ค ำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน ค ๑๓๑๐๑ คณิตศำสตร์ ๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง ศึกษาฝึกทักษะการคิดคํานวณ และฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ การใช้จํานวนแสดงปริมาณที่ได้จากการนับการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข แสดงจํานวน ในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและการเรียงลําดับจํานวน การบวก การลบ การคูณ การหารสั้น การหารยาวและ การบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับ และโจทย์ปัญหา การใช้เศษส่วน แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ที่ตัวเศษ น้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน การอ่านและการเขียนเศษส่วน การเปรียบเทียบและเรียงลําดับเศษส่วน การบวก การ ลบเศษส่วน และโจทย์ปัญหา แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน การใช้เงินแสดงจํานวนเงินบอกจํานวนเงินเขียนแสดงจํานวนเงินแบบใช้จุดเปรียบเทียบจํานวน เงินและ การแลกเงิน การอ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย และโจทย์ปัญหา การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การอ่านเวลา การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรือ ทวิภาค (2) การบอกระยะเวลา การเปรียบเทียบระยะเวลา การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา และโจทย์ปัญหา การวัดความยาว การเลือกเครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร และเป็น เซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาว และโจทย์ปัญหา การวัดน้ําหนัก การเลือกใช้เครื่องชั่ง ที่เหมาะสม การ คาดคะเนน้ําหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด การเปรียบเทียบน้ําหนัก และโจทย์ปัญหา การวัดปริมาตรและความจุ การเลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ และโจทย์ปัญหา การจําแนกรูปที่มีแกนสมมาตรและรูปที่ไม่มีแกนสมมาตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและ จํานวนแกนสมมาตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจําแนกข้อมูล การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและการเขียน ตารางทางเดียว การใช้แผนภูมิรูปภาพและตารางทางเดียวในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา การจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงานเพื่อพัฒนาทักษะการคิดคํานวณและทักษะการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสารและการสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจําวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถ ทํางานอย่างเป็นระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบมีวิจารณญาณและเชื่อมั่นในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ รวม ๒๘ ตัวชี้วัด
โครงสร้ำงรำยวิชำพื้นฐำน ค ๑๓๑๐๑ คณิตศำสตร์ ๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร เรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชม.) น้ ำหนัก คะแนน ๑ จํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ ค 1.1 ป.3/1 ป.๓/๒ จ ำนวนนับที่ไม่เกิน 100,000 สำมำรถเขียนและอ่ำนตัวเลขฮินดู อำรบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ กำรเขียน จ ำนวนในรูปกระจำย ซึ่งเป็นกำรเขียน ตำมค่ำของเลขโดดในแต่ละหลัก เปรียบเทียบจ ำนวนที่เท่ำกันหรือไม่ เท่ำกัน มำกกว่ำหรือน้อยกว่ำ โดยใช้ เครื่องหมำย = ≠ > < และเรียงล ำดับ จ ำนวนจำกน้อยไปมำกหรือจำกมำกไป น้อย ๑๒ ๕ ๒ การบวกและการ ลบจํานวนนับไม่ เกิน ๑๐๐,๐๐๐ ค 1.1 ป.3/๕ ป.