The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by titleaudit03, 2022-09-21 04:50:13

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ปี 2562

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ปี 2562

รายงานสถานการณ์ทางสงั คม
จังหวดั ชัยนาท ประจาปี ๒๕๖๒

สานักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวัดชัยนาท
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์



สารบญั

คานา หน้า
บทสรุปผู้บริหาร ก
สารบญั ข
ส่วนที่ 1 บทนา ค

หลักการเหตผุ ลของการจดั ทารายงาน 1
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั 2
ขอ้ มลู ประชากรและสถานการณจ์ ังหวดั ชยั นาท 3-11
ส่วนท่ี 2 ข้อมูลท่ัวไปของจงั หวดั ชัยนาท
ขอ้ มลู ขอ้ มูลกายภาพของจังหวัด การปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 12-20
ข้อมลู ด้านประชากร กลมุ่ ประชากรเฉพาะ 21
ข้อมูลดา้ นเศรษฐกจิ ของจังหวัด และประชากร 22
ข้อมลู ดา้ นแรงงาน การศึกษา สาธารณสขุ 23-38
สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
บทสรุปและข้อเสนอแนะ 39-40


บทสรุปสาหรบั ผู้บริหาร

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นองค์กรหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม
นาไปสู่สังคมที่ดีงามและอยู่เย็นเป็นสุข โดยมียุทธศาสตร์ในการพัฒนาสวัสดิการสังคมและสร้างความมั่นคง
ในการดารงชวี ิต ส่งเสรมิ การขับเคล่ือนการพัฒนาป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมเสริมพลังและสร้างการมีส่วนร่วม
รวมทั้ง ส่งเสริมระบบการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล จึงได้มอบหมายให้ สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท จัดทารายงานสถานการณ์ ทางสังคมจังหวัด เป็นประจาทุกปี
โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 รัฐบาลได้ให้ความสาคัญของข้อมลู ด้านการพัฒนาสังคม เป็นเครื่องมือในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสะท้อนถึงปัญหา และเห็นภาพรวม
ของสงั คมเพือ่ รว่ มกนั หาแนวทางในการป้องกัน และแกไ้ ขปัญหาสังคมทเี่ กดิ ขึ้นในจังหวัดชัยนาท

สานักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวดั ชัยนาท ได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ทาง
สังคมจังหวัด (สคจ) เป็นประจาทุกปี โดยใชแ้ บบจัดเกบ็ ขอ้ มลู เพื่อแก้ไขปญั หาให้กับผู้ประสบปัญหาทางสังคมในพ้ืนที่
ตามกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน สตรีและครอบครัว ผู้สูงอายุ คนพิการ คนเร่ร่อน คนไร้ท่ีพึ่งและผู้แสดง
ความสามารถ ค้ามนุษย์ และที่อยู่อาศัยชุมชนผู้มีรายได้น้อยให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามภารกิจของกระทรวงฯ
ซ่ึงจังหวัดชัยนาท มีจานวนประชากร ทั้งหมด 322,828 ราย เป็นชาย 155,336 ราย เป็นหญิง 167,492 ราย
(ข้อมูลปกครองจังหวัดชัยนาท เดือนสิงหาคม 2562) โดยมีผู้ลงทะเบียนโครงการเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ
จากกระทรวงการคลัง จานวนท้ังหมด 65,901 ราย จานวนครัวเรือน ๘9,139 ครัวเรือน เด็กอายุต่ากว่า ๑๘ ปี
บริบูรณ์ จานวน 62,264 คน หรือร้อยละ 19.28 ของประชากรท้ังหมด เยาวชนอายุ ๑9 ปี ถึง ๒๕ ปี จานวน
28,340 คน หรือร้อยละ 8.77 ของประชากรท้ังหมด ประชากรอายุ ๒6 ปี ถึง 59 ปี จานวน 164,201 คน
หรือร้อยละ ๕0.86 ของประชากรทั้งหมด ผู้สูงอายุ ๖0 ปีข้ึนไป จานวน 67,965 คน หรือร้อยละ 21.05 ของ
ประชากรทั้งหมด (ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 30 สงิ หาคม 256๒)

คนพิการ (ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 256๒) จานวน 14,265 คน คิดเป็นร้อยละ 4.41 ของประชากร
ท้ังหมด พิการทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว 8,054 คน คิดเป็นร้อยละ 56.45 ของคนพิการท้ังหมด
พิการทางการได้ยิน/ส่ือความหมาย 3,050 คน คิดเป็นร้อยละ 21.38 พิการทางสติปัญญา 796 คน คิดเป็นร้อยละ
5.58 พิการทางการเห็น 1,008 คน คิดเป็นร้อยละ 7.06 พิการทางจิตใจและพฤติกรรม 805 คน คิดเป็นร้อยละ
5.64 พิการออทิสติก 43 คน คิดเป็นร้อยละ 0.30 พิการทางการเรียนรู้ 37 คน คิดเป็นร้อยละ 0.25 และ
พกิ ารซา้ ซอ้ น จานวน 472 คน คิดเป็นร้อยละ 3.30 (ท่มี า : ศนู ยบ์ รกิ ารคนพิการจงั หวดั ชยั นาท)

การขับเคล่ือนการดาเนินงานตามภารกิจของ พม. ในการดูแล และพัฒนาคน ตลอดทุกช่วงวัย
เป็นภารกิจที่มีความเช่ือมโยงกันหลายๆหน่วยงานหรือหลายกระทรวงในหลากหลายมิติ ซึ่งไม่สามารถจะดาเนินการ
ได้เพียงหน่วยงานเดียว จึงจาเป็นต้องมีการบูรณาการ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องในการประสานงาน
การทางานร่วมกัน เพ่ือผลักดันภารกิจในการพัฒนาคนและสังคม ให้มุ่งไปสู่เป้าหมายของความอยู่ดีมีสุข
อย่างยัง่ ยืนสบื ไป

