังหวัดสมุทรสงคราม มาร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ จำนวน 300 คน ได้รับความรู้เรื่องการสหกรณ์ การรวมกลุ่ม และการทำการเกษตร เพื่อนำไปแก้ไขปัญหาในการทำ การเกษตร และพัฒนาปรับปรุง ให้ได้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ ทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งรับบริการ สนับสนุนปัจจัยการผลิตด้านการเกษตรและเครื่องอุปโภคบริโภค 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) เกษตรกรและประชาชนทั่วไปได้รับคำแนะนำ และวิธีการแก้ปัญหาด้านการเกษตร และทันต่อ เหตุการณ์ 2) เกษตรกรและประชาชนทั่วไปได้รับความรู้และฝึกอบรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรที่ เหมาะสม 5. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,100 9,100 100 6. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงครามได้รับอนุมัติแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย เพื่อ ดำเนินโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ประจำปี 2566 เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการคลินิกเกษตร เคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ในระดับจังหวัดในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญและการแก้ไขปัญหาภาค เกษตรระดับจังหวัด โดยการบูรณาการร่วมกับสำนักงานจังหวัด สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ซึ่งมี เกษตรจังหวัดเป็นหัวหน้าทีมในการขับเคลื่อน ซึ่งมีกำหนดการจัดโครงการฯ ไตรมาสละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง ต่อปี ปีงบประมาณ 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงครามได้ร่วมจัดนิทรรศการเพื่อให้คำแนะนำ เรื่องการรวมกลุ่ม และการจัดตั้งสหกรณ์ รวมทั้งให้ความรู้เรื่องการสหกรณ์แก่เกษตรกรและประชาชน พร้อม ทั้งแจกเอกสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ และนำปุ๋ยอินทรีย์ตราดอก เห็ด ที่ผลิตโดยสหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด และเมล็ดพันธุ์ผักสวนครัวไปแจกจ่ายแก่ผู้ที่มาใช้บริการ คลินิกสหกรณ์ ตามโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ดังนี้


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 54 ครั้งที่ 1 จัดขึ้นวันที่ 16 ธันวาคม 2565 ณ วัดน้อยแสงจันทร์ ตำบลลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม มีผู้สนใจเข้าใช้บริการคลินิกสหกรณ์ จำนวน 114 ราย ครั้งที่ 2 จัดขึ้นวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ณ วัดบางกล้วย ตำบลโรงหีบ อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม มีผู้สนใจเข้าใช้บริการคลินิกสหกรณ์ จำนวน 102 ราย ครั้งที่3 จัดขึ้นวันที่ 25 พฤษภาคม 2566 ณ วัดราษฎร์วัฒนาราม ตำบลบางนางลี่ อำเภอ อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีผู้สนใจเข้าใช้บริการคลินิกสหกรณ์ จำนวน 105 ราย ครั้งที่4 จัดขึ้นวันที่ 27 กรกฎาคม 2566 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลบางคนที ตำบลบาง คนที อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม มีผู้สนใจเข้าใช้บริการคลินิกสหกรณ์ จำนวน 108 ราย ภาพถ่าย


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 55 3) โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีกิจกรรมการดำเนินงานที่สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการธุรกิจหรือกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งใน ระดับองค์กรและระดับสมาชิก 2) เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่นำแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน การดำเนินงานได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรอื่นสามารถนำไป ประยุกต์ใช้กับองค์กรได้ 3) เพื่อเป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้ นำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย : 1) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม ได้ดำเนินการเข้าแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรให้นำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและสมาชิก ซึ่งเป็น สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้เข้าร่วมโครงการปี 2565 จำนวน 4 แห่ง และเป็นสหกรณ์ที่ไม่เคยเข้าร่วม โครงการ จำนวน 1 แห่ง โดยได้ดำเนินการแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนินงานต่อเนื่อง จำนวน 5 แห่ง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมประกวดสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีการน้อมนำแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฯ พื้นที่ดำเนินงาน : พื้นที่ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 แห่ง 3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายสามารถนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ทั้งใน ระดับองค์กรและสมาชิกได้จำนวน 5 แห่ง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีการน้อมนำแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน การดำเนินงานได้อย่างโดดเด่นเด่น และประสงค์เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อยจำนวน 2 แห่ง และมีคะแนนผ่าน เกณฑ์ในระดับจังหวัด และสามารถส่งเข้าคัดเลือกในระดับภาคต่อไป 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนและสามารถนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปพัฒนาองค์กร 2) สมาชิกได้รับความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สามารถนำมาปรับใช้ในการดำเนิน ชีวิตในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันได้ การเดินทางสายกลาง การกินอยู่อย่างพอประมาณ 3) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นนำแนวทาง รูปแบบ วิธีการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่ได้รับการคัดเลือกใช้เป็นแบบอย่างในการนำไปประยุกต์และปฏิบัติในการดำเนินงานต่อไป 5. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 1,900 1,900 100


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 56 6. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงครามได้รับอนุมัติแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อดำเนินโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร โดยได้ดำเนินการ ดังนี้ 1) แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้นำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและสมาชิก และให้ดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินกิจกรรมการประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 5 แห่ง ประกอบด้วย (1.1) สหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด (1.2) สหกรณ์การเกษตรนาเกลือสมุทรสงคราม จำกัด (1.3) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบางนกแขวก จำกัด (1.4) สหกรณ์การเกษตรไม้ผลสมุทรสงคราม จำกัด (1.5) สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสมุทรสงคราม จำกัด 2) คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้และ สามารถเป็นแบบอย่างได้ ตามแนวทางโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ที่กองประสานงานโครงการพระราชดำริกำหนด โดยมีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแจ้งความประสงค์เข้า ร่วมโครงการ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสมุทรสงคราม จำกัด 3) รายงานผลการดำเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชดำริกำหนด ผลสัมฤทธิ์/ผลที่ได้รับ เชิงปริมาณ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการจัดทำแผนการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงของสหกรณ์ในระดับ องค์กร, ระดับสมาชิก และสามารถนำแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินงานของสหกรณ์ ในระดับองค์กร และระดับสมาชิกได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านความพอประมาณ ความมี เหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน ความรู้ และคุณธรรม จำนวน 5 แห่ง เชิงคุณภาพ สหกรณ์กลุ่มเป้าหมายนำแผนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินงานได้อย่างโดดเด่น ทำให้มีทุนดำเนินงานเพิ่มขึ้น และในระดับสมาชิกทำให้สมาชิกก็สามารถลดรายจ่าย ให้แก่สมาชิก ซึ่งมีสหกรณ์ที่สามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรอื่นสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ องค์กรได้ จำนวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูสมุทรสงคราม จำกัด โดยส่งผลงานเข้าร่วมประกวดและได้รับ การพิจารณาให้คะแนนตามหลักเกณฑ์ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด โดยได้คะแนนการประเมิน 401 คะแนน จาก 500 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80.20 และได้จัดส่งผลงานของสหกรณ์ฯ เข้ารับการประกวดในระดับเขตต่อไป 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน สหกรณ์ให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการน้อย เนื่องจากมีขั้นตอนในการดำเนินงานค่อยข้างยุ่งยาก ภาพถ่าย