๓/๙ การบวกจํานวนที่มีผลบวกไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และการลบจํานวนที่มีตัว ตั้งไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ มีวิธีการที่ หลากหลายและใช้ทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ในการหาคําตอบและ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของ คําตอบ ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาการ บวกและการลบต้องวิเคราะห์โจทย์ และแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบ รวมทั้ง ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของ คําตอบ การหาตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและ การลบ สามารถใช้ความสัมพันธ์ของ การบวกและการลบมาช่วยในการหา คําตอบ ๑๙ ๕
หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร เรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชม.) น้ ำหนัก คะแนน ๓ เวลา ค 2.1 ป.3/1 การบอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกาจะบอก เป็นนาฬิกากับนาที และสามารถบอก ระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที ซึ่งนํามา เปรียบเทียบได้ส่วนการเขียนและการ อ่านเวลาสามารถใช้มหัพภาค (.) และ ทวิภาค (:)ซึ่งนําไปใช้ในการอ่านและ เขียนบันทึกกิจกรรมทีระบุได้ การ แก้ปัญหาเกี่ยวกับเวลาเป็นการนําเวลา ในหน่วยเดียวกันมาบวก ลบ คูณ หาร กัน ๑๕ ๕ ๔ รูปเรขาคณิต ค ๒.๒ ป.๓/๑ เมื่อพับกระดาษรูปเรขาคณิตสองมิติ ตามแนวเส้นประแล้ว ทั้งสองส่วนทับ กันสนิทพอดี เรียกรอยพับนี้ว่า แกน สมมาตร และเรียกรูปเรขาคณิตสอง มิติที่มีแกนสมมาตรว่า รูปสมมาตร ซึ่งรูปเรขาคณิตสองมิติบางรูปมีแกน สมมาตรมากกว่า ๑ แกน ๑๐ ๕ ๕ แผนภูมิรูปภาพและ ตารางทางเดียว ค ๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ การเก็บรวบรวมข้อมูลและจําแนก ข้อมูล มีวิธีการที่หลากหลายและใช้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การหาคําตอบและตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคําตอบโดยต้อง เลือกใช้ให้เหมาะสม ส่วนการนําเสนอ ข้อมูลสามารถใช้ตารางทางเดียว และ แผนภูมิรูปภาพได้ ๑๒ ๕
หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร เรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชม.) น้ ำหนัก คะแนน ๖ เศษส่วน ค 1.1 ป.3/3 ป.3/๔ ป.3/๑๐ ป.3/๑๑ การบอก อ่าน และเขียนเศษส่วนที่มี ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน สามารถเรียงลําดับเศษส่วนได้โดยการ เปรียบเทียบเศษส่วน ส่วนการแก้โจทย์ ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน ต้อง วิเคราะห์โจทย์ และแสดงวิธีทําเพื่อหา คําตอบ รวมทั้งตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคําตอบ ๑๓ ๕ ๗ การคูณ ค 1.1 ป.3/๖ ป.3/๙ หลักในการคูณจํานวนไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ คือให้คูณจํานวนในหลัก หน่วยของตัวตั้งก่อน แล้วจึงคูณใน หลักถัดไปทางซ้ายมือของหลักหน่วย ตามลําดับ หรือจากหลักทางขวามือไป ทางซ้ายมือทีละหลัก หากมีทด ให้ทด ไปยังหลักถัดไปทางซ้ายมือการสร้าง โจทย์ปัญหาการคูณจะประกอบไปด้วย สองส่วนคือ ส่วนที่โจทย์กําหนดให้และ ส่วนที่โจทย์ถาม การแก้โจทย์ปัญหา การคูณมีขั้นตอนสําคัญคือ ทําความ เข้าใจ และวิเคราะห์โจทย์ปัญหา วางแผนในการแก้โจทย์ปัญหา แก้ปัญหา และตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคําตอบ ๑๖ ๕ ๘ การหาร ค 1.1 ป.3/๗ ป.3/๙ การหารยาวและการหารสั้นเป็นการตั้ง หารโดยนําตัวหารไปหารตัวตั้งทีละ หลัก เริ่มหารจากหลักทางซ้ายมือก่อน แล้วจึงหารในหลักถัดไปทางขวามือ ซึ่ง ในการหารลงตัวจะมีเศษของการหาร ๑๗ ๕
หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร เรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชม.) น้ ำหนัก คะแนน ลงตัวจะมีเศษของการหารเป็น ๐ และ ในการหารไม่ลงตัวจะมีเศษของการ หารมากกว่า ๐ ซึ่งผลคูณของสอง จํานวนใด ๆ เมื่อหารด้วยจํานวนใด จํานวนหนึ่งในสองจํานวนนั้น จะได้ ผลหารเท่ากับอีกจํานวนหนึ่งเสมอ โจทย์ปัญหาการหารจะประกอบไป ด้วยสองส่วนคือ ส่วนที่โจทย์กําหนดให้ และส่วนที่โจทย์ถาม การตรวจสอบ ความสมเหตุสมผลของคําตอบสามารถ ทําได้โดยนําคําตอบที่ได้มาคูณกับ ตัวหาร ซึ่งคําตอบต้องได้เท่ากับตัวตั้ง ๙ การวัดความยาว ค ๒.๑ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ กิโลเมตร เมตร เซนติเมตร และ มิลลิเมตร เป็นหน่วยมาตรฐานที่ใช้ บอกความยาว ความสูง และระยะทาง ซึ่ง ๑ เซนติเมตร จะเท่ากับ ๑๐ มิลลิเมตร ๑ เมตรจะเท่ากับ ๑๐๐ เซนติเมตร และ ๑ กิโลเมตร จะ เท่ากับ ๑,๐๐๐ เมตร การวัดความยาว ของสิ่งของควรเลือกเครื่องวัดความ ยาวให้เหมาะสมและวัดให้ถูกวิธีโดยใช้ เมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร เป็น หน่วยมาตรฐานในการวัดความยาว และการคาดคะเนความยาว เป็นการ ใช้สายตาประมาณความยาวของสิ่ง ต่าง ๆ ๑๕ ๕
หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร เรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชม.) น้ ำหนัก คะแนน วิธีการตรวจสอบว่าการคาดคะเน ถูกต้องมากน้อยเพียงใด ทําได้โดยการ วัดความยาวจริงของสิ่งที่คาดคะเนไว้ แล้วเปรียบเทียบความยาวที่คาดคะเน ด้วยสายตาว่ามีความคลาดเคลื่อน เท่าไร ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ การวัด ความยาวต้องวิเคราะห์โจทย์ และแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบ รวมทั้ง ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของ คําตอบ ๑๐ กำรวัดน ำหนัก ค ๒.๑ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ การวัดน้ําหนักโดยใช้หน่วยมาตรฐาน จะ บอกน้ําหนักเป็นขีด กรัม กิโลกรัม ซึ่ง สามารถนําน้ําหนักของสิ่งต่าง ๆ มา เปรียบเทียบกันได้โดยใช้ความสัมพันธ์ ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับ กิโลกรัม สามารถหาค่าของน้ําหนักได้ จากการเลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการวัด น้ําหนักสามารถทําได้หลายวิธีแต่ควร เลือกวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม ๑๕ ๕ ๑๑ กำรวัดปริมำตร ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ ป.๓/๑๒ ป.๓/๑๔ การวัดปริมาตรและความจุเน้นลิตรและ มิลลิลิตรจะบอกปริมาตรและความจุ ซึ่ง สามารถนําปริมาตรหรือความจุในหน่วย เดียวกันมาเปรียบเทียบกันได้ และ สามารถคาดคะเนปริมาตรและความจุได้ ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ปริมาตรและความจุสามารถทําได้หลาย ๑๖ ๖
หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร เรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชม.) น้ ำหนัก คะแนน วิธี แต่สำมำรถเลือกวิธีกำรแก้ปัญหำที่ เหมำะสม ๑๒ เงินและบันทึก รำยรับรำยจ่ำย ค ๒.๑ ป.๓/๑ เงินเหรียญและธนบัตรแต่ละชนิดมีค่า แตกต่างกันสามารถนํามาเปรียบเทียบ กันได้ ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ เงิน ต้องวิเคราะห์โจทย์ และแสดงวิธี ทําเพื่อหาคําตอบรวมทั้งตรวจสอบ ความสมเหตุสมผลของคําตอบ ๑๘ ๖ ๑๓ การบวก ลบ คูณ หารระคน ค ๒.๑ ป.๓/๘ ป.๓/๙ การบวก ลบ คูณ หารระคน มีวิธีการที่ หลากหลายและใช้กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ในการหาคําตอบและ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคําตอบ ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ต้องวิเคราะห์โจทย์ และ แสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบรวมทั้ง ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคําตอบ ๑๓ ๖ กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : เพนโทมิโนและอยากค้าอยากขายสินค้ามือสอง ๗ - ระหว่างปี ๑๙๘ ๗๐ ปลายปี ๒ ๓๐ รวม ๒๐๐ ๑๐๐