ส่วนที่ 1
บทนา

1

1.1 หลกั การเหตผุ ลของการจัดทารายงาน

ในปัจจุบันสถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบต่อ
การเปลย่ี นแปลงวิถีชีวิตของคนในสงั คมอย่างมาก และมีความหลากหลายเชงิ เหตแุ ละผลที่ซับซ้อนมากข้นึ เช่น ปัญหา
ความยากจนและความเหลื่อมล้า ท่ีมีปัจจัยร่วมกับปัญหาในมิติต่างๆ ได้แก่ ปัญหาสุขภาพ ปัญหายาเสพติด ปัญหา
การศึกษา เป็นต้น จงึ ทาใหเ้ กดิ ปัญหาและผลกระทบทไี่ ม่สามารถคาดการณ์ได้ ดังนนั้ การแกไ้ ขปญั หาท่ีผา่ นมาจงึ ทาได้
ในระดับเฉพาะหน้าเป็นส่วนใหญ่ซึ่งอาจไม่ทันเวลาและสถานการณ์ ส่งผลให้ปัญหาต่างๆ มีผลกระทบในวงกว้างและ
ทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างย่ิงความรุนแรงกับกลุ่มเป้าหมายที่อ่อนแอ ในสังคมมากกว่ากลุ่มอ่ืนๆ ได้แก่
กลุ่มเด็ก เยาวชน สตรี ครอบครัว ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และคนไร้ท่ีพ่ึง ขอทาน ซ่ึงเป็นกลุ่มเป้าหมายในภารกิจ
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัดชยั นาท กลมุ่ นโยบายและวิชาการ ในฐานะหน่วยงาน
ขบั เคล่ือนงานวเิ คราะห์และรายงานสถานการณ์ทางสังคม ท้ังในเชิงประเด็น และเชิงพื้นที่ สูก่ ารเฝ้าระวังสถานการณ์
ทางสังคม และนาเสนอมาตรการ กลไกทางสังคม ให้เป็นเครื่องมือสาหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาคได้ใช้ประโยชน์ในการ
วางแผนเชงิ นโยบาย และเป็นผู้นาทางสังคมตามวสิ ัยทศั ของกระทรวง เพ่ือจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด
ให้สอดคล้องกบั สภาพสังคมในปัจจุบัน ดังน้ันเพื่อให้ภารกิจการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั ในมิติพื้นที่
บรรลุวัตถุประสงค์ สอดรับกับนโยบายรัฐบาลปี 2562 สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวัดชัยนาท ได้กาหนดกรอบการรายงานสถานการณ์ทางสังคมเป็นรอบรายไตรมาสระดับจังหวัด โดยกาหนด
รูปแบบ (Model) ของการรายงานสถานการณ์สังคมจังหวัดตามรอบไตรมาส ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ซ่ึงต้องพัฒนารูปแบบการขับเคลื่อนโดยสร้างความรู้ ความเข้าใจในการจัดทาข้อมูล การรวบรวม วิเคราะห์
ประมวลผล การเขียนรายงาน เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณะ และส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาสังคมและ
การจัดสวัสดิการได้นาข้อมูลที่ได้น้ันไปดาเนินการวางแผนการแก้ไขปัญหาทางสังคมในพื้นท่ีจังหวัดชัยนาท
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตอ่ ไป

2

ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั

1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) ได้มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม ที่มีความเป็นเอกภาพ
มีความนา่ เชื่อถือ และเปน็ ทย่ี อมรบั ของทกุ ภาคสว่ น

2. จังหวัดชัยนาท มีฐานข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมเพ่ือการพัฒนาสังคมท่ีมีประสิทธิภาพใช้เป็นข้อมูลของ
จงั หวดั ในการกาหนด และแกไ้ ขปัญหาสังคมของจงั หวดั

3. จังหวัดชัยนาทได้รับทราบถึงประเด็นปัญหาสังคม และปัญหาสังคมเชิงกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องได้รับการพัฒนา
ตอ่ ไป

4. ประชากรกลุ่มเป้าหมายในความรับผิดชอบของกระทรวงฯ ได้รับการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมตรงกับ
ความตอ้ งการอยา่ งท่วั ถงึ

5. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงฯ มีข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสังคม ท่ีถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบันและ
ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและพื้นท่ีในภารกิจของกระทรวงฯ เพื่อนาไปวางแผนดาเนินการได้ ตามภารกิจของ
แต่ละหน่วยงาน

สว่ นท่ี 2
สถานการณท์ างสังคมของจังหวดั

3

ข้อมลู ประชากรและสถานการณ์สงั คมจงั หวัดทว่ั ไป จงั หวดั ชยั นาท

ประชากรจังหวดั ชัยนาท ชาย หญงิ รวม
(คน) (คน) (คน)
ประชากรท้ังหมด
ครวั เรือนท้งั หมด ๑๕5,336 ๑67,492 ๓๒2,828

๘๙,๑๓๙ ครวั เรือน

,
,
,
,
,
,
,

() () ()

ข้อมูลจากปกครองจังหวัดชัยนาท ณ สิงหาคม ๒๕๖๒

4

ประชากรแยกตามกล่มุ อายุ

รายการข้อมูล หนว่ ย ชาย จานวน รวม
นับ หญิง
1.1 ประชากรอายุ 0 – 18 ปี 32,063 62,264
1.2 ประชากรอายุ 19 – 25 ปี คน 14,218 30,201 28,340
1.3 ประชากรอายุ 26 – 59 ปี คน 79,988 14,122 164,201
1.4 ประชากรอายุ 60 ปขี ้นึ ไป คน 29,040 84,213 67,965
1.5 ประชากรอายุ 100 ปขี ้นึ ไป คน 38,925
คน 27 58
รวม คน 155,336 31 322,828
1.6 ครวั เรือนตามฐานข้อมลู ทะเบียนราษฎร์ ครวั เรอื น 167,492 89,139

180000 1.1 ประชากรอายุ 0 – 18 ปี
160000 1.2 ประชากรอายุ 19 – 25 ปี
140000 1.3 ประชากรอายุ 26 – 59 ปี
120000 1.4 ประชากรอายุ 60 ปีขนไป
100000 1.5 ประชากรอายุ 100 ปีขนไป
80000
60000 ชาย หญิง รวม
40000
20000 ข้อมูลกรมการปกครอง ณ 31 สิงหาคม 2562

0

5

1. เดก็ และเยาวชน

จังหวัดชัยนาท มีเด็กและเยาวชน จานวน 90,604 ราย คิดเป็นร้อยละ 28.06 แยกเป็นชาย
46,281 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.08 เป็นหญิง 44,323 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 48.91 (ข้อมลู ปกครองจังหวดั ชัยนาท
ณ เดือนสิงหาคม 2562) ปัญหาที่พบมีเด็กแรกเกิดท่ีต้องได้รับการดูแล จานวน 5,760 ราย (ข้อมูลปีงบประมาณ
2562) ได้รับสิทธิ จานวน 5,117 ราย ไม่ได้รับสิทธิ จานวน 26 ราย และอยู่ระหว่างพิจารณา จานวน 527 ราย
ครอบครวั สงเคราะห์ จานวน 19 ครอบครวั สถานรบั เลย้ี งเดก็ เอกชน จานวน 3 แหง่

เดก็ และเยาวชนจงั หวัดชัยนาท ชาย หญิง รวม
(คน) (คน) (คน)

เด็กและเยาวชน ๔6,281 ๔4,323 ๙0,604

,
,
,
,
,

() () ()

ขอ้ มูลจากปกครองจังหวัดชัยนาท ณ สงิ หาคม ๒๕๖2

6

2. สตรแี ละครอบครัว
ครอบครัวท่ีประสบปัญหาทางสังคมที่ได้รับความช่วยเหลือ มีแนวโน้มมากขึ้นในปี พ.ศ. 2 562