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 57 4) โครงการจัดงาน "7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจำปี 2566" 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ วัตถุประสงค์: 1) เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราช กุมารี ที่ทรงริเริ่มให้จัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน 2) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน 3) เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนสู่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน ทั่วไป ให้เป็นที่แพร่หลาย 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย: ครู ผู้ปกครอง นักเรียนของโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ บุคลากรสำนักงาน สหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ขบวนการสหกรณ์ และผู้สังเกตการณ์ จำนวน 80 คน 3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1) มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามที่กำหนดในโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) มีการดำเนินกิจกรรมด้านความรู้การสหกรณ์ และจัดกิจกรรมประกวดเรียงความเกี่ยวกับสหกรณ์ใน โรงเรียน โรงเรียนร่วมจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการสหกรณ์ 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับ กลุ่มเป้าหมายได้มีส่วนร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์ เกิดการพัฒนาการเรียนการสอน สหกรณ์ในโรงเรียน และยกระดับการสหกรณ์ในโรงเรียนให้เกิดประโยชน์ นักเรียนสามารถนำวิธีการสหกรณ์มา ปรับใช้ในวิถีชีวิตได้ 5. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 20,000 20,000 100 6. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม ร่วมกับขบวนการสหกรณ์ โรงเรียนวัดเทพประสิทธิ์ คณาวาส (ฉ่ำบุญรอดชนุทิศ) ร่วมกันจัดกิจกรรมและจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการสหกรณ์ จัดประกวดเรียงความ กิจกรรมเล่นเกมส์ให้ความรู้ โดยกิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นในวันที่ 7 มิถุนายน 2566 ณ โรงเรียนวัดเทพประสิทธิ์ คณาวาส (ฉ่ำบุญรอดชนุทิศ) ตำบลท่าคา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ในกิจกรรมครั้งนี้ มีผู้มาร่วมงาน ประกอบด้วยครู นักเรียน ตลอดจนผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน รวมทั้งขบวนการสหกรณ์ในจังหวัด สมุทรสงคราม รวมกว่า 250 คน


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 58 ภาพถ่าย วันที่ 7 มิถุนายน 2566 นางทวีสุข เถลิงศักดาเดช สหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นประธานเปิดงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจำปี 2566” ซึ่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงครามจัดขึ้นเนื่องในวัน สหกรณ์ นักเรียน 7 มิถุนายน ที่โรงเรียนวัดเทพประสิทธิ์คณ าวาส (ฉ่ำบุญ รอดชนูทิศ) อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงริเริ่มให้จัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน และส่งเสริม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียนให้แพร่หลายมากยิ่งขึ้น ในกิจกรรมครั้งนี้ มีผู้มาร่วมงาน ประกอบด้วย ครู นักเรียน ตลอดจนผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน รวมทั้งขบวนการสหกรณ์ในจังหวัด สมุทรสงคราม รวมกว่า 250 คน


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 59 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านเศรษฐกิจฐานราก ➢ แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1) โครงการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ วัตถุประสงค์ : 1)ราษฎรผู้ยากไร้และไม่มีที่ดินทำกินในพื้นที่เป้าหมาย ได้รับการจัดที่ดินทำกิน ในลักษณะแปลงรวม โดยรัฐรับรองสิทธิร่วมในการจัดการที่ดินของชุมชน ให้ถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งที่ดินนั้นยังคงเป็นของรัฐ 2) ป้องกันและแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ 3) ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้ราษฎรมีรายได้และมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ทำให้คนกับป่าอยู่ร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ โดยเน้นด้านการอนุรักษ์ควบคู่ไปกับการพัฒนาที่ ยั่งยืน และร่วมกันดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้ที่เหลืออยู่ ฟื้นฟูป่าไม้ที่เสื่อมสภาพให้ความสมบูรณ์กลับคืนมา 4) การใช้ประโยชน์ที่ดินคงไว้ซึ่งสมดุลแห่งระบบนิเวศ เพื่อให้ราษฎรมีความมั่นคงในการใช้ที่ดิน เป็นชุมชนเข้มแข็งที่มีศักยภาพและส่งผลดีต่อประเทศชาติโดยรวม 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลคลองโคน จำนวน 48 ครัวเรือน พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ป่าชายเลนในตำบลคลองโคน อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม 3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัดความสำเร็จ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย และได้รับการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและ การตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่เป้าหมาย การจัดที่ดินทำกินให้ ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) 4. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน - - - 5. ผลการดำเนินงาน สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในส่วนที่เป็นภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงครามยัง ไม่มีความเคลื่อนไหว เนื่องจากการจัดที่ดินสำหรับเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมาย จำนวน 3 แปลง (ปีงบประมาณ 2561 และ 2562) อยู่ระหว่างดำเนินการจัดที่ดินให้กับเกษตรกรของคณะทำงานจัดที่ดิน (คณะที่ 2) โดย สำนักงานที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม โดยสหกรณ์จังหวัด สมุทรสงคราม เป็นเจ้าภาพในฐานะเลขานุการคณะทำงานคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ (คณะที่3) ใน การส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดแก่เกษตรกรเป้าหมาย อันเป็นภารกิจของคณะทำงานส่งเสริมและ พัฒนาอาชีพ (คณะที่ 3) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม จะเข้าดำเนินการในพื้นที่ได้ เมื่อมีการจัดที่ดิน ให้แก่เกษตรกรในชุมชนเป้าหมายของคณะที่ 2 เสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งกรมที่ดินจะแจ้งกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อ กำหนดแผนงานและจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงครามจัดประชุมคณะทำงานฯ และ ดำเนินการอื่นๆ เพื่อรวมกลุ่มและส่งเสริมด้านอาชีพต่อไป


