The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปแบบการนำเสนอ
น.ส.สิริยากรณ์ ถาชุม ลข.ส. 1/1 005

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สิริยากรณ์ ถาชุม, 2019-10-31 02:49:26

รูปแบบการนำเสนอ

รูปแบบการนำเสนอ
น.ส.สิริยากรณ์ ถาชุม ลข.ส. 1/1 005

รูปแบบการนำเสนอ

การนำเสนอเปน็ กระบวนการสอ่ื สารหรอื วิธีการใชเ้ คร่อื งมอื ถ่ายทอดขอ้ มูลข่าวสาร เพื่อใหผ้ ู้รับการ
นำเสนอได้เขา้ ใจ เหน็ ด้วย ใหก้ ารสนบั สนนุ และอนุมตั อิ ย่างมีระบบ ลักษณะของการนำเสนอยงั เป็นทง้ั ศาสตร์
และศลิ ปท์ ตี่ อ้ งคำนึงถงึ ความเป็นจรงิ และความถกู ตอ้ งของข้อมูล ความสำเรจ็ ของการนำเสนอ นอกจากข้นึ อยู่
กบั ผู้นำเสนอแลว้ รูปแบบการนำเสนอกม็ ีความสำคญั เช่นเดยี วกัน

รูปแบบการนำเสนอทีน่ ิยมใช้ มี 3 รูปแบบ

1. ผู้นำเสนอ ใช้เอกสารเปน็ ส่วนร่วมในการนำเสนอ เชน่ การเขยี นสรปุ ผลงานของตนเองเพ่อื ประกอบการ
พจิ ารณาเล่อื นข้นั เงินเดอื น จดั ทำเอกสารเสนอขออนมุ ตั ิ เสนอขายสนิ คา้ และแสดงความความคิดเห็นต่างๆ

2. ผู้นำเสนอ ใชว้ สั ดอุ ุปกรณ-์ เคร่อื งฉาย เป็นสือ่ และใชเ้ อกสารประกอบ เช่น การการจัดอบรมสัมมนา การ
นำเสนอเพอ่ื ความบันเทิงตา่ งๆ

3. นำเสนอในรูปของนทิ รรศการ และอาจมีเอกสารเปน็ สว่ นประกอบ เชน่ การจัดบอร์ดแสดงผลงานภาพถา่ ย
ผลงานทางวิชาการ หรอื การจดั นทิ รรศการอนื่ ๆ

การนำเสนอทุกรูปแบบมลี ักษณะความสำคญั ทแี่ ตกตา่ งกนั และจุดประสงคใ์ นการนำไปใช้ มี 2
สถานะคือ เปน็ การนำเสนอเรอื่ งราวด้วยตัวของส่อื เองแบบต่อเน่อื ง และเป็นสอ่ื ทใ่ี ชน้ ำเสนอประกอบการ
บรรยาย เป็นโปรแกรมการนำเสนอทไี่ ดร้ ับความนิยมมากท่สี ุด

เทคนิคการนำเสนองานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

การนำเสนอ (Presentation) เป็นการสอ่ื สารรูปแบบหนงึ่ ที่มคี วามสำคญั และมคี วามจำเปน็ อย่างยิง่
ในปจั จบุ ัน ท้งั ในแวดวงการศกึ ษา แวดวงวชิ าชพี การทำงานทัง้ ในภาครฐั และภาคเอกชนให้ความสำคญั กับ
ทักษะการนำเสนอของบุคลากร Cheryl Hamilton (1999:6) อธบิ ายวา่ มงี านศึกษาพบว่าผูจ้ ้างงานส่วน
ใหญเ่ ห็นว่าทกั ษะการนำเสนอมสี ่วนสำคัญต่อการประสบความสำเร็จในการทำงานมากกวา่ ทกั ษะทางวชิ าชีพ
จากการศกึ ษาของ Michigan State University ศึกษาความคดิ เห็นผู้อำนวยการฝ่ายบุคคล 479 คนจาก
บริษทั ใหญๆ่ หน่วยงานของรฐั และองคก์ รไม่แสวงหากำไร พบวา่ ในการคัดเลอื กบคุ ลากรเขา้ ทำงาน ทกั ษะ
การนำเสนอเป็นทกั ษะทส่ี ำคญั ทีสดุ ทใี่ ชใ้ นการพิจารณาคดั เลอื กผเู้ ข้าทำงาน

ในชีวติ การทำงาน การนำเสนอเปน็ บทบาทหนา้ ทีห่ นึง่ ทไ่ี มส่ ามารถหลกี เลีย่ งได้ การนำเสนอเปน็
วธิ กี ารสือ่ สารขอ้ มลู ข่าวสารและแนวความคิดไปยงั กลุม่ ผฟู้ ัง ที่อาจจะเปน็ กล่มุ ผ้ฟู งั ขนาดเลก็ ทีม่ ีความคุ้นเคย
กัน เชน่ กลมุ่ ผรู้ ว่ มงาน หรอื กล่มุ ผู้ฟงั ขนาดใหญท่ ่ไี มม่ คี วามค้นุ เคยกัน เชน่ กลุ่มบุคคลทว่ั ไป

ข้อดีของการนำเสนอคือ
- เปน็ การสื่อสารสองทาง (Two ways communication) ระหว่างผ้นู ำเสนอกับผฟู้ ังทำใหผ้ ูน้ ำเสนอ
สามารถเห็นปฏกิ ริ ยิ าของผ้มู ีอำนาจตดั สนิ ใจได้อยา่ งทนั ทที ันใด
- สามารถดึงดูดความสนใจและสร้างผลกระทบตอ่ ผู้ฟังรวมท้งั สร้างความจดจำไดด้ กี วา่ การนำเสนอดว้ ย
การเขยี น (Written Presentation)
- สามารถปรบั เนือ้ หาหรอื เรื่องราวท่ีกำลงั พูดให้เหมาะสมกบั ผฟู้ ังไดอ้ ยา่ งทันท่วงที เช่น เม่ือเหน็ ว่าผู้ฟงั
แสดงท่าทางไมเ่ ขา้ ใจเนอื้ หาที่นำเสนอ ผู้นำเสนอก็สามารถปรบั ปรุงวธิ กี ารนำเสนอเพอื่ ให้ผู้ฟังได้เขา้ ใจ
เน้ือหาไดด้ ขี นึ้

การนำเสนอจะประสบความสำเรจ็ ไดห้ ากมกี ารเตรยี มการท่ดี ี “การเตรยี มการเป็นสงิ่ สำคญั ทีจ่ ะนำไปสู่
ความสำเรจ็ ของการนำเสนองาน” (Preparation is a major key to delivering a successful
presentation) (Nick Morgan 2004:15) เทคนคิ การนำเสนออยา่ งมปี ระสิทธิภาพประกอบไปด้วย 3 ต. คอื
เตรียมกายและใจ เตรยี มเนอื้ หา และเตรยี มสอ่ื

ต. ท่ี 1 เตรยี มกายและใจ ผ้นู ำเสนอจำเป็นตอ้ งมกี ารเตรยี มความพรอ้ มทงั้ กายและใจกอ่ นทีจ่ ะนำเสนองาน
การเตรยี มกายเปน็ การเตรยี มวธิ ีการส่ือสารของผูน้ ำเสนอ เม่ือกลา่ วถงึ คำวา่ ” วธิ กี ารสื่อสาร”หมายถึง การใช้
เสียง และภาษากายในการนำเสนองาน

เสยี ง (Voice) เสยี งของผ้นู ำเสนอเป็นเครอ่ื งมือท่สี ำคัญอยา่ งหน่ึงในการนำเสนองาน ไมว่ า่ จะเป็น
ระดับเสียง ความดงั ของเสียง และการออกเสยี ง
โดยธรรมชาตแิ ลว้ เวลาพูดเสยี งของคนเราจะมีการเปลี่ยนแปลงระดบั เสยี งเหมอื นเสน้ กราฟทีม่ ีข้ึนสงู และลงตำ่
ผ้นู ำเสนอควรฝึกการใช้เสยี งให้มกี ารใชร้ ะดบั เสยี งสงู ตำ่ อย่างเป็นธรรมชาตเิ พอื่ ใหน้ ่าสนใจ และเสยี งไม่
ราบเรยี บเกนิ ไป

ความดังของเสียง ระดับความดงั เสยี งของผ้นู ำเสนอ ควรใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของสถานท่ี ถา้ เปน็
การนำเสนอในห้องประชมุ ขนาดเล็ก ควรใช้ความดงั ของเสียงระดบั ปกติ แตถ่ ้าเป็นการนำเสนอในห้องประชุม
ขนาดใหญ่ ควรใช้เสยี งที่ดังขน้ึ เพอื่ ใหผ้ ู้ฟงั ในห้องทกุ คนได้ยนิ เสียงของผนู้ ำเสนอชัดเจน ทงั้ นี้ เสียงทด่ี งั จะฟังดู
มอี ำนาจและกระตนุ้ ความสนใจได้ดี

การออกเสยี ง เป็นสิ่งทสี่ ำคัญมากในการนำเสนองาน ถา้ ผูน้ ำเสนอพดู ออกเสียงไม่ชัด ผู้ฟังกจ็ ะไม่
สามารถรบั ขอ้ มูลข่าวสารไดถ้ ูกตอ้ ง นอกจากนัน้ ความเรว็ ในการพดู กม็ คี วามสมั พนั ธ์กบั การออกเสยี ง ถา้ พูดเรว็
เกนิ ไปคำทีพ่ ดู ต่างๆทีพ่ ดู ออกมา จะฟงั ไมร่ เู้ รื่อง ควรมกี ารหยุดเวน้ ช่วงในการนำเสนอ โดยเฉพาะหัวขอ้ สำคัญ
อาจจะเป็นการหยุดเพือ่ จะเร่ิมหวั ขอ้ ใหม่ หรือหยุดเวน้ ช่วงเพือ่ เปลยี่ นอารมณ์จากอารมณ์หนึ่งเป็นอีกอารมณ์
หนง่ึ

สตฟี จ๊อบส์ ผ้ทู ไ่ี ดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ ผู้ท่นี ำเสนองานทด่ี ที ีส่ ุดคนหนง่ึ มีเทคนิควิธีการพดู คือ
“เปลย่ี นระดับความดงั และสลบั น้ำเสยี งสงู ตำ่ อยู่เรื่อยๆเพอ่ื ดงึ ความสนใจของผ้ฟู ังให้จับจอ้ งอยู่ท่คี ำพูดของคณุ
เลือกจุดเปลย่ี นทเี่ หมาะสม เปล่ียนจงั หวะการพดู เพือ่ ไมใ่ ห้การพูดของคุณราบเรยี บจนเกนิ ไป พูดให้เรว็ ขึ้นใน
บางช่วงแลว้ ช้าลง หยดุ เว้นชว่ งบา้ งเพ่ือสรา้ งอารมณ์ ” (Carmine Gallo 2010)

ภาษากาย (Body Language) มคี วามสำคญั ต่อการสอ่ื สารของผูน้ ำเสนอ ภาษากายเป็นปัจจัยหน่งึ
ที่ชว่ ยสร้างความประทบั ใจแรกพบ (First Impression)ใหเ้ กิดขึน้ ในการนำเสนองาน ก่อนที่ผนู้ ำเสนอจะเร่ิม
พูด ควรทจี่ ะประสานสายตา (Eye Contact)กบั ผฟู้ ังเพ่อื แสดงความเปน็ มิตรและความเขา้ ใจ ผู้นำเสนอ
ทด่ี ีตอ้ งมกี ารประสานสายตากับผฟู้ ังอยา่ งสมำ่ เสมอ การวางท่า(Posture) หรือการปรากฏกายของผูน้ ำเสนอ
ในขณะทน่ี ำเสนองานตอ่ ผฟู้ งั ท่เี หมาะสม คอื ควรวางท่าอย่างสบายๆเพอื่ ให้ดเู ป็นธรรมชาติมากที่สดุ ผนวกกบั มี
ความคลอ่ งตวั พรอ้ มจะสือ่ สารกับผฟู้ งั ควรใชท้ ่าทางใหเ้ ป็นธรรมชาตแิ สดงถงึ ความกระฉับกระเฉง คล่องแคลว่
และมัน่ ใจ

เทคนคิ ในการใชภ้ าษากายเพือ่ สร้างความประทบั ใจ
- เวลาจะนำเสนองาน ควรลกุ ขึ้นยนื อย่างสงา่ งาม
- เดินไปทีเ่ วทีด้วยท่าทางกระตือรือรน้ สรา้ งความรสู้ กึ ประหนึง่ ว่ากำลงั เดินข้ึนไปรับรางวัล
- กอ่ นจะเร่ิมพูดควรยิ้มอย่างอบอ่นุ กับผ้ฟู งั
- ควรสบสายตากับผู้ฟงั กอ่ นจะพดู

วิธีการพดู และภาษากายเปน็ ปจั จยั สำคัญทีจ่ ะสรา้ งความประทับใจให้กบั ผู้ฟัง ภาษากายควรสะทอ้ นให้เหน็
ถึงความมนั่ ใจในคำพดู ของผ้นู ำเสนอ วธิ ีการสอ่ื สารที่ดีจะเกดิ ขึน้ ไดก้ ็ต่อเมอื่ มกี ารฝึกฝนบ่อยๆ ฝกึ การอ่านออก
เสยี งดงั ๆเพ่ือฟงั เสียงของตวั เอง หาจุดเดน่ จุดด้อยในการใชเ้ สียง บนั ทกึ ภาพและเสยี งการนำเสนองานของ
ตนเองเพอ่ื นำมาปรับปรุงแก้ไขจุดบกพรอ่ งในการสื่อสาร

การเตรยี มใจ การได้รบั มอบหมายให้นำเสนองาน บอ่ ยครั้งสร้างความวิตกกงั วลใหก้ บั ผไู้ ด้รับมอบหมาย
ว่าจะพูดได้ไหม จะพูดรเู้ รือ่ งหรอื เปล่า จะมีคนสนใจฟงั ไหม จะมีคนถามคำถามหรือเปล่า สารพัดความวิตก
กงั วลที่เกิดขน้ึ ส่งผลใหข้ าดความเช่อื ม่นั และความม่ันใจในการนำเสนองานเพ่มิ มากข้นึ การเตรยี มใจดว้ ยการ
คิดบวก( Positive Thinking) จงึ เปน็ สง่ิ สำคญั Elizabeth Tierney (1999:56) กลา่ ววา่ การคิดบวกเป็นวธิ กี าร
ที่ดที ่ีสดุ ในการขจดั ความเครียดและความวติ กกงั วลในการนำเสนอ ผ้นู ำเสนอควรคิดเสมอวา่ การนำเสนองาน
คอื การนำส่ิงทเ่ี ป็นประโยชนม์ าแบง่ ปนั ใหก้ บั ผฟู้ ัง เช่น ทำให้ผฟู้ ังมีความรู้ความเขา้ ใจมากขนึ้ ทำใหผ้ ฟู้ ังร้สู ึก
ชวี ติ ดีขึน้ ชว่ ยแก้ปญั หาใหก้ บั ผูฟ้ ัง เป็นตน้

ต. ที่ 2 เตรียมเนื้อหา เน้อื หาเป็นสิ่งสำคัญที่สดุ ในการนำเสนองาน ถา้ ไม่มเี น้ือหาการนำเสนองานก็
เกดิ ข้ึนไมไ่ ด้ การเตรยี มเนอ้ื หา คือการกำหนดวา่ เน้ือหาท่ีนำเสนอมปี ระเดน็ ใดบา้ ง ควรมีการจัดลำดับเน้ือหา
อย่างไร เนื้อหาเปน็ สิง่ สำคญั ในการนำเสนอ ผ้นู ำเสนอจะตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจเน้ือหาทต่ี นนำเสนอเป็น
อย่างดี เรยี กวา่ รลู้ กึ รู้จรงิ ในสงิ่ ท่ีพดู เม่ือเรารแู้ ละเขา้ ใจในสงิ่ ที่เรานำเสนอ จะทำให้เราสามารถถา่ ยทอด
ขอ้ มลู ให้ผู้ฟังเข้าใจได้งา่ ยขึน้ ดังท่ี Albert Einstein กลา่ วไวว้ า่ “ If you can’t explain it simply, you
don’t understand it well enough”
กอ่ นท่ีจะเตรยี มเนอ้ื หา ผ้นู ำเสนอควรกำหนดจดุ มุ่งหมายในการนำเสนอและศกึ ษาข้อมลู ผู้ฟัง เพอ่ื เปน็ การ
กำหนดทิศทางการนำเสนอ การกำหนดจดุ มุ่งหมายเป็นการตอบคำถามท่วี ่า “ทำไมถึงต้องนำเสนองาน” ผู้นำ
เสนอคาดหวังวา่ จะเกดิ ผลอะไรจากการนำเสนอ เชน่ เพอ่ื ใหข้ อ้ มูลข่าวสาร เพ่อื จงู ใจ เพ่ือขายหรือเพื่อสอน เป็น
ตน้ ในการนำเสนองานผู้นำเสนอทกุ คนควรจะกำหนดเป้าหมายหรือวตั ถุประสงค์ของการนำเสนอ ซ่ึงการวดั
ความสำเรจ็ ของการนำเสนองานสามารถพิจารณาไดจ้ ากผลของการนำเสนอน้ันวา่ ตอบสนองตอ่ วตั ถุประสงค์
ทต่ี ้ังไว้หรือไม่

การศึกษาผู้ฟงั ในการนำเสนองาน ผู้นำเสนอควรทจี่ ะทราบลว่ งหน้าวา่ ใครจะเข้ารว่ มฟังบา้ ง หาก
รู้จักกลุ่มผู้ฟังดีเท่าไรกจ็ ะสามารถนำเสนองานให้เข้าถึงกลุ่มผู้ฟังได้ง่ายขึ้นเท่านั้น ผู้ฟังจะมีความหลากหลายทั้ง
ทางด้านภมู หิ ลงั ลกั ษณะทางจติ วิทยา ทีส่ ำคญั ควรวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของผฟู้ ัง (Audiences ’ need) วา่
ผ้ฟู งั จำเปน็ ตอ้ งร้อู ะไรบ้างและผ้ฟู ังตอ้ งการรู้อะไรบา้ งจากการนำเสนอ ปัญหาหนึง่ ของการนำเสนองานคือการ
ไมน่ ำเสนอในส่ิงท่ีผู้ฟงั ตอ้ งการท่ีจะไดฟ้ งั หากนำเสนอแตเ่ พยี งสงิ่ ที่ผู้ฟังจำเป็นต้องรู้ โดยไม่คำนึงวา่ ผ้ฟู ัง
ตอ้ งการรู้อะไรบา้ ง เมอื่ นำเสนอเสรจ็ อาจทำให้ผฟู้ งั เกดิ คำถามคา้ งในใจถงึ ส่งิ ทตี่ ้องการจะรู้แต่ไม่ไดร้ ู้ การ
วิเคราะหค์ วามตอ้ งการของผู้ฟัง จะทำให้มีข้อมลู เพื่อใช้ในการกำหนดแนวทางและวธิ ีการที่ถูกตอ้ งในการ
นำเสนอแกผ่ ูฟ้ งั แต่ละกลมุ่ ที่แตกตา่ งกัน ทงั้ ในด้านความคาดหวังและเหตผุ ลของผู้ฟังท่มี ตี อ่ การนำเสนอนน้ั ๆ
การนำเสนอท่ีดีทีส่ ดุ คือการนำเสนอดว้ ยวธิ ีการและแนวทางทถ่ี ูกใจผฟู้ งั
การเตรียมเนอ้ื หา ผนู้ ำเสนอควรเขยี นโครงร่างเน้อื หาโดยแบ่งเนือ้ หาออกเปน็ 3 ส่วน ตามโครงสรา้ งเนื้อหา
ได้แก่ การเปดิ (Opening) เนอื้ หาหลกั (Body) และ การปดิ (Closing)

การเปิด (Opening) คอื การดงึ ดูดความสนใจจากผู้ฟงั และทำให้ผ้ฟู งั สนใจตดิ ตามเนือ้ หา
การเปดิ ทีด่ ีจะสรา้ งความน่าเชือ่ ถือใหก้ บั ผู้นำเสนอ ผู้พูดที่ไมม่ ปี ระสบการณ์มกั จะเริ่มตน้ ด้วยการกล่าวคำขอ

โทษในเรอ่ื งท่แี สดงถึงความไมม่ น่ั ใจและไม่พรอ้ ม เช่น ขอโทษทมี่ าสาย , งานยังไม่เรยี บรอ้ ย ,ไม่เคยนำเสนอมา
ก่อน หรือรู้สึกตน่ื เตน้ มาก ซ่งึ ถือเปน็ การเริ่มต้นท่ไี มด่ ี เพราะผฟู้ งั จะตดั สินผู้นำเสนอตัง้ แต่การเร่มิ ตน้ การ
นำเสนอ ถา้ เรมิ่ ต้นไมด่ ี จะเป็นการลดความนา่ เช่อื ถือของผ้นู ำเสนอ

การกลา่ วเปดิ ทีด่ นี น้ั ควรคำนึงถงึ สงิ่ ต่อไปนี้
- สามารถดงึ ดดู ความสนใจจากผฟู้ งั
- กลา่ วถงึ ประเด็นสำคญั เป็นหลักแต่สามารถเสนอภาพรวมของเน้อื หาทงั้ หมด
- ชีใ้ ห้เหน็ ถึงประโยชน์ท่ีผ้ฟู ังจะได้รบั จากการนำเสนอ
- ทำให้ผู้ฟังเกดิ ความเชื่อถือและม่ันใจผู้นำเสนอ

เนอื้ หาหลัก (Body )ในช่วงกลางของการนำเสนอเปน็ ชว่ งทเ่ี หมาะสำหรับการนำเสนอรายละเอยี ด
แต่ผพู้ ดู ควรระมัดระวังไม่ใหผ้ ู้ฟงั เกดิ ความเบ่ือหน่าย จากกราฟที่ 1 แสดงผลการวิจัยทางจิตวิทยาในเรือ่ งระดบั
ความสนใจของผู้ฟงั กบั ระยะเวลาในการนำเสนองาน โดยศึกษาการนำเสนองานทใี่ ช้ระยะเวลาทงั้ ส้ิน 40 นาที
พบวา่ ช่วงเวลา 10 นาทีแรก ความสนใจของผฟู้ ังจะอยู่ในระดับทส่ี ูง หลงั จากนน้ั ระดบั ความสนใจจะลดลงมา
เร่ือยๆ จนกระทงั่ ประมาณ 30 นาที ระดบั ความสนใจจะอยใู่ นระดับต่ำสุด และจะเรม่ิ สูงขน้ึ อกี ครงั้ เม่ือใกล้
เวลา 5 นาทีสุดท้าย

การปดิ (Closing) การปดิ มีความสำคัญเทา่ กบั การเปดิ ซง่ึ ถอื เปน็ โอกาสสดุ ท้ายท่ผี ้นู ำเสนอจะ
สามารถสร้างความจดจำและความประทบั ใจให้เกิดข้ึนกบั ผฟู้ ัง ผ้นู ำเสนอจำเปน็ ต้องวางแผนการพดู ควรกล่าว
ย้ำและทบทวนถงึ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการนำเสนอและสรปุ ประเด็นท่ีสำคญั รวมทั้งแนวคดิ หลักๆ ซง่ึ เชอื่ มโยง
เนอื้ หาทุกสว่ นเข้าดว้ ยกนั

นอกจากจะเตรียมเน้ือหาแล้ว ผูน้ ำเสนองานควรเตรียมตัวสำหรบั การตอบคำถาม โดยคาดการณ์
ลว่ งหน้าเกยี่ วกับคำถามทผี่ ูฟ้ งั จะถาม และเตรียมคำตอบให้พรอ้ มกับทุกคำถาม ซ่งึ การคาดการณล์ ่วงหน้า
เกิดขน้ึ ไดจ้ ากการศึกษาผฟู้ ัง และจากประสบการณข์ องผ้นู ำเสนอ นอกจากนั้นการคิดบวกตอ่ การถามคำถาม
จะช่วยสรา้ งความเช่ือม่นั ในการตอบคำถาม ผู้นำเสนอไมค่ วรมองว่าการถามคำถามของผ้ฟู ังเปน็ การจับผิดไม่
ไว้ใจหรอื มอี คติกบั ผนู้ ำเสนอ พยายามมองคุณค่าของการถามคำถามวา่ การตอบคำถามเปน็ โอกาสทไ่ี ดอ้ ธบิ าย
หรือตอกย้ำประเด็นสำคญั และที่สำคญั การตอบคำถามเป็นวธิ ีการทีจ่ ะสรา้ งความน่าเช่ือถือใหก้ ับตวั ผู้นำเสนอ
เพราะเปน็ การแสดงว่าผูน้ ำเสนอมคี วามรอบรใู้ นเร่อื งท่นี ำเสนอ

ต. ที่ 3 เตรียมสอ่ื การนำเสนองานโดยการพูดหรอื บรรยายให้ผฟู้ งั ฟังแต่เพียงอยา่ งเดยี ว บางคร้งั
อาจจะไมส่ ามารถส่อื ความหมายไดต้ รงตามวตั ถุประสงคท์ ก่ี ำหนดไว้ ซง่ึ อาจเป็นเพราะความยากของเนอ้ื หาท่ี
นำเสนอหรือ ความสามารถในการอธิบายของผนู้ ำเสนอไม่ดีพอ ดงั น้นั การแก้ไขปญั หาดงั กลา่ วได้ กด็ ว้ ยการใช้
สื่อประกอบในการนำเสนอ

สื่อท่ีใชป้ ระกอบในการนำเสนอเชน่ ภาพถา่ ย แผนภูมิ แผนภาพ คลปิ ภาพ คลปิ เสียง เปน็ ต้นจาก
เทคโนโลยที พ่ี ฒั นาก้าวไกลในปจั จุบนั ทำให้สอื่ ท่ีใช้ในการนำเสนอมลี ูกเลน่ มคี วามน่าสนใจมากขึ้น ประกอบ
กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ใี ชใ้ นการออกแบบสื่อสามารถใชง้ านได้งา่ ยและสะดวกสบายมากกว่าแต่ก่อน ผูน้ ำ
เสนอบางคนจึงใหค้ วามสำคญั ในการเตรียมสื่อ มากกวา่ การเตรียมเน้ือหา ประกอบกบั ความเช่อื ว่าหาก
นำเสนอด้วยสือ่ ทด่ี ูดี เทคนคิ หลากหลาย จะทำใหก้ ารนำเสนอสามารถดงึ ดูดความสนใจของผ้ฟู ังได้ ความเชื่อ
ดังกลา่ วมีความถูกต้องแต่ไม่ถกู ท้งั หมด เพราะหากผูน้ ำเสนอนำเสนอดว้ ยสือ่ ทสี่ วยงาม
โดยไม่มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองทนี่ ำเสนอ ก็จะไม่สามารถดงึ ดดู ความสนใจของผู้ฟงั ได้ ดงั นนั้ การใช้ส่อื ใน
การนำเสนอพงึ ระลกึ เสมอวา่ ให้ส่ือเป็นพระรอง ทีช่ ว่ ยเสรมิ ความเขา้ ใจในเนอื้ หา ผู้นำเสนอจะตอ้ งเปน็ ตัวเอก
ในการนำเสนอ

เทคนิค 3 ต.การเตรยี มกายและใจ การเตรยี มเน้อื หา และการเตรยี มส่อื

จะชว่ ยลดความวิตกกงั วลในการนำเสนองาน ทำใหผ้ ูน้ ำเสนอมีความพรอ้ มทจี่ ะสือ่ สารอย่างมี
ประสิทธภิ าพ สามารถสร้างความประทับใจและความนา่ เชือ่ ถอื ให้เกิดขึน้ และหลงั จากการนำเสนอผู้นำเสนอ
ควรมีการประเมนิ ตนเอง หากผ้นู ำเสนอมองย้อนกลบั ไป และประเมนิ ในสิง่ ทท่ี ำได้ดีและส่งิ ที่ทำไดไ้ มด่ ี รวมถึง
พิจารณาสาเหตขุ องปญั หาก็จะทำใหก้ ารนำเสนองานครั้งตอ่ ไปมปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังคำกล่าวของวินสตนั
เชอรช์ ลิ ล์ ท่ีว่า “ The farther backward you can look, the farther forward you are likely to see”
ย่งิ สามารถมองไปข้างหลงั ไดไ้ กลเพยี งใด ก็จะยงิ่ มโี อกาสเห็นข้างหนา้ ได้ไกลเพยี งน้ัน


Click to View FlipBook Version