จานวนทง้ั หมด 1,031 ราย

1. เงินสงเคราะห์ผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน จานวน 366 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.49
(ข้อมูลจากสานักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวัดชัยนาท ณ วนั ที่ 31 สิงหาคม 2562)

2. เงินสงเคราะห์ค่าจัดการศพตามประเพณี จานวน 2 ราย คดิ เป็นร้อยละ 0.19 (ข้อมลู จากสานักงาน
พัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวัดชยั นาท ณ วันท่ี 31 สิงหาคม 2562)

3. เงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากลาบาก จานวน 197 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.10 (ข้อมูลจาก
สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวัดชัยนาท ณ วนั ท่ี 31 สงิ หาคม 2562)

4. เงินสงเคราะห์ครอบครัวอปุ ถมั ภ์ จานวน 19 คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.84 (ขอ้ มูลจากสานกั งานพัฒนาสงั คม
และความม่นั คงของมนษุ ย์จังหวดั ชยั นาท ณ วนั ที่ 31 สิงหาคม 2562)

5. เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน จานวน 322 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.23 (ข้อมูลจาก
สานกั งานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวัดชยั นาท ณ วันท่ี 31 สิงหาคม 2562)

6. เงินสงเคราะห์และฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ จานวน 125 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.12 (ข้อมูลจาก
สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวัดชยั นาท ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2562)

7

3. ผู้สูงอายุ

ในจังหวัดชัยนาท มีจานวนประชากรผู้สูงอายุ (เฉพาะสัญชาติไทย) แยกเพศชาย 29,067 คน คิดเป็น
ร้อยละ 9.00 แยกเพศหญิง 38,956 คน คิดเป็นร้อยละ 12.06 รวมทั้งส้ิน 68,023 คน คิดเป็นร้อยละ 21.07
ของจานวนประชากรทัง้ หมดของจังหวัดชยั นาท (ข้อมูลจากปกครองจงั หวัดชัยนาท ณ เดือนสิงหาคม 2562)

ผสู้ ูงอายุจังหวัดชัยนาท ชาย หญิง รวม
ผูส้ งู อายุ (คน) (คน) (คน)

29,067 38,956 68,023

,
,
,
,
,
,
,

() () ()

ข้อมูลจากปกครองจังหวดั ชัยนาท ณ สิงหาคม ๒๕๖2

8

4. คนพกิ าร
จังหวัดชัยนาท มีจานวนคนพิการ 14,264 คน คิดเป็นร้อยละ 4.41 จากจานวนประชากร

จังหวัดชัยนาท แยกเป็นชาย 6,848 คน คิดเป็นร้อยละ 2.12 แยกเป็นหญิง 7,416 คน คิดเป็นร้อยละ 2.29
(ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 31 สิงหาคม 2562) ปัญหาท่ีพบของคนพิการ การเคลื่นไหวทางดา้ นร่างกาย มีจานวน 8,054 ราย
รองลงมา การได้ยินหรือสื่อความหมาย จานวน 3,050 ราย การมองเห็น จานวน 1,008 ราย จิตใจหรือพฤติกรรม
จานวน 805 ราย สติปัญญา จานวน 796 ราย พิการซ้อน จานวน 472 ราย ออทิสติก จานวน 43 ราย และ
พิการทางการเรียนรู้ จานวน 37 ราย ตามลาดบั (ข้อมลู ศูนย์บรกิ ารคนพิการจงั หวดั ชยั นาท สิงหาคม 2562)

ผพู้ ิการจังหวัดชัยนาท ชาย หญิง รวม
คนพกิ าร (คน) (คน) (คน)

๖,๘๔7 ๗,๔18 ๑๔,265

,
,
,
,
,พ
,
,
,

() () ()

ข้อมูลจากศูนยบ์ ริการคนพกิ ารจังหวดั ชัยนาท ณ สงิ หาคม ๒๕๖2

9

ตารางแสดงจานวนคนพกิ าร จาแนกตามประเภทความพกิ าร

ประเภท ช่วงอายุ ชาย หญิง รวม รอ้ ยละ
507 501 1,008 7.06
1 พิการทางการเหน็ 1,553 1,497 3,050 21.38
3,581 4,473 8,054 56.46
2 พกิ ารทางการไดย้ นิ หรือส่ือความหมาย 466 339 805 5.64
423 373 796 5.58
3 พิการทางการเคลื่อนไหวหรอื ทางรา่ งกาย 22 15 37 0.25
35 8 43 0.30
4 พิการจติ ใจหรือพฤติกรรม 260 212 472 3.30
6,847 7,418 14,265 100.00
5 พิการทางสตปิ ัญญา

6 พิการทางการเรียนรู้

7 พกิ ารทางการออทสิ ตกิ

8 พิการซา้ ซ้อน

รวม

9000 พ
8000 พ
7000 พ
6000 พพ
5000 พ
4000 พ
3000 พ
2000 พ
1000

0

ท่มี า : ศนู ย์บรกิ ารคนพกิ ารจังหวัดชัยนาท (ขอ้ มลู ณ เดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖2)

10

5. คนไร้ที่พง่ /ผู้ดอ้ ยโอกาส
จังหวัดชัยนาท มีคนไร้ที่พ่ึงและผูด้ ้อยโอกาส รวมจานวน 688 คน คดิ เป็น 0.21 จากประชากรทั้งหมด

จังหวัดชัยนาท โดยแยกเป็นคนเร่ร่อน จานวน 22 คน ผู้แสดงความสามารถ จานวน 10 คน ไม่มีสถานะทาง
ทะเบยี นราษฎร จานวน 61 คน ผู้พ้นโทษ จานวน 595 คน ซง่ึ ในปีพ.ศ. 2561 -2562 มีแนวโนม้ ลดน้อยลง

คนไร้ทพ่ี ง่ และผู้ด้อยโอกาส จานวน
(คน)
คนเรร่ ่อน 22
ผ้แู สดงความสามารถ 10
ไม่มสี ถานะทางทะเบียนราษฎร 61
595
ผพู้ น้ โทษ 688
รวม

600 พ
500
400
300
200
100

0

()

ขอ้ มูลจากศนู ยค์ ุม้ ครองคนไรท้ พี่ ง่ จังหวดั ชยั นาท สิงหาคม 2562

11

6. ค้ามนุษย์
สถานการณ์การค้ามนุษย์จังหวัดชัยนาท เป็นท้ัง 3 สถานะต้นทาง มีประชากรในพ้ืนท่ีออกไปหางานทา

ตามจังหวัดอ่ืนๆ ทมี่ คี วามเจริญมากกวา่ สถานะทางผ่าน มีกลุ่มแรงงานทีใ่ ชเ้ สน้ ทางจงั หวัดชัยนาท เพือ่ เคลอ่ื นย้ายไป
ยังจังหวดั อ่ืนๆ และสถานะปลายทาง คือกลุ่มแรงงานที่มารับจ้างในพ้ืนท่ีจังหวัดชัยนาท แต่ยังไม่ปรากฏสถานการณ์
รนุ แรง เนอื่ งจากจังหวดั ชัยนาท เป็นจงั หวดั สังคมเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ โรงงานอุตสาหกรรมมีนอ้ ย ไมม่ อี าณาเขต
ตดิ ต่อกับตะเข็บชายแดน จงึ ปรากฏสถานการณก์ ารค้ามนษุ ยไ์ มม่ ากนัก โดยในปงี บประมาณ 2562 จังหวัดชยั นาท มี
การดาเนินคดี ในความผิดฐานการค้ามนุษย์ จานวน 1 ราย มผี เู้ สียหายจากการค้ามนษุ ย์ จานวน 1 ราย เป็นเด็กหญิง
อายุต่ากว่า 18 ปี มีสัญชาติไทย รูปแบบการคา้ มนุษย์ โดยการแสวงผลประโยชนจ์ ากการค้าประเวณี

7. ทีอ่ ยอู่ าศยั
จังหวัดชัยนาท พบว่าปัญหาเร่ืองท่ีอยู่อาศัยไม่ม่ันคง/สภาพที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมต่อการพักอาศัย

มี แ ผ น ซ่ อ ม บ้ า น ท้ั งห ม ด 6 3 ห ลั ง ซึ่ งท างส า นั ก งา น พั ฒ น าสั งค ม แ ล ะ ค ว า ม ม่ั น ค งข อ งม นุ ษ ย์
จังหวัดชัยนาท ได้ดาเนินการซ่อมบ้านคนพิการ จานวน 4 หลัง เป็นเงิน 80,000 บาท ซ่อมบ้านผู้สูงอายุ
จานวน 59 หลัง เป็นเงิน 1,305,000 บาท ซึ่งจังหวัดชัยนาทได้เร่งซ่อมแซมปรับปรุงท่ีอยู่อาศัย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ที่อยู่อาศัยจงั หวดั ชัยนาท จานวน
(หลัง)
ซ่อมบ้านคนพิการ
โครงการปรบั สภาพแวดล้อมและ 4
ส่งิ อานวยความสะดวกของผู้สูงอายุ
59
รวม
63

๒๕ ่อมบ้านคนพิการ
๒ โครงการปรับสภาพแวดลอ้ มและ
๕ สง่ิ อานวยความสะดวกของผสู้ งู อายุ


จานวน (หลงั )

ข้อมูลจาก สานกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จงั หวดั ชัยนาท
ศูนยบ์ รกิ ารคนพกิ ารจังหวดั ชัยนาท ณ สิงหาคม ๒๕๖2

ส่วนท่ี 2
ขอ้ มลู ท่วั ไปของจังหวดั ชัยนาท

12

2.1 ขอ้ มูลกายภาพของจงั หวัด พืนที่ การปกครอง องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ

วสิ ยั ทัศน์ : เมอื งเกษตรมาตรฐาน ย่านท่องเทีย่ วเพอื่ การเรยี นรู้ มงุ่ สู่สิ่งแวดลอ้ มสมดุลและสงั คมเปน็ สุข
คานยิ าม

เมืองเกษตรมาตรฐาน หมายถึง เมืองท่ีผลผลิตทางการเกษตรที่มีศักยภาพ มีความปลอดภัย ได้มาตรฐาน
ตามกระบวนการตรวจประเมนิ ของสินค้าเกษตรแตล่ ะชนดิ

ย่านท่องเท่ียวเพื่อการเรียนรู้ หมายถึง การท่องเท่ียวท่ีมีจุดประสงค์สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาใน
ชุมชนให้เกิดความย่ังยืน มีการจัดกิจกรรมและท่องเที่ยวท่ีสอดคล้องและสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
ตลอดจนวิถชี ีวติ ในชมุ ชนในเชงิ การเรียนรู้

ส่งิ แวดล้อมสมดุล หมายถงึ ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ และคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ มอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน
สังคมเป็นสุข หมายถึง คนในสังคมมีสุขภาพดี มีความรู้/โอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ครอบครัวอบอุ่น
มีอาชพี และรายไดม้ ่ันคง ชมุ ชนเขม้ แข็ง มีความปลอดภยั ในชวี ิต และทรัพยส์ นิ
วัตถุประสงคภ์ าพรวม
เศรษฐกิจของจงั หวดั ขยายตวั เพมิ่ ขึ้น
ทรัพยากรธรรมชาตอิ ดุ มสมบูรณ์ และคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน
ประชาชนมคี วามสขุ เพ่ิมขึ้น
ตวั ชีวัดความสาเรจ็ ตามเป้าหมายการพัฒนาจังหวัด
อัตราการขยายตัวของผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวดั (GPP)
อัตราการเปล่ยี นแปลงของพ้ืนท่ีป่า
รอ้ ยละที่ลดลงของปริมาณการเกดิ ขยะมลู ฝอยชุมชน
ร้อยละของขยะมูลฝอยชมุ ชนท่ีถูกจากัดอยา่ งถกู หลกั วิชาการ
คะแนนเฉลีย่ ความสุขของประชาชน
ประเดน็ การพฒั นาของจังหวดั
การพัฒนาการผลิต การแปรรปู การตลาดและระบบ Logistics สนิ คา้ เกษตรมาตรฐาน
การเพ่ิมศกั ยภาพด้านทอ่ งเทีย่ วเพ่ือการเรยี นรูแ้ ละวิถชี วี ติ ชมุ ชน
การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรปา่ ไม้ นา้ สตั ว์นา้ และสง่ิ แวดล้อมอย่างสมดลุ และยั่งยืน
การพัฒนาคณุ ภาพคน และเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงปลอดภยั ทางสังคม

13

ตราประจาจังหวัดชัยนาท

ประกอบดว้ ย : รปู ธรรมจกั รรองรบั ด้วยพญาครฑุ เบ้ืองหลังเปน็ แม่นา้ และภูเขา
รูปพระธรรมจกั ร : สัญลกั ษณร์ ูปธรรมจักรท่ฝี ่าพระหัตถข์ ้างขวาของหลวงพ่อธรรมจักร

รูปพญาครุฑ (พระพุทธรูปปางห้ามญาติ) ท่ปี ระดิษฐานอยู่ ณ บรเิ วณวดั ธรรมามูล วรวิหาร
แม่นาและภูเขา (พระอารามหลวง) ตั้งอยู่บนไหลเ่ ขาธรรมมามูลท่ชี าวชยั นาท
มคี วามศรัทธาเคารพนับถอื เปน็ พระสาคัญประจาเมืองชยั นาท
: มีความหมายวา่ “แมน้ แต่พญาครุฑศักดานุภาพก็ยงั ซาบซง้ึ
ในพระธรรมจักรอันเปน็ สัญลักษณส์ ูงสุดของพระศาสนา”
: เพ่อื แสดงให้เหน็ สภาพทางภมู ิศาสตร์ของจังหวัดชยั นาท