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 60


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 61 สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (จำแนกตามประเภทงบรายจ่าย) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 หน่วย : ล้านบาท งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 1.70 1.99 0.17 0.00 0.00 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ 1.70 1.99 0.17 0.00 0.00


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 62 2.2 ผลการดำเนินงาน/โครงการนอกแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ถ้ามี) 1) การส่งเสริมธรรมาภิบาลในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. ความเป็นมา/วัตถุประสงค์ ตามแผนพัฒนาการสหกรณ์ เพื่อสร้างความเข็มแข็งให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มุ่งเน้นให้ บุคลากรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีความซื่อสัตย์ สุจริต ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความมั่นคง และเข้มแข็งสามารถเป็นที่พึ่งของสมาชิกได้อย่างยั่งยืน การส่งเสริมธรรมาภิบาลเป็นการส่งเสริมให้สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร มีการบริหารจัดการด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส มีความรับผิดชอบ สร้างการมีส่วนร่วมและมีการ ใช้กระบวนการบริหารจัดการ เพื่อให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล คุ้มค่าและ โดยประหยัด ทำให้สหกรณ์สามารถดำเนินงานประสบความสำเร็จ บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมั่นคง เป็นที่ น่าเชื่อถือและเกิดการยอมรับจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 2. เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 24 แห่ง ให้ผ่านเกณฑ์การประเมินของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. แนะนำ ส่งเสริม และติดตามการนำหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในการบริหารจัดการสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร 2. ประเมินผลการใช้ธรรมาภิบาลของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตามเกณฑ์การประเมินของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน 2 ครั้ง คือ ภายในเดือน กุมภาพันธ์ และ กรกฎาคม ของปี 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 24 แห่ง สามารถนำเกณฑ์การประเมินธรรมาภิบาลไปใช้ในการบริหาร จัดการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์เป้าหมายเป็นที่เชื่อถือ ศรัทธาจากสมาชิก และเกิดการยอมรับจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน คณะกรรมการดำเนินงานของสหกรณ์ยังไม่เห็นความจำเป็น และความสำคัญของการนำหลักธรรมาภิบาล มาใช้ในการบริหารจัดการองค์กร จึงทำให้ฝ่ายจัดการไม่กระตือรือร้นในการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานโดยใช้ หลักธรรมาภิบาลเป็นเครื่องมือ แนวทางแก้ไข แนะนำส่งเสริมและให้ความรู้ความเข้าใจแก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อทำให้คณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ และสมาชิกของสหกรณ์ เห็นความสำคัญของการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ใน การบริหารจัดการองค์กร


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 63 2. การควบคุมภายในของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถรักษาและผลักดัน ให้ระดับชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในที่อยู่ระดับที่ดีขึ้น 2. เป้าหมายการดำเนินงาน ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 24 แห่ง 3. ขั้นตอนการดำเนินงาน รวบรวมข้อมูลจากผู้สอบบัญชีสหกรณ์ ในการหาจุดอ่อนและแนวทางแก้ไขของการควบคุมภายในของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และชี้แจง แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีผลการควบคุมภายในอยู่ ในระดับที่ดีขึ้น 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 24 แห่ง ระดับชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระดับ “ดีมาก” จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20.83 ระดับ “ดี” จำนวน 9 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 37.50 ระดับ “พอใช้” จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 41.66 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ คณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถรู้จุดอ่อนและแนวทางแก้ไขเพื่อปรับปรุง คุณภาพการควบคุมภายในของสหกรณ์ 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน คณะกรรมการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่ง ไม่ใส่ใจในการติดตามการแก้ไขจุดอ่อนการควบคุมภายใน แนวทางแก้ไข แนะนำส่งเสริมและให้ความรู้ความเข้าใจแก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อทำให้คณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ และสมาชิกของสหกรณ์ เห็นความสำคัญของคุณภาพการควบคุมภายใน เพื่อ นำไปใช้ในการบริหารจัดการองค์กรต่อไป


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 64 กพส. 2.3 ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ และการบูรณาการ ในระดับพื้นที่ (ถ้ามี) 1) งานส่งเสริมและพัฒนา 1. โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ - เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซุปเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ - เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจระหว่างร้านค้าสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์กลุ่ม เกษตรกรผู้ผลิตสินค้า 2. เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด - ส่งเสริมพัฒนาการดำเนินธุรกิจสหกรณ์ที่มีร้านจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ในรูปแบบ ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 3. พื้นที่ดำเนินงานโครงการ - สหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด ตำบลบางพรม อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม 4. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน - - - 5. ผลการดำเนินการ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงินและร้านค้า จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมโยง เครือข่ายและการสร้างคุณค่าซุปเปอร์มาเก็ตสหกรณ์อย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 2-3 กุมภาพันธ์ 2566 ณ โรงแรม รอยัลซิตี้ ปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสงครามเข้าร่วมประชุมประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัด, ผู้แทน สหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัดจำนวนรวม 2 คน เข้ารับการอบรมหัวข้อ กลยุทธ์การตลาดสมัยใหม่พิชิตใจ ผู้บริโภค , การเชื่อมโยงธุรกิจซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์เพื่อสร้างคุณค่าอย่างยั่งยืน , การจัดการโลจิสติกส์ในระบบ ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 6. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ร้านค้าสหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมการดำเนินธุรกิจมีการ เชื่อมโยงนำสินค้าจากสมาชิกและเครือข่ายสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรมาจำหน่ายเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - ร้านค้าซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ได้รับการพัฒนาความรู้และเพิ่มศักยภาพการดำเนินงาน supermarket สหกรณ์ด้วยการตลาดสมัยใหม่ - สินค้าสหกรณ์จากกระบวนการสหกรณ์ได้รับโอกาสในการขยายช่องทางตลาดผ่าน ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ เกิดเครือข่ายการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนความรู้ในการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 65 ภาพกิจกรรมการอบรมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมโยงเครือข่ายและการสร้างคุณค่า ซุปเปอร์มาเก็ตสหกรณ์อย่างยั่งยืน


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 66 2) กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) 1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการใช้บริการของกองทุนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ให้กับสหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ทั้งสหกรณ์ที่กู้เงินรายเดิมและสหกรณ์ที่กู้เงินรายใหม่ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การให้เงินกู้ กพส. การจัดทำแผนธุรกิจ สหกรณ์ การจัดทำแผนงานหรือโครงการประกอบคำขอกู้ กพส. การจัดทำเอกสารประกอบการขอกู้เงิน กพส. ตามวัตถุประสงค์ของการขอกู้เงินของสหกรณ์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาอุปสรรคต่างๆ ในการดำเนินงาน ของสหกรณ์ 2. เป้าหมาย ผู้เข้าร่วมเชิงปฏิบัติการ ประกอบด้วย ประธานกรรมการ กรรมการ ฝ่ายจัดการของสหกรณ์ เป้าหมาย ข้าราชการ พนักงานราชการ ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม 3. พื้นที่ดำเนินโครงการ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม 4. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 8,820 8,820 100 5. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงครามจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการใช้บริการของ กองทุนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566” โดยมีสหกรณ์ภาคการเกษตร และเจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัด เข้าร่วม โครงการ จำนวน 18 คน 6. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ให้กับสหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ หลักเกณฑ์การให้เงินกู้ กพส. การจัดทำแผนธุรกิจ การ จัดทำแผน/โครงการประกอบคำขอกู้เงิน กพส. การจัดทำเอกสารประกอบคำขอกู้เงิน กพส. จำนวน 18 คน คิดเป็น ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดเงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ และปฏิบัติตามขั้นตอนการขอกู้เงิน กพส. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งสหกรณ์ที่กู้เงินรายเดิมและ สหกรณ์ที่กู้เงินรายใหม่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 67 ภาพกิจกรรม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการใช้บริการของกองทุนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566”


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 68 2. การสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้กู้ยืม “เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์” 1. วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกให้มีเงินทุนในการประกอบอาชีพ และลดต้นทุนการผลิต 2. เป้าหมาย 1. ให้เงินกู้แก่สหกรณ์ โครงการปกติ จำนวน 1 สัญญา วงเงินกู้ 2ล้านบาท 2. ตรวจสอบและเร่งรัดหนี้เงินกู้ สัญญาปี 65 จำนวน 3 สัญญา จำนวนเงิน 4.4 ล้านบาท 3. ผลการดำเนินงาน : 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลความต้องการเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ 2. จัดชั้นลูกหนี้ของสหกรณ์ เสนอกรมส่งเสริมสหกรณ์/แจ้งผลการจัดชั้นให้สหกรณ์ ทราบ 3. ให้คำแนะนำสหกรณ์ในการจัดทำคำขอกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 4. รับคำขอกู้เงินจากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสารประกอบคำขอกู้/วิเคราะห์คำขอกู้ 5. เตรียมเอกสารการประชุม/จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ กพส. ระดับจังหวัด 6. จัดทำรายงานผลการประชุมเสนอผู้มีอำนาจพิจารณาอนุญาต/ไม่อนุญาต 7. แจ้งผลการอนุญาตให้ สหกรณ์ทราบ/รายงานขอเบิกเงินจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ 8. รับหนังสือขอเบิกรับเงินกู้จากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสาร/เบิกจ่ายเงินกู้ให้สหกรณ์ 9. ตรวจสอบสัญญาเงินกู้และหลักประกันเงินกู้/เรียกให้สหกรณ์จัดทำหลักประกันเงินกู้ 10. ตรวจสอบติดตามการใช้เงินกู้ 4.การให้เงินกู้ ประเภทเงินกู้ วัตถุประสงค์ แผนงาน ผลงาน สัญญา ล้านบาท สัญญา ล้านบาท โครงการปกติ เพื่อเป็นทุนให้สมาชิกกู้ 1 2 1 2 5. การติดตามเร่งรัดหนี้สิน แผนงาน ผลงาน สัญญา ล้านบาท สัญญา ล้านบาท 3 4.4 3 4.4 6. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ตามเป้าหมาย จำนวน 1 แห่ง 1 สัญญา ได้รับเงินกู้ รวมวงเงินให้กู้ 2 ล้านบาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ ที่ได้รับเงินกู้ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 มีเงินทุนหมุนเวียนอัตราดอกเบี้ยต่ำ เพื่อ พัฒนาธุรกิจในการให้บริการสมาชิก ทำให้สหกรณ์ และสมาชิกลดต้นทุนการผลิต และมีการใช้เงินกู้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่ขอกู้ของโครงการ


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 69 ภาพกิจกรรมการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้กู้ยืม “เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์”


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 70 3. การติดตามหนี้ค้างชำระเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสร้างระบบการผลิตและ การตลาดเกลือทะเลของสถาบันเกษตรกรด้วยวิธียกระดับราคาให้ยั่งยืนจังหวัดสมุทรสงคราม 1. ความเป็นมาของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้สนับสนุนเงินกู้ยืมจากเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรให้กับ สหกรณ์ที่มีมาตรฐาน ทุกประเภท สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ เช่น เป็นทุนหมุนเวียนให้สมาชิกกู้ยืมจัดหา ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรมาจำหน่าย หรือรวบรวมผลผลิต ในการสร้างรายได้และบริหารจัดการ กลุ่มเกษตรกรให้มีศักยภาพและความเข้มแข็ง ซึ่งสหกรณ์ฯ ที่เข้าร่วมโครงการสร้างระบบการผลิตและการตลาด เกลือทะเลของสถาบันเกษตรกรด้วยวิธีการยกระดับราคาให้ยั่งยืน 3 จังหวัด ได้แก่ สมุทรสาคร 2 แห่ง , เพชรบุรี 1 แห่ง และสมุทรสงคราม 1 แห่ง เข้าร่วมโครงการฯ ระยะเวลาการกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียน รวมไม่เกิน 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2559 ถึงปี พ.ศ. 2563 ต้นเงินจำนวน 6.18 ล้านบาท ปลอดดอกเบี้ย ค่าปรับจากการผิดนัดชำระในอัตรา ร้อยละ 3 ต่อปี นับตั้งแต่วันผิดนัดชำระหนี้ วันครบกำหนดชำระ 30 กันยายน 2563 ซึ่งที่ผ่านมาคณะกรรมการ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีการประชุม ครั้งที่ 2/2564 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2564 มีมติอนุมัติขยายระยะเวลาการส่งชำระหนี้โครงการฯ ออกไปอีก 2 ปี จากเดิมสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2563 เป็นวันที่ 30 กันยายน 2565 ปัจจุบันคณะกรรมการเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ได้มีการประชุม ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 มีมติอนุมัติขยายระยะเวลา การส่งชำระหนี้โครงการฯ ออกไปอีก 2 ปี จากเดิมสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 เป็นวันที่ 30 กันยายน 2567 2. การติดตามหนี้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม โดยกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ได้มีการติดตามหนี้ค้างชำระของสหกรณ์การเกษตรนาเกลือสมุทรสงคราม จำกัด ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 สหกรณ์คงเหลือหนี้ค้างชำระ จำนวน 290,000 บาท ซึ่งได้ขอขยายยะระเวลาการชำระโครงการออกไป เป็นวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์การเกษตรนาเกลือสมุทรสงคราม จำกัด สามารถชำระหนี้โครงการสร้างระบบการผลิต และการตลาดเกลือทะเลฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คงเหลือต้นเงิน จำนวน 290,000 บาท ต่อมาสหกรณ์ฯ สามารถชำระหนี้เสร็จสิ้นทั้งจำนวน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2565 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ โครงการสร้างระบบการผลิตและการตลาดเกลือทะเลฯ สามารถบรรเทาความเดือดร้อน ด้านภาระหนี้สิน และได้รับโอกาสในการฟื้นฟูอาชีพของสมาชิกสหกรณ์ฯ ได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ในฤดูกาลผลิตปี 2564/2565 มีสภาพภูมิอากาศแปรปรวน ประกอบกับเกิดพายุรุนแรง และ น้ำท่วมขังในพื้นที่ทำนาเกลือ ส่งผลให้ผลผลิตเกลือทะเลได้รับความเสียหายเป็นจำนวนมาก ผลผลิตของสมาชิก จำหน่ายได้ ในราคาต่ำกว่าต้นทุน รวมทั้งมีการนำเข้าเกลือจากต่างประเทศ ซึ่งมีสมาชิกบางรายได้กู้ยืมเงินจาก พ่อค้านายทุน ในอัตราดอกเบี้ยที่สูงมาก สมาชิกไม่สามารถชำระหนี้ต่อสหกรณ์ได้ ส่งผลให้สหกรณ์ไม่สามารถ ชำระหนี้คืนเงินกู้ให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 71 แนวทางแก้ไข แนวทางแก้ไขที่ชัดเจนและมีความเป็นไปได้ ซึ่งคณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์ ได้กำหนด แนวทางการแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ โดยมุ่งเน้นในธุรกิจสินเชื่อเป็นอันดับแรก และมีการกำหนดแผนงานการ ดำเนินงานในธุรกิจอื่นไว้ด้วย โดยกำหนดเป็นแผนพัฒนาสหกรณ์ ประจำปี 2565 – 2566 ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่าง การดำเนินงานตามแผนดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง 4. วงเงินกู้ยืมเงินหรือการค้ำประกันประจำปี 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร การกู้ยืมเงินหรือการค้ำประกัน ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จะต้องจำกัดอยู่ภายในวงเงินที่นายทะเบียนเห็นชอบ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินโครงการ ตามจำนวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดสมุทรสงคราม ได้จัดทำเอกสารเพื่อให้นาย ทะเบียนเห็นชอบในการกำหนดวงเงินกู้ยืมหรือค้ำประกัน 2. ผลการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ จำนวน 23 สหกรณ์ 2. กลุ่มเกษตรกรได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัด จำนวน 1 แห่ง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 24 แห่ง ขอความเห็นชอบในการ กำหนดวงเงินกู้ยืมหรือค้ำประกัน จำนวน 24 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ สามารถจัดทำเอกสารหลักฐานในการขอความเห็นชอบใน การกำหนดวงเงินกู้ยืมหรือค้ำประกันได้ถูกต้องเป็นไปตามแบบฟอร์มที่กำหนด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทำเอกสารประกอบไม่ถูกต้องครบถ้วน ทำให้ต้องติดตามให้แก้ไข เอกสาร ก่อให้เกิดความล่าช้า แนวทางแก้ไข แนะนำส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยให้ความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติให้ถูกต้องและ เป็นไปตามแบบฟอร์มการจัดทำเอกสารการกู้ยืมเงินหรือการค้ำประกัน


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 72 ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 73 3.1 กิจกรรมของหน่วยงาน ทุกกลุ่มงาน/ฝ่าย 1) กิจกรรม “วันสหกรณ์แห่งชาติ ประจำปี 2566 จังหวัดสมุทรสงคราม” 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ วัตถุประสงค์: 1) เพื่อเป็นการรำลึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ “พระบิดา แห่งการสหกรณ์ไทย” 2) เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์ในจังหวัดสมุทรสงครามได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมอันเป็น สาธารณประโยชน์ 3) เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์ แสดงพลังความเป็นเอกภาพและความสามัคคีของ ขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดสมุทรสงคราม 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย : 1) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ และผู้สังเกตการณ์ พื้นที่ดำเนินงาน : หอประชุมพิพัฒน์มงคล องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม 3. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน - - - 4. ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงครามได้รับอนุมัติแผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจ่ายประจำปี ให้ดำเนินโครงการวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจำปี 2566 เนื่องในโอกาสวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ของทุกปี คณะรัฐมนตรีกำหนดให้เป็น “วันสหกรณ์แห่งชาติ” ขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดสมุทรสงคราม จึงได้ร่วมกันจัดงาน “วันสหกรณ์แห่งชาติ ประจำปี 2566 จังหวัดสมุทรสงคราม” ขึ้น เพื่อถวายสักการะและรำลึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่น พิทยาลงกรณ์“พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย” เพื่อส่งเสริมสมาชิกสหกรณ์ให้ตระหนักถึงคุณค่าและศรัทธาใน ระบบสหกรณ์ ตลอดจนเพื่อประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดสมุทรสงครามให้ สาธารณชนได้ทราบโดยทั่วกัน โดยมีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้ 1) จัดประชุมร่วมกับขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อเตรียมจัดงานวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจำปี 2566 จังหวัดสมุทรสงคราม พร้อมกำหนดกิจกรรมในการจัดงาน 2) จัดทำโครงการฯ กำหนดการจัดงาน และทำหนังสือขออนุมัติโครงการฯ เพื่อเสนอผู้ว่าราชการ จังหวัดสมุทรสงคราม 3) ทำหนังสือเชิญขบวนการสหกรณ์ และหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดสมุทรสงคราม และหน่วย ราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าร่วมเป็นเกียรติในงานฯ 4) เตรียมความพร้อมการจัดงานตามแผนงาน เพื่อให้เป็นไปตามกำหนดการจัดงานฯ


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 74 5) ดำเนินการจัดงานตามแผนงานและกำหนดการที่กำหนดไว้ โดยกิจกรรมในงานประกอบด้วย 5.1) วางพานพุ่มสักการะ “พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย” 5.2) การมอบเงินบริจาคสนับสนุนการดำเนินงานตามภารกิจของโรงพยาบาล จำนวน 3 แห่ง แห่งละ 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท ได้แก่ 1) โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อำเภอเมือง 2) โรงพยาบาลอัมพวา อำเภออัมพวา 3) โรงพยาบาลนภาลัย อำเภอบางคนที 5.3) พิธีกรรมทางศาสนา 5. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ มีสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขบวนการสหกรณ์ ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ และผู้สังเกตการณ์เข้าร่วมงาน จำนวน 156 คน เชิงคุณภาพ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้ตระหนักถึงคุณค่าและศรัทธาในระบบสหกรณ์ 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้ถวายสักการะและรำลึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระราชวรวงศ์ เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์“พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย” ภาพถ่าย


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 75 ภาพกิจกรรมวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจำปี 2566 จังหวัดสมุทรสงคราม


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 76 2) การส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ การจำหน่ายสินค้าของสถาบันเกษตรกร ประจำปี งบประมาณ 2566 1. วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย / พื้นที่ดำเนินงาน วัตถุประสงค์ - เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ การจำหน่ายสินค้าของสถาบันเกษตรกร - เพื่อส่งเสริมการดำเนินธุรกิจระหว่างสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสินค้า เป้าหมาย - เครือข่ายสหกรณ์ได้รับการสนับสนุนการประชาสัมพันธ์สินค้า และสามารถจำหน่ายสินค้าไปยัง หน่วยงานราชการ , องค์กรเอกชน , ประชาชนทั่วไป พื้นที่ดำเนินงานโครงการ - จังหวัดสมุทรสงคราม 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน - - - 3. ผลการดำเนินการ 3.1 สหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด , สหกรณ์การเกษตรอัมพวา จำกัด ประชาสัมพันธ์สินค้า จากเครือข่ายสหกรณ์ไปยังหน่วยงานราชการ , องค์กรเอกชน , ประชาชนทั่วไป 3.2 สหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด , สหกรณ์การเกษตรอัมพวา จำกัด สามารถจำหน่ายสินค้า การเกษตร มังคุด , ลำไย ไปยังหน่วยงานราชการ , องค์กรเอกชน , ประชาชนทั่วไปได้ 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด , สหกรณ์การเกษตรอัมพวา จำกัด สามารถจำหน่ายสินค้า การเกษตร มังคุด , ลำไย ไปยังหน่วยงานราชการ , องค์กรเอกชน , ประชาชนทั่วไปได้ - กระจายลำไย พันธุ์อีดอ ขนาดบรรจุ 3 กิโลกรัม/ตะกร้า จากสหกรณ์การเกษตรจอมทอง จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ ให้กับขบวนการสหกรณ์ ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานราชการในจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ปลูกลำไยในจังหวัดภาคเหนือ จำนวน 1,200 กิโลกรัม - กระจายผลผลิตมังคุดในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขนาดบรรจุ 10 กิโลกรัม/ตะกร้า ให้กับขบวนการสหกรณ์ ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานราชการในจังหวัด สมุทรสงคราม เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร จำนวน 2,200 กิโลกรัม (220 ตะกร้า) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด , สหกรณ์การเกษตรอัมพวา จำกัด สามรรถประชาสัมพันธ์ สินค้าจากเครือข่ายสหกรณ์ไปยังหน่วยงานราชการ , องค์กรเอกชน , ประชาชนทั่วไป ในจังหวัดสมุทรสงคราม - สินค้าสหกรณ์จากขบวนการสหกรณ์ได้รับโอกาสในการขยายช่องทางตลาดผ่านเครือข่ายการ เชื่อมโยง เพิ่มช่องทางการตลาดได้มากขึ้น


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 77 ทุกกลุ่มงาน/ฝ่าย ภาพกิจกรรมการส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ การจำหน่ายสินค้าของสถาบันเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ 2566 การกระจายลำไย พันธุ์อีดอ การกระจายมังคุด


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 78 3.2 กิจกรรมที่หน่วยงานดำเนินการร่วมกับหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่ 1. กิจกรรมบูรณาการร่วมกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 79


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 80


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 81


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 82


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 83 ร่วมกิจกรรมของจังหวัดสมุทรสงคราม ประจำปี 2566 ออกหน่วยเคลื่อนที่ “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน” การออกหน่วยเคลื่อนที่ดังกล่าว เป็นกิจกรรมที่บูรณาการร่วมกับกระทรวงมหาดไทยเพื่อให้คำปรึกษา และแก้ปัญหาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนในจังหวัดสมุทรสงคราม การจัดกิจกรรมดังกล่าวจัดทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง โดยสำนักงานสหกรณ์สมุทรสงครามร่วมออกหน่วยเคลื่อนที่เพื่อให้ความรู้ด้านการสหกรณ์ และนำเมล็ดพันธุ์ผักสวนครัวไปแจกให้แก่ประชาชนที่มาร่วมงาน เพื่อนำไปปลูกสำหรับประกอบอาหาร รับประทาน เพื่อลดค่าใช้จ่าย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 84 ร่วมกิจกรรมของจังหวัดสมุทรสงคราม ประจำปี 2566 กิจกรรมชูธรรมนำชีวิต


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 85 ร่วมกิจกรรมของจังหวัดสมุทรสงคราม ประจำปี 2566


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 86 ร่วมกิจกรรมของจังหวัดสมุทรสงคราม ประจำปี 2566


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 87 ร่วมกิจกรรมของจังหวัดสมุทรสงคราม ประจำปี 2566


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 88 3.3 รางวัลที่หน่วยงานได้รับจากหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ (ถ้ามี) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม ได้รับการประเมินกองค์กรระดับคุณธรรม ตามโครงการส่งเสริม ชุมชน องค์กร ชุมชน และจังหวัดคุณธรรม ภายใต้แผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2559 – 2565) ให้ไว้ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์2566


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 89 ส่วนที่ 4 รายงานทางการเงิน


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 90 4.1 งบแสดงฐานะการเงิน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ และ พ.ศ. ๒๕๖๕ หมายเหตุ ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๕ สินทรัพย์ บาท สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ๔ ๑๑๔,๙๐๕.๒๒ ๕๘,๑๖๘.๓๐ ลูกหนี้เงินยืมราชการ - - วัสดุคงเหลือ - - รายได้งบประมาณค้างรับ - - เงินรายได้แผ่นดินนำส่งคลัง - - รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ๑๑๔,๙๐๕.๒๒ ๕๘,๑๖๘.๓๐ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ๕ อาคารและสิ่งก่อสร้าง (สุทธิ) ๑,๖๖๓,๖๕๖.๘๘ ๑,๙๓๐,๙๒๒.๔๑ ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ (สุทธิ) ๔๙๖,๘๙๖.๒๗ ๖๙๖,๓๒๕.๒๕ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ๒,๑๖๐,๕๕๓.๑๕ ๒,๖๒๗,๒๔๗.๖๖ รวมสินทรัพย์ ๒,๒๗๕,๔๕๘.๓๗ ๒,๖๘๕,๔๑๕.๙๖ หนี้สินและทุน หนี้สินหมุนเวียน ใบสำคัญค้างจ่าย ๕๓,๘๐๐.๐๐ - เจ้าหนี้ - - สาธารณูปโภคค้างจ่าย ๒๐,๒๔๑.๓๒ ๓,๖๐๓.๖๐ รวมหนี้สินหมุนเวียน ๗๔,๐๔๑.๓๒ ๓,๖๐๓.๖๐ หนี้สินไม่หมุนเวียน รายได้รอรับรู้ - - เงินทดรองราชการรับจากคลัง - - เงินรับฝากและเงินค้ำประกัน ๖๑,๓๑๘.๓๐ ๕๘,๑๖๘.๓๐ รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน ๖๑,๓๑๘.๓๐ ๕๘,๑๖๘.๓๐ รวมหนี้สิน ๑๓๕,๓๕๙.๖๒ ๖๑,๗๗๑.๙๐ ทุน (๔๖๘,๖๖๔.๐๑) (๔๖๘,๖๖๔.๐๑) รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม ๓,๓๒๕,๐๗๓.๐๗ ๓,๖๖๔,๙๕๐.๖๓ รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่าย (๗๑๖,๓๑๐.๓๑) (๕๗๒,๖๔๒.๕๖) รวมทุนดำเนินงาน ๒,๐๘๐,๐๙๘.๗๕ ๒,๖๒๓,๖๔๔.๐๖ รวมหนี้สินและทุน ๒,๒๗๕,๔๕๘.๓๗ ๒,๖๘๕,๔๑๕.๙๖


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 91 4.2 งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ และ พ.ศ. ๒๕๖๕ หมายเหตุ ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๕ รายได้จากการดำเนินงาน รายได้จากรัฐบาล : รายได้จากเงินงบประมาณ ๖ ๓,๙๙๙,๗๒๔.๗๕ ๔,๒๑๑,๗๒๔.๑๔ รายได้จากเงินนอกงบประมาณ ๘๔,๒๑๐.๐๐ ๑๔๙,๑๒๒.๑๖ รวมรายได้จากรัฐบาล ๔,๐๘๓,๙๓๔.๗๕ ๔,๓๖๐,๘๔๖.๓๐ รายได้จากแหล่งอื่น รายได้จากการรับบริจาค - - รายได้ระหว่างกัน - - รวมรายได้จากแหล่งอื่น - - รวมรายได้จากการดำเนินงาน ๔,๐๘๓,๙๓๔.๗๕ ๔,๓๖๐,๘๔๖.๓๐ ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร ๗ ๒,๓๔๙,๓๔๑.๘๓ ๒,๓๒๓,๔๐๔.๐๐ ค่าใช้จ่ายงบกลาง ๗๖,๖๕๖.๐๐ ๑๖๒,๔๙๘.๑๖ ค่าใช้จ่ายงบดำเนินงาน ๘ ๑,๕๑๗,๔๑๒.๗๒ ๑,๕๒๘,๕๔๒.๙๖ ค่าใช้จ่ายงบอุดหนุน - - ค่าใช้เสื่อมราคา ๘๗๓,๔๕๙.๕๑ ๙๑๙,๐๔๓.๗๔ รวมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ๔,๘๑๖,๘๗๐.๐๖ ๔,๙๓๓,๔๘๘.๘๖ รายได้สูงกว่า (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน (๗๑๖,๓๑๐.๓๑) (๕๗๒,๖๔๒.๕๖) รายการพิเศษ - - รายได้สูงกว่า (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ (๗๑๖,๓๑๐.๓๑) (๕๗๒,๖๔๒.๕๖)


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 92 4.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี สิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๔ และ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑. ความเป็นมา สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม ตั้งอยู่เลขที่ ๑๘/๑ ซอยบางประจัน ถนนเอกชัย ตำบลแม่กลอง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ๒. สรุปนโยบายบัญชี - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม บันทึกบัญชีโดยใช้เกณฑ์คงค้าง - หน่วยงานที่เสนอรายงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม มีหน่วยงานประกอบไปด้วย ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ มีองค์ประกอบในการจัดทำรายงานการเงิน ของสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดสมุทรสงคราม - อาคารและอุปกรณ์ได้ดำเนินการนำมูลค่าสินทรัพย์มาตั้งยอดบัญชี - ระยะเวลาบัญชีเท่ากับ ๑๒ เดือน ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๓-๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ ๓. ผลผลิตของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริม และพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้เข้มแข็ง ทันต่อ การเปลี่ยนแปลง” ๔. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๕ เงินสด - - เงินทดรองราชการ - - เงินฝากธนาคาร - - เงินฝากธนาคาร-ในงบประมาณ ๕๓,๕๘๖.๙๒ - เงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณ - - เงินฝากคลัง ๖๑,๓๑๘.๓๐ ๕๘,๑๖๘.๓๐ เงินประกันสัญญา รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ๑๑๔,๙๐๕.๒๒ ๕๘,๑๖๘.๓๐ ๕. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๕ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ๘,๐๘๘,๘๘๘.๐๐ ๗,๓๒๘,๘๘๘.๐๐ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร ๖,๔๒๕,๒๓๑.๑๒ ๕,๓๙๗,๙๖๕.๕๙ รวมอาคาร (สุทธิ) ๑,๖๖๓,๖๕๖.๘๘ ๑,๙๓๐,๙๒๒.๔๑


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 93 ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๕ ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ ๕,๖๐๗,๙๕๒.๔๘ ๔,๙๘๙,๗๔๒.๔๘ หักค่าเสื่อมราคาสะสม-ครุภัณฑ์สำนักงาน ๕,๑๑๑,๐๕๖.๒๑ ๔,๒๙๓,๔๑๗.๒๓ รวมครุภัณฑ์และอุปกรณ์(สุทธิ) ๔๙๖,๘๙๖.๒๗ ๖๙๖,๓๒๕.๒๕ ๖.รายได้จากเงินงบประมาณ ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๕ งบบุคลากร ๑,๗๓๐,๑๖๐.๐๐ ๑,๖๖๓,๖๘๐.๐๐ งบดำเนินงาน ๑,๙๙๕,๙๔๕.๗๕ ๒,๑๗๙,๒๔๘.๑๔ งบลงทุน ๑๗๔,๐๐๐.๐๐ ๒๔๘,๐๐๐.๐๐ งบอุดหนุน - - งบกลาง ๑๖๘,๒๒๙.๐๐ ๒๖๙,๙๑๘.๑๖ รวมรายได้จากเงินงบประมาณ ๔,๐๘๓,๙๓๔.๗๕ ๔,๓๖๐,๘๔๖.๓๐ ๗. ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๕ ค่าตอบแทนพนักงานราชการ ๑,๗๓๐,๑๖๐.๐๐ ๑,๖๖๓,๖๘๐.๐๐ เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ - - ค่าจ้างชั่วคราว - - รวมค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ๑,๗๓๐,๑๖๐.๐๐ ๑,๖๖๓,๖๘๐.๐๐ ๘. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๕ ค่าตอบแทน ๓๔๐,๒๖๖.๕๐ ๒๓๓,๒๐๒.๔๔ ค่าสาธารณูปโภค ๒๑๙,๗๐๐.๔๒ ๑๙๘,๖๐๕.๔๗ ค่าวัสดุ ๑๐๑,๙๗๓.๐๐ ๑๓๖,๕๑๑.๓๐ ค่าใช้สอย ๑,๖๐๓,๔๘๒.๖๓ ๕๖๘,๓๑๙.๒๑ รวมค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ๒,๒๖๕,๔๒๒.๕๕ ๒,๒๓๑,๙๙๙.๒๑


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 94 ส่วนที่ 5 บรรณานุกรม


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 95 รายงานผลการแนะนำส่งเสริม พัฒนาและกำกับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์, สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม. รายงานผลการแนะนำส่งเสริม พัฒนาและกำกับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์, สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม. รายงานผลการแนะนำส่งเสริม พัฒนาและกำกับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์, สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม. รายงานผลการแนะนำส่งเสริม พัฒนาและกำกับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กลุ่มตรวจการสหกรณ์, สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม, 2566. ฝ่ายบริหารทั่วไป, สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม, 2566; ข้อมูลทางการเงิน 2566. รายงานประจำปีสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส. สมุทรสงคราม จำกัด ปี 256 6, สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส. สมุทรสงคราม จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์การเกษตรนาเกลือสมุทรสงคราม จำกัด ปี 256 6, สหกรณ์การเกษตร นาเกลือสมุทรสงคราม จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์การเกษตรอัมพวา จำกัด ปี 2566, สหกรณ์การเกษตรอัมพวาจำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์การเกษตรผสมผสานแพรกหนามแดง จำกัด ปี 2566, สหกรณ์การเกษตร ผสมผสานแพรกหนามแดงจำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์การเกษตรไม้ผลสมุทรสงคราม จำกัด ปี 2566, สหกรณ์การเกษตรไม้ผล สมุทรสงคราม จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์การเกษตรบางคนที จำกัด ปี 2566, สหกรณ์การเกษตรบางคนทีจำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์การเกษตรนาเกลือบางแก้ว จำกัด ปี 2566, สหกรณ์การเกษตรนาเกลือ บางแก้ว จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์ออมทรัพย์ครูสมุทรสงคราม จำกัด ปี 2566, สหกรณ์ออมทรัพย์ครู สมุทรสงคราม จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม จำกัด ปี 2566, สหกรณ์ ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสมุทรสงครามจำกัด ปี 2566 สหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าจำกัด ปี 2566, สหกรณ์ ออมทรัพย์โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์ออมทรัพย์ก้าวหน้า จำกัด ปี 2566, สหกรณ์ออมทรัพย์ก้าวหน้า จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์เครดิตยูเนียนแม่กลอง จำกัด ปี 2566, สหกรณ์เครดิตยูเนียนแม่กลอง จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์เครดิตยูเนียนบางนกแขวก จำกัด ปี 2566, สหกรณ์เครดิตยูเนียน บางนกแขวก จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์ประมงแม่กลอง จำกัด 2566, สหกรณ์ประมงแม่กลอง จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์ประมงบางจะเกร็ง-บางแก้ว จำกัด ปี 2566,สหกรณ์ประมงบางจะเกร็งบางแก้ว จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์ผู้เลี้ยงปลาสลิดแพรกหนาม แดง จำกัด ปี 2566, สหกรณ์ผู้เลี้ยง ปลาสลิดแพรกหนามแดง จำกัด.


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 96 รายงานประจำปีสหกรณ์เดินรถแม่กลอง จำกัด ปี 2566, สหกรณ์เดินรถแม่กลอง จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์เคหสถานบ้านโรงกุ้งมั่งคง จำกัด ปี 2566,สหกรณ์เคหสถานบ้านโรงกุ้งมั่งคง จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์เคหสถานป้อมแก้วมั่งคง จำกัด ปี 2566,สหกรณ์เคหสถานป้อมแก้วมั่งคง จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์เคหสถานปู่ศรีราชายี่สาร จำกัด ปี 2566,สหกรณ์เคหสถานปู่ศรีราชายี่สาร จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์เคหสถานเจริญมั่งมีมั่นคง จำกัด ปี 2566,สหกรณ์เคหสถานเจริญมั่งมีมั่นคง จำกัด. รายงานประจำปีสหกรณ์เคหสถานสวนหลวงมั่นคงดำรงบุญ จำกัด ปี 2566,สหกรณ์เคหสถานสวนหลวง มั่นคงดำรงบุญ จำกัด. รายงานประจำปีกลุ่มเกษตรกรทำสวนคลองเขิน ปี 2566,กลุ่มเกษตรกรทำสวนคลองเขิน.


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 97


รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ. 2566 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หน้า 98 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม 18/1 ซอยบางประจัน ถนนเอกชัย ตำยลแม่กลอง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 โทร./โทรสาร 0 3471 2747 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม


Click to View FlipBook Version