The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 4 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกันอย่างปลอดภัย ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pookky, 2021-12-15 11:22:00

หน่วยที่ 4 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกันอย่างปลอดภัย ป.6

หน่วยที่ 4 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกันอย่างปลอดภัย ป.6

เทคโนโลยี

(วทิ ยาการคานวณ)

๖ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี

แผนผังหัวข้อหน่วยการเรยี นรู้ 4 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกันอยา่ งปลอดภัย

ผลกระทบและแนวทางป้องกนั การใช้เทคโนโลยี อันตรายจากการติดต้ัง
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศรว่ มกนั ซอฟตแ์ วร์บนอนิ เทอรเ์ นต็

อยา่ งปลอดภัย

สทิ ธใิ นการเข้าถึง
ข้อมลู และรหสั ผ่าน

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

รว่ มกนั อย่างปลอดภัย

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ปดิ อปุ กรณ์ทุกครั้ง ตรวจสอบเว็บไซต์ ตรวจสอบจดหมาย ปรกึ ษาครูหรือผปู้ กครอง
เมือ่ เลกิ ใชง้ าน อิเลก็ ทรอนิกส์กอ่ นเปิด เม่ือพบข้อมูล
ที่ไม่ปลอดภัย

ไม่เปดิ เผยข้อมูลส่วนตวั ไม่ส่งข้อมูลสว่ นตวั สรา้ งรหัสผา่ น ติดตั้งโปรแกรม
ให้ผอู้ ื่น ป้องกนั มลั แวร์

เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ผลกระทบและแนวทางป้องกนั การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ในยุคปจั จุบนั อุปกรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศจะทางานร่วมกัน เช่อื มต่อกนั เปน็ เครอื ข่าย
มที งั้ เครือข่ายคอมพิวเตอรข์ นาดเลก็ ในบา้ นหรือในโรงเรยี นรวมไปถึง เครอื ขา่ ยขนาดใหญ่
เช่น อนิ เทอรเ์ นต็ ดังน้นั การใช้อปุ กรณต์ ่าง ๆ ท่ีเช่ือมต่อกันน้ี อาจมีผู้ไม่หวังดีกาลงั เข้าถึง
อุปกรณข์ องเราอยู่

บคุ คลทม่ี คี วามสามารถด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ใช้อุปกรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นประจา หรอื ทเี่ รียกว่า พลเมอื งดจิ ทิ ัล (Digital Citizen) ควรเปน็ ผู้ทมี่ ีความรบั ผิดชอบ
ในการใชง้ าน และมีความระมัดระวังในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์
ต่อตนเอง ผ้อู ่ืน และใชง้ านไดอ้ ย่างปลอดภัย

อันตรายจากการใช้งานอนิ เทอร์เนต็ มอี ะไรบ้าง
นกั เรียนเคยได้รับผลกระทบเหลา่ นั้นบ้างหรือไม่ อยา่ งไร

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 คาถามสาคญั

ตวั อยา่ ง เหมีย่ วอ่านขอ้ ความบนอินเทอรเ์ น็ตพบว่ามคี นท่ีไมร่ ้จู กั นัดใหพ้ บกนั ท่สี วนหนา้ โรงเรยี น
จากนน้ั คน ๆ นน้ั ก็แอบมาขโมยกระเป๋าเงนิ ของเหมยี่ วไป

ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

อปุ กรณท์ เ่ี ชือ่ มต่อกับเครือข่ายคอมพวิ เตอรห์ รอื อนิ เทอร์เนต็ ทาให้การคน้ หาข้อมูลและแลกเปล่ียนข้อมูลได้งา่ ยขน้ึ
ขณะเดยี วกันผทู้ ีไ่ มห่ วังดสี ามารถเขา้ มาใชง้ านไดง้ า่ ยเช่นกนั ดังนัน้ ในการใช้งานควรมีข้อปฏิบัติ ดงั น้ี

1. ปกปอ้ งข้อมูลส่วนตัว 2. ไมส่ ง่ ขอ้ มูลส่วนตวั
ไมเ่ ปิดเผยข้อมลู สว่ นตัว เช่น ของตนเองและผอู้ ื่นให้กบั
รหสั ผ่านต่าง ๆ หมายเลข- ผู้ที่ไม่ร้จู กั
ประจาตวั ประชาชน รหสั ATM

6. ออกจากระบบ ขอ้ ปฏิบตั ิ 3. สรา้ งรหัสผ่านในการใชง้ าน
หรอื ปิดอปุ กรณ์ทุกครงั้ ในการใช้ อุปกรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ
เมื่อเลกิ ใช้งาน เทคโนโลยี และควรกาหนดรหัสผา่ นท่ี
สารสนเทศ คาดเดาได้ยาก

5. ถ้าพบปญั หาหรอื พบขอ้ มูล 4. กาหนดสิทธกิ ารใช้งาน การออกจากระบบ (log out) เม่อื เลิกใชง้ าน
หรอื บคุ คลทท่ี าให้ไม่สบายใจ ใหข้ อ หรอื สิทธิท่ีบคุ คลอ่ืนสามารถ
ความชว่ ยเหลอื จากครูหรอื ผปู้ กครอง เข้าถึงขอ้ มลู ของเราได้

เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

x - + กิจกรรมที่ 4.1 อาชญากรรมทางอินเทอรเ์ น็ต

นกั เรียนยกตวั อย่างอนั ตรายหรอื ความเสียหายที่เกิดจากการใช้งานทางอนิ เทอร์เน็ตมา 5 ขอ้ พรอ้ มบอกวธิ กี ารปอ้ งกันลงในตาราง

อนั ตรายหรอื ความเสยี หาย วธิ กี ารป้องกนั อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ คือ การกระทาผิดกฎหมาย
โดยใชเ้ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์เปน็ เคร่อื งมือ เชน่ การขโมยขอ้ มลู
ทางอนิ เทอรเ์ น็ต การละเมดิ สิทธิ การฟอกเงิน การกอ่ กวน
การเผยแพรภ่ าพ วิดโี อหรอื ส่อื ลามกอนาจาร การหลอกลวง
ใหร้ ่วมคา้ ขาย การแอบโอนเงินในบญั ชผี อู้ นื่ เข้าบญั ชีตนเอง

เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6

สทิ ธิในการเขา้ ถึงขอ้ มลู และรหสั ผ่าน

อุปกรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศบางชนดิ มผี ้ใู ชง้ านหลายคน เชน่ คอมพิวเตอร์สาธารณะหรือคอมพิวเตอร์
ในห้องปฏบิ ัตกิ ารของโรงเรียน ดงั นัน้ เราจงึ ไมค่ วรเก็บขอ้ มลู สาคญั หรอื บันทกึ ชื่อและรหัสผา่ นไว้ในคอมพวิ เตอรส์ าธารณะ

นกั เรียนมวี ธิ กี าหนดรหัสผ่านบนอปุ กรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร

คาถามสาคญั
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

การกาหนดรหัสผ่านใหก้ ับโปรแกรมตา่ ง ๆ ไมค่ วรใช้รหัสผา่ นทีค่ าดเดาไดง้ า่ ย การตง้ั รหสั ผา่ นมีแนวทาง ดงั นี้

1. ควรเป็นตัวอักษรและตัวเลขที่ผูใ้ ช้จางา่ ย แต่คาดเดาได้ยาก
2. เลอื กใช้ตวั อกั ษรตัวพมิ พใ์ หญ่ ตัวพิมพ์เล็ก และตวั เลขผสมกนั เป็นรหัสผ่าน
3. รหสั ผา่ นที่ยาวยิ่งมคี วามปลอดภัย เนื่องจากคาดเดาได้ยาก
4. ไมค่ วรใช้วนั เดือนปเี กดิ หรือหมายเลขโทรศพั ท์เคลอ่ื นทีใ่ นการกาหนด รหสั ผา่ น
5. ไมใ่ ชเ้ ปน็ ภาษาทอ่ี า่ นได้
6. ไมค่ วรใช้รหัสผา่ นซา้ กบั ซอฟตแ์ วร์หรอื อุปกรณ์หลาย ๆ อปุ กรณ์ เพราะถ้าผู้ไม่หวังดที ราบรหัสผ่านของเรา

จะทาใหเ้ ขา้ ถึงอปุ กรณ์และข้อมลู ไดท้ ง้ั หมด

เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6

แม้ว่ารหสั ผ่านจะทาใหใ้ ช้งานไดเ้ ปน็ ส่วนตวั มากข้นึ แต่ไมค่ วรบนั ทึกรหสั ผ่านไวใ้ นอุปกรณ์หรอื ซอฟตแ์ วร์ต่าง ๆ โดยทว่ั ไปแลว้ การ
กาหนดรหสั ผา่ นจะให้ยืนยันซ้า วา่ ต้องการรหสั ผา่ นตามทีต่ งั้ ไวห้ รอื ไม่ ถ้าลมื รหสั ผา่ นซอฟต์แวร์หรอื เว็บไซต์บางเวบ็ ไซต์จะมีวธิ ีการ
กาหนดรหสั ผา่ นใหม่ โดยการถามคาถามหรือติดต่อกลบั มาทางโทรศพั ท์ หรอื จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ดังนัน้ ในการกาหนดรหัสผ่านควร
ใหข้ ้อมลู ท่ีสาคัญให้ครบถ้วน สาหรบั อปุ กรณส์ มัยใหม่สามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลหรอื ใช้รหัสผา่ นดว้ ยลายนิว้ มอื ได้

ความรรู้ อบโลก

Face ID เปน็ การตรวจสอบตวั ตนของผู้ใช้ ซงึ่ เปน็ การต้ังรหัสผ่าน
รูปแบบหน่ึง โดยยิงรังสีอินฟราเรดออกไปและใช้การตรวจสอบ
รูปของใบหนา้ แม้ว่าหน้าตาจะเปลย่ี นไปเลก็ นอ้ ย เปล่ยี นทรงผม
ใสแ่ วน่ Face ID ก็ยงั คงสามารถตรวจสอบได้ นิยมใช้ใน
โทรศัพท์เคลื่อนท่ี

การตง้ั รหัสผา่ นท่ีดี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

x - + กจิ กรรมท่ี 4.2 มากาหนดรหสั ผ่านกนั เถอะ

นกั เรียนกาหนดรหสั ผ่านขน้ึ มา 3 ชุด แล้วตอบคาถามต่อไปนี้
1. รหสั ผา่ นทยี่ าวมีขอ้ ดีอยา่ งไร
2. ในอนาคตจะใช้สงิ่ ใดแทนรหัสผ่านได้บ้าง
3. ถ้าไม่มีการกาหนดรหสั ผา่ นจะเกดิ อะไรข้นึ

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

อันตรายจากการตดิ ตง้ั ซอฟตแ์ วร์บนอนิ เทอรเ์ น็ต

เมื่อคอมพวิ เตอร์เชือ่ มต่ออนิ เทอรเ์ น็ตได้งา่ ย และมีความเร็วสูง

ทาให้การประมวลผลของคอมพวิ เตอร์ทางานบนคลาวดค์ อมพิวต้ิง

(Cloud Computing) หรือเรยี กอีกชอื่ หน่ึงว่า

การประมวลผลเปน็ กลมุ่ เมฆ คลาวดค์ อมพิวตง้ิ การสารองข้อมลู ระบบพัฒนา พน้ื ทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มลู
(Cloud Computing) บนระบบคลาวด์
ด้านความปลอดภยั แบบออนไลน์

การตดิ ต้งั โปรแกรมท่ีไม่รจู้ กั บนอนิ เทอร์เนต็
จะส่งผลกระทบอย่างไร

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 คาถามสาคัญ

โดยประมวลผลรว่ มกนั และใชท้ รพั ยากรบางอย่างร่วมกนั ได้ รวมไปถึงการติดตง้ั ซอฟตแ์ วร์
หรือโปรแกรมตา่ ง ๆ จะใช้วธิ ตี ิดตัง้ ซอฟต์แวร์ที่เกบ็ ไวบ้ นอินเทอร์เน็ตหรอื บนระบบคลาวด์
ทาใหไ้ มต่ ้องใชห้ นว่ ยความจาของคอมพิวเตอร์ในการตดิ ตง้ั ซอฟตแ์ วร์เหมอื นในอดีต

ซอฟตแ์ วร์หรือโปรแกรมตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นอนั ตรายหรอื ส่งผลเสยี ต่อการใช้งานทาใหไ้ ม่สะดวกตอ่ การใช้งานมีหลายประเภท
เช่น ไวรัส (Virus) โทรจัน (Trojan) สปายแวร์ (Spyware) วอรม์ (Worm) เราเรยี กกลุ่มของโปรแกรมเหล่านี้
ท่ีออกแบบมาเพอ่ื มงุ่ รา้ ยต่อคอมพิวเตอร์วา่ มัลแวร์ (Malware) ดงั นัน้ การปอ้ งกันเบื้องต้นสามารถทาได้ ดังน้ี
1. อัปเดตซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏิบตั กิ ารอย่างสม่าเสมอ
2. ตดิ ตงั้ โปรแกรมป้องกันมัลแวรใ์ นคอมพวิ เตอร์
3. ไม่คลิกข้อความท่ีแสดงโฆษณาหรอื หนา้ โปรแกรมตา่ ง ๆ ทแ่ี ปลกปลอมระหวา่ งการใช้งาน
4. ไม่ดาวนโ์ หลดโปรแกรมจากแหล่งทีไ่ ม่น่าเชือ่ ถอื มาตดิ ตัง้ ในคอมพิวเตอร์
5. ไม่เปิดอเี มลห์ รือไฟล์แนบตา่ ง ๆ ทีไ่ มร่ จู้ กั

ปลอดภัยไวก้ อ่ น

การปรบั ปรุงหรอื การอปั เดตระบบปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ เป็นการช่วยอุดช่องโหว่
และแก้ไขบกั๊ ตา่ ง ๆ ภายในเครอ่ื ง รวมถงึ โปรแกรมสแกนไวรัสกค็ วรต้งั ค่าใหอ้ ัปเดต
ฐานข้อมลู สมา่ เสมอ และควรตรวจสอบไวรัสบนคอมพวิ เตอร์ อยา่ งนอ้ ยทกุ ๆ 2 สัปดาห์

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

x - + กจิ กรรมที่ 4.3 ทาความรู้จกั กับมลั แวร์

นักเรียนค้นหาขอ้ มลู เกี่ยวกับลักษณะของมลั แวรต์ ่อไปน้ี จากนน้ั บันทกึ คาตอบเปน็ แผนภาพความคดิ

ไวรสั คอมพิวเตอร์ (Virus)
โทรจนั (Trojan)
สปายแวร์ (Spyware)
วอร์ม (Worm)

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6


Click to View FlipBook Version