ภาพประกอบที่ 1 สัญลักษณป์ ระจาจงั หวดั ชัยนาท

ธงประจาจังหวดั ชยั นาท ดอกไมป้ ระจาจงั หวดั ชือ่ ดอกไม้ ดอกชัยพฤกษ์

ตน้ ไมป้ ระจาจังหวัด ตน้ มะตมู

14

ภาพประกอบท่ี 2 แผนที่จงั หวดั ชยั นาท

อาเภอหนองมะโมง อาเภอวดั สิงห์ อาเภอเมอื ง อาเภอมโนรมย์

จานวน 4 ตาบล จานวน 6 ตาบล ชัยนาท จานวน 7 ตาบล

1.ตำบลหนองมะโมง 1.ตำบลมะขำมเฒ่ำ จานวน 8 ตาบล 1.ตำบลคุง้ สำเภำ

2.ตำบลวงั ตะเคียน 2.ตำบลหนองนอ้ ย 1.ตำบลบำ้ นกลว้ ย 2.ตำบลวดั โคก
3.ตำบลสะพำนหิน 3.ตำบลบ่อแร่ 3.ตำบลท่ำฉนวน
4.ตำบลกุดจอก 4.ตำบลวงั หมนั 2.ตำบลเขำท่ำพระ 4.ตำบลศิลำดำน
5.ตำบลหนองบวั 3.ตำบลธรรมำมลู 5.ตำบลไร่พฒั นำ
6.ตำบลหนองข่นุ 4.ตำบลเสือโฮก 6.ตำบลหำงน้ำสำคร
5.ตำบลทำ่ ชยั 7.ตำบลอู่ตะเภำ
6.ตำบลชยั นำท
7.ตำบลหำดท่ำเสำ
8.ตำบลนำงลือ

อาเภอสรรพยา

จานวน 7 ตาบล

1.ตำบลบำงหลวง

2.ตำบลสรรพยำ
3.ตำบลโพนำงดำตก
4.ตำบลเขำแกว้
5.ตำบลโพนำงดำออก
6.ตำบลหำดอำษำ
7.ตำบลตลุก

อาเภอเนนิ ขาม อาเภอหนั คา อาเภอสรรคบุรี
ตาบล 3 ตาบล
จานวน 8 ตาบล จานวน 8 ตาบล
1.ตำบลเนินขำม
1.ตำบลหนั คำ 1.ตำบลแพรกศรีรำชำ
2.ตำบลกะบกเต้ีย
3.ตำบลสุขเดือนหำ้ 2.ตำบลหว้ ยงู 2.ตำบลเที่ยงแท้
3.ตำบลบำ้ นเช่ียน 3.ตำบลดงคอน
สรุป 8 อำเภอ 4.ตำบลหนองแซง 4.ตำบลหว้ ยกรด
1 อบจ. 5.ตำบลไพรนกยงู 5.ตำบลหว้ ยกรดพฒั นำ
38 เทศบำล 6.ตำบลสำมง่ำมท่ำ 6.ตำบลดอนกำ
21 อบต. โบสถ์ 7.ตำบลบำงขดุ
7.ตำบลวงั ไก่เถ่ือน 8.ตำบลโพงำม
8.ตำบลเด่นใหญ่

15

คาขวญั ประจาจังหวดั ชยั นาท

“หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจา้ พระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา”

หลวงปู่ศุข ลือชา หมายถึง พระครูวิมลคุณากร (ศุข) พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง เป็นที่เคารพสักการะ
ของชาวชัยนาทและชาวไทยท่ัวประเทศ ว่าทรงวิทยาคุณสูงส่งในทุกๆ ด้าน มีเมตตามหานิยมสูง อีกทั้งเป็น
พระอาจารย์ของสมเดจ็ กรมหลวงชุมพรเขตอดุ มศักดิ์

เข่ือนเจ้าพระยา ลือช่ือ หมายถงึ เขื่อนเจ้าพระยา เป็นเข่ือนแห่งแรกของประเทศไทยเป็นเข่ือนทดน้าที่ใหญ่
ที่สุดในประเทศไทย ใหป้ ระโยชน์กว้างขวางในด้านเกษตรกรรม เศรษฐกจิ และการปอ้ งกนั อทุ กภัย

นามระบือ สวนนก หมายถึง สวนนกจังหวัดชัยนาท มีกรงนกที่ใหญ่ท่ีสุดในเอเชียมีนกนานาชนิด
มหี ุ่นฟางนกจัดแสดงใหช้ มตลอดปี เปน็ สถานทีจ่ ดั งานมหกรรมหนุ่ ฟางนก

ส้มโอดก ขาวแตงกวา หมายถึง ส้มโอพันธ์ุขาวแตงกวา ซ่ึงเป็นส้มโอที่มีรสชาติดีท่ีสุด มีต้นกาเนิดท่ีอาเภอ
มโนรมย์ จังหวัดชัยนาท ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ ฯ ชาวบา้ นไดน้ าสม้ โอพนั ธ์ุขาวแตงกวาถวายพระองค์
ทา่ นเม่ือคราวที่พระองค์เสด็จประพาสเมืองชัยนาท เมื่อปี พ.ศ. 2449 ทรงตรัสชมว่า เป็นส้มโอท่ีอรอ่ ยมาก จึงเป็นท่ี
เลื่องลือ และขยายพันธุ์ไปปลูกกันแพร่หลายท้ังจังหวัด แม้จะไดน้ าไปปลูกท่ีจังหวัดอ่ืนจะไมอ่ ร่อยเหมือนปลกู ท่ีจังหวัด
ชัยนาท ดว้ ยเหตทุ ี่ลกั ษณะของดินแตกตา่ งกนั

ชัยนาท แปลตามศัพท์มีความหมายว่า ชัยชนะที่มีเสียงบันลือ เป็นเมืองโบราณเมืองหน่ึง ตัวเมืองเดิมอยู่
บริเวณฝ่ังขวาแม่น้าเจ้าพระยาท่ีปากคลองแพรกศรีราชาใต้ปากลาน้าเก่า ต้ังขึ้นหลังเมืองพันธุมวดี (สุพรรณบุรี)
เป็นเมืองหน้าด่านของกรุงสุโขทัย สร้างในสมัยพญาเลอไทแห่งกรุงสุโขทัย ระหว่าง พ.ศ. 1860 - 1879 เมืองๆ นี้
จึงได้ช่ือวา่ เมืองแพรก หรือเมืองสรรค์ มีฐานะเป็นเมอื งหนา้ ดา่ นทางใต้ เมอื่ กรุงสุโขทยั เสื่อมอานาจลง เมืองแพรกได้
กลายเป็นเมืองหน้าด่านทางตอนเหนือของกรุงศรีอยุธยา ต่อมาได้เกิดชุมชนใหม่ไม่ไกลจากเมืองสรรค์ มี
เจ้าสามพระยาเปน็ ผู้ครองเมือง

ซ่ึงต่อมาได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เมืองที่เกิดข้ึนใหม่นี้
เปน็ เมืองใหญ่ มีช่อื วา่ ชัยนาท ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว ได้ยา้ ยตัวเมืองจากบริเวณแหลมยาง
มาต้ังตรงฝ่ังซ้ายแม่น้าเจ้าพระยา ส่วนเมืองสรรค์น้ันเสื่อมลงเรื่อยๆ เพราะผู้คนอพยพมาอยู่ที่ชัยนาท เป็นส่วนใหญ่
ในท่ีสุดก็กลายเป็นเพียงอาเภอหน่ึงของชัยนาทเท่าน้ัน ชัยนาทเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่สาคัญเคยใช้เป็นท่ีตั้งทัพรับศึก
พม่าหลายครั้ง และมีชัยทุกคร้ังไป จึงเป็นที่มาของช่ือ เมืองชัยนาทแห่งน้ี นอกจากชัยนาทจะเป็นเมืองท่ีมี
ประวตั ศิ าสตร์มายาวนาน แต่ปจั จบุ นั ชัยนาทกม็ ชี ื่อเสยี งและมีสินค้าดา้ นหัตถกรรมการจักสาน การปัน้ การทอ การทา
เครื่องเบญจรงค์ ท่ีมีฝีมือประณีต รูปแบบทันสมัย ราคาย่อมเยา มีตลาดการจาหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ
โดยฝีมอื ของชาวบ้านกลุ่มตา่ งๆ อกี ดว้ ย

16

1. สภาพท่ัวไปของจังหวดั ชัยนาท

1. ความเปน็ มา
เมืองชัยนาทเป็นเมืองโบราณ ตัวเมืองเดิมต้ังอยู่ตรงทางแยกฝั่งขวาของแม่น้าเจ้าพระยาท่ีปากน้า

เมืองสรรค์ (ปากคลองแพรกศรรี าชาใตป้ ากลาน้าเก่า) เมืองนี้ต้ังข้ึนภายหลังเมืองพันธุมวดี (สุพรรณบุรี) เป็นเมอื งหน้า
ด่านของกรุงสุโขทัย จากศิลาจารึกสมัยพ่อขุนรามคาแหงมีแต่ชื่อเมืองแพรก ส่วนเมืองชัยนาท เพิ่งมาปรากฏ
ในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 เม่ือ พ.ศ.1890 ซ่ึงเป็นปีท่ีพระเจ้าเลอไทสวรรคต กรุงสุโขทัยเกิดการแย่งชิง
ราชสมบัตสิ มเด็จ พระรามาธิบดีท่ี 1 ทรงเห็นเป็นโอกาสเหมาะ จึงยกกองทัพเข้ายึดเมืองชัยนาท หลังจากพระยาลิไท
ข้ึนครองราชย์ ทางกรุงศรีอยุธยาซึ่งสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 ได้สถาปนาให้เป็นราชธานีมีกาลังเข้มแข็งมาก จึงได้
โปรดให้ขุนหลวงพะงั่วซึ่งครองเมืองสุพรรณบุรียกทัพมาตีเมืองชัยนาท ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านของกรุ งสุโขทัย
เมอื งชัยนาทจงึ ตกเป็นเมืองขึ้นของกรงุ ศรีอยธุ ยา โดยมขี ุนหลวงพะง่วั เปน็ ผรู้ ักษาเมอื ง เมอื่ กรุงสุโขทัยสงบแล้ว พระยา
ลิไทได้ส่งทูตมากรุงศรีอยุธยา เพ่ือเจรจาขอเมืองชัยนาทคืนให้แก่กรุงสุโข ทัย โดยจะยอมให้เป็นอิสระและ
มีสัมพันธไมตรีต่อกัน กล่าวคือ ต่างฝ่ายต่างก็มีอิสระต่อกัน ในที่สุดกรุงศรีอยุธยาได้คืนเมืองชัยนาทให้แก่กรุงสุโขทัย
นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าการท่ีแคว้นกัมพุช (ลพบุรี) เข้าร่วมในการรบ ประกอบกับกรุงศรีอยุธยากาลังสถาปนา
ได้ไม่นาน ถา้ มีศึกขนาบสองดา้ นจะสรา้ งปัญหาให้ไมน่ ้อย ด้วยเหตุผลนเี้ องท่ีทาให้กรุงศรีอยุธยาคนื เมืองชัยนาทแกก่ รุง
สโุ ขทยั โดยดี

สาหรับเมืองชัยนาทนี้ จะได้นามมาแต่เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานท่ีแน่นอน ถ้าจะแปลความหมายของ
“ชัยนาท” ก็น่าจะได้ความว่า เมืองท่ีมีชื่อเสียงในทางความมีชัย เป็นที่สันนิษฐานว่าชื่อเมืองชัยนาทน้ีคงจะได้ตั้งขึ้น
ภายหลังจาก พ.ศ.1702 แต่คงไม่ถึง พ.ศ.1946 กล่าวคือ ขุนเสือ ขวัญฟ้า หรือเจ้าคาฟ้า กษัตริย์เมืองเมาเข้าทา
สงครามกบั อาณาจักรโยนกเจ้าเมืองฟงั คา ซ่ึงเป็นเมืองหนึ่งในอาณาจักรโยนก หลังจากฟงั คาแตก เจ้าเมอื งฟังคาจึงอพยพ
ผู้คนลงมาที่เมืองแปบ (กาแพงเพชร) แล้วสร้างเมืองตรัยตรงึ ษ์ ทต่ี าบลแพรก (ต.แพรกศรีราชาในปัจจุบัน) หลังจากนั้น
คงจะได้สร้างเมืองชัยนาทข้ึน และเหตุที่ต้ังช่ือชัยนาทคงเน่ืองจากการรบชนะเจ้าของท้องถ่ินเดิม ส่วนท่ีกล่าวว่านาม
ชัยนาทคงจะได้มาก่อน พ.ศ.1946 นั้น เนื่องจากสมเด็จพระนครินทราธิราชได้โปรดให้เจ้าสามพระยาไปครองเมือง
ชยั นาท ตามความในประวัตศิ าสตร์ พอจะเป็นสิ่งทีส่ ันนิษฐานกันได้วา่ คาวา่ ชัยนาท คงจะได้ช่ือมากอ่ นปี พ.ศ.1946
อย่างไรก็ตาม คาว่า “ชัยนาท” ก็เป็นนามท่ีเป็นสิริมงคลมาแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบัน เพราะชัยนาทก็ยังบันลือไป
ด้วยชัยชนะต่อความอดอยากหิวโหย ยังความผาสุกให้แก่ชาวชัยนาทและจังหวัดใกล้เคียงตลอดลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
แมน่ า้ ทา่ จีนและแม่น้านอ้ ย จนถึงปัจจุบัน

17
2. ลักษณะทางกายภาพ

(1) ทต่ี ังและอาณาเขต
จังหวัดชัยนาท ตั้งอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 ประกอบด้วย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด
อ่างทอง สิงห์บุรี ลพบุรีและชัยนาท ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 195 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกบั จังหวัด
ต่าง ๆ ดงั น้ี
ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับ จงั หวดั นครสวรรค์ และจงั หวดั อุทยั ธานี
ทิศใต้ ติดตอ่ กับ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี และจงั หวัดสิงห์บุรี
ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกบั จังหวดั นครสวรรค์ และจงั หวัดสงิ ห์บรุ ี
ทิศตะวันตก ติดต่อกบั จังหวัดสพุ รรณบรุ ี และจงั หวดั อทุ ัยธานี

(2) ขนาดและพืนท่ี
พ้ืนท่ีจังหวัดท้ังหมด 2,469.746 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,543,591 ไร่ หรือ

เท่ากับรอ้ ยละ 15.5 ของพืน้ ทใ่ี นภาคกลางตอนบน

(3) สภาพภูมิประเทศ

จังหวัดชัยนาทมีลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นพ้ืนท่ีราบลุ่ม มีพ้ืนที่ประมาณ ร้อยละ
99.06 ของพื้นที่ท้ังหมด ได้แก่ พื้นที่ตอนกลาง ตอนใต้และตะวันออก ภูมิประเทศของจังหวัดมีลักษณะเป็นท่ีราบ
จนถงึ พืน้ ท่ลี ูกคลืน่ ลอนลาด มีแม่น้าเจ้าพระยา แมน่ ้าท่าจีน แมน่ า้ น้อย ไหลผ่านพื้นทอ่ี าเภอ ตา่ งๆ เช่น

- แม่น้าเจ้าพ ระยา ไหลผ่านอาเภ อมโนรมย์ อาเภ อวัดสิงห์ อาเภ อเมืองชัยนาท และ
อาเภอสรรพยา ไปจังหวดั สิงห์บุรี ระยะทางประมาณ 74 กิโลเมตร

- แม่น้าท่าจีนหรือแม่น้ามะขามเฒ่า ไหลผ่านอาเภอวัดสิงห์ อาเภอเมืองชัยนาทและอาเภอหันคา
ไปจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ระยะทางประมาณ 40 กโิ ลเมตร

18

- แม่น้าน้อย ไหลผ่านอาเภอเมืองชัยนาท และอาเภอสรรคบุรี ไปจังหวัดสิงห์บุรี ระยะทาง
ประมาณ 30 กิโลเมตร

- คลองชลประทาน ซึ่งมีหลายสายไหลผ่านพื้นที่ต่างๆ ประกอบด้วย คลองอนุศาสนนันท์ คลองมหาราช
คลองพลเทพ เปน็ ต้น

นอกจากลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบแล้ว ยังมีเนินเขาเล็กๆ ขนาดประมาณ 1 - 3 กิโลเมตร
กระจายอยู่ทั่วไป ท่ีสาคัญ ได้แก่ เขาธรรมามูล เขาพลอง เขาขยาย เขาท่าพระ เขากระดี่ เขาใหญ่ เขารัก เขาดิน
เขาหลกั เขาไก่ห้อย เขาสารพัดดี เขาราวเทียน เขาสรรพยาและเขาแก้ว เป็นต้น

(4) สภาพภูมอิ ากาศ

จงั หวัดชยั นาทอยภู่ ายใต้อทิ ธพิ ลของลมมรสุมท่ีพัดผา่ นประจาฤดู ทาใหส้ ามารถแบง่ ฤดูกาลออกได้ 3ฤดู คือ
(1) ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนที่มีคุณสมบัติเย็นและแห้งจะ
แผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยในช่วงนี้ แตเ่ น่ืองจากจังหวัดชัยนาทอยู่ในภาคกลาง อิทธิพลของบริเวณความกดอากาศ
สงู จากประเทศจีนที่แผ่ลงมาปกคลุมในช่วงฤดูหนาวจะช้ากวา่ ภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้มีอากาศ
หนาวเย็นช้ากว่าสองภาคดังกล่าว โดยเริ่มมีอากาศหนาวเย็นประมาณกลางเดือนพฤศจิกายน เป็นต้นไป
ซึ่งอากาศหนาวที่สดุ จะอยรู่ ะหว่างเดอื นธนั วาคม และมกราคม
(2) ฤดูร้อน เริ่มเมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลง คือประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์
ถงึ กลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงว่างจากลมมรสุม ลมท่ีพัดปกคลุมจะเปลี่ยนเป็นลมใต้หรือลมตะวันออกเฉียงใต้
และจะมีหย่อมความกดอากาศต่าเน่ืองจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทาให้มีอากาศร้อนอบอ้าวทั่วไป
และมฝี นตกฟ้าคะนองไดเ้ ปน็ บางแห่ง โดยจะมอี ากาศรอ้ นจดั ในเดือนเมษายน
(3) ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นช่วงท่ีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
พัดปกคลุมประเทศไทย ร่องความกดอากาศต่าหรือร่องฝนที่พาดผ่านบริเวณภาคใต้ของประเทศไทยจะเลื่อนขึ้นมา
พาดผ่านบริเวณภาคกลางและภาคเหนือเป็นลาดับ ในระยะน้ีทาให้มีฝนตกชุกข้ึนตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป
เดอื นกนั ยายน เป็นเดือนที่มฝี นตกชกุ มากท่ีสดุ ในรอบปแี ละเปน็ ชว่ งทมี่ ีความช้นื สงู
ตาราง : แสดงข้อมูลปริมาณนาฝนและจานวนวนั ท่ีมฝี นตก

ปี พ.ศ. รายการข้อมูล สัดส่วนปรมิ าณ
ปริมาณท่ฝี นตก (มม.) จานวนวันฝนตกในรอบ(วนั ) นาฝนท่ีตกในรอบปี

2552 1,087.8 106 10.26
2553 1,417.2 106 13.37

2554 1,206.2 113 10.67
2555 1,077.8 95 11.35
2556 1,285.3 96 13.39

2557 1,024.8 90 11.39
2558 985.8 97 10.16

2559 1,246.3 102 12.21

2560 618.90 65 9.52
7.76
2561 791.9 102

ที่มา : สถานอี ตุ ุนยิ มวทิ ยาชัยนาท (ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562)

19

(5) การใชท้ ่ีดนิ

จังหวัดชัยนาทมีพ้ืนท่ี 2,469.746 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,543,591 ไร่ จาแนกการใช้

ประโยชน์ ดังน้ี

ตาราง : การจาแนกการใชป้ ระโยชนพ์ ืนที่

อาเภอ พืนท่ีทังหมด พืนทกี่ ารเกษตร พืนทอ่ี ยอู่ าศยั ทส่ี าธารณะ พนื ทีอ่ นื่

เมืองชัยนาท 159,610 137,716 12,412 8,237 1,245
มโนรมย์ 141,027 97,513 5,087 1,387 37,040
วดั สิงห์
197,074 165,118 8,504 8,797 14,765

สรรพยา 142,673 121,196 10,118 6,130 5,229

สรรคบุรี 221,748 187,800 15,477 3,830 14,641

หันคา 330,834 239,135 21,021 4,552 66,126
หนองมะโมง 181,875 158,032 3,333 1,378 19,032
เนินขาม
168,750 132,228 7,460 1,302 27,864
รวม 1,543,591 1,238,638 83,412 35,613 185,942

ท่มี า : สานักงานเกษตรจังหวัดชยั นาท, 2560 - 2561 (ขอ้ มูล ณ พฤษภาคม 2560 - 2561)

5.1 พนื ที่เกษตรกรรม

ในส่วนของพื้นที่เกษตรกรรม 1,238,638 ไร่ ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 80.24 ของพ้ืนท่ีจังหวัด

พน้ื ท่ีส่วนใหญ่อยู่ในเขตชลประทาน 776,207 ไร่ หรือคดิ เป็นร้อยละ 62.66 ของพื้นที่การเกษตร การใชป้ ระโยชน์

พ้ืนทก่ี ารเกษตรสามารถจาแนกได้ ดงั น้ี

ตาราง : การจาแนกตามการใช้พนื ท่ีเพอื่ การเกษตรของจงั หวดั ปี 2560/2561

อาเภอ พืนที่ ข้าว พืชไร่ ไม้ผล ไม้ดอก พชื ผัก ทุ่งหญา้ ไม้โตเร็ว เกษตร
การเกษตร ไม้ อาหาร อื่นๆ

ประดบั สตั ว์

เมืองชยั นาท 137,716 116,778 3,348 8,780 126 669 822 2,356 4,837

มโนรมย์ 97,513 73,802 9,268 4,803 255 970 260 755 7,316

วดั สิงห์ 165,018 120,954 29,580 1,350 10 182 - 3,993 8,992
- 397 1,593
สรรพยา 121,196 109,193 - 6,129 1,022 2,862

สรรคบุรี 187,800 172,213 3,708 7,633 260 562 182 - 3,242

หนั คา 239,135 160,055 65,847 6,922 25 104 450 4,607 1,125
หนองมะโมง 158,032 68,622 72,518 462 22 221 14,575 843 769

เนินขาม 132,228 15,986 111,766 310 5 12 - 2,654 1,494

รวม 1,238,638 837,603 296,033 36,389 1,725 5,582 16,289 15,605 29,368

20

ทมี่ า : สานกั งานเกษตรจงั หวัดชยั นาท, 2560 - 2561 (ข้อมลู ณ พฤษภาคม 2560 - 2561)

5.2 พืนท่ีปา่ ไม้
จังหวัดชัยนาทมีพื้นที่ป่าไม้ในช่วงปี 2551 -2558 ลดลงจาก 47,887.50 ไร่

เหลือ 38,906.54 ไร่ โดยมปี ่าสงวนแห่งชาติ มี 2 ปา่ คอื
(1) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาชอ่ งลม และป่าเขาหลัก ประกาศตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 188

(พ.ศ.2506) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า พ.ศ. 2481 เน้ือที่ประมาณ 54.99 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 34,368.75 ไร่ อยู่ในท้องที่ตาบลหนองมะโมง ตาบลวังตะเคียน และตาบลสะพานหิน อาเภอหนองมะโมง
จังหวัดชัยนาท มีลักษณะเป็นภูเขาหินปูนลูกใหญ่ น้อย สภาพป่าเป็นป่าเบญจพรรณผสมป่าเต็งรัง มีไม้ขนาดเล็กถึง
ขนาดกลาง การปกคลุมเรือนยอดไม่หนาแน่น เน่ืองจากเป็น หน้าผาหินสูงชัน และมีหน้าดินต้ืน พรรณไม้เด่นท่ีพบ
ได้แก่ มะค่าโมง ตะเคียน ประดู่ แดง เขว้า สวอง เสลา เต็ง รัง รกฟ้า สะเดา พฤกษ์ มะค่าแต้ มะกอกป่า โมกมัน
เพกา เส้ียว และกระถินยกั ษ์ โดยมจี ันทน์ผา ข้นึ อยูท่ ว่ั ไปบริเวณหน้าผา

(2) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาราวเที ยน ประกาศตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 406
(พ.ศ.2512) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 เนอื้ ท่ีประมาณ 70.34 ตาราง-กโิ ลเมตร
หรือ 43,962 ไร่ อยใู่ นทอ้ งท่ตี าบลไพรนกยูง และตาบลเด่นใหญ่ อาเภอหันคา ตาบลเนนิ ขาม ตาบลสขุ เดือนห้า และ
ตาบลกะบกเตี้ย อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท มีลักษณะเป็นเทือกเขาลูกยาวต่อเน่ืองกัน สภาพป่าส่วนใหญ่เป็น
ป่าเบญจพรรณ และบางส่วนเป็นป่าเต็งรัง พรรณไม้เด่นที่พบ ได้แก่ ประดู่ ชิงชัน มะค่าแต้ เต็ง รัง ตะแบก แดง
สวอง มะกา มะม่วงหัวแมงวัน กระพี้จั่น กระโดน มะขามป้อม เปล้า โมกมัน และชงโค โดยมีไม้ไผ่รวกขึ้นกระจาย
อยทู่ ว่ั ไป

ข้อมลู การปกครอง

(1) เขตการปกครอง

แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 อาเภอ 51 ตาบล 505 หมู่บ้าน 39 เทศบาล

1 เทศบาลเมือง 38 เทศบาลตาบล และ 20 องคก์ ารบริหารส่วนตาบล

ตาราง : จานวนอาเภอ ตาบล หมบู่ ้าน เทศบาล อบต. ของจังหวัดชัยนาท

อาเภอ เขตการปกครอง อบต. พืนที่
ตาบล หม่บู า้ น เทศบาล (ตร.กม.)

อาเภอเมืองชัยนาท 8 82 7 2 255.377

อาเภอมโนรมย์ 7 40 4 4 255.644

อาเภอวัดสิงห์ 6 47 3 4 315.318

อาเภอสรรพยา 7 55 8 1 228.277

อาเภอสรรคบรุ ี 8 92 8 1 354.796

อาเภอหันคา 8 100 6 4 529.334

อาเภอหนองมะโมง 4 41 2 2 291.000

อาเภอเนินขาม 3 48 1 2 270.000

รวม 51 505 39 20 2,469.746

ที่มา : ท่ที าการปกครองชัยนาท (ข้อมลู ณ 31 สิงหาคม 2562)

21

2.2 ข้อมลู ด้านประชากร กล่มุ ประชากรเฉพาะ

ในปี 2560 จังหวัดชัยนาท มีประชากร 330,010 คน แยกเป็นชาย 158,900 คน
เป็นหญิง ๑๗1,110 คน พ้ืนท่ี 2,469.75 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร
134 คน

ตาราง : แสดงจานวนประชากรแยกรายเทศบาล / อาเภอ

จานวนประชากร อัตราส่วน
รายช่อื พนื ที่ ชาย หญิง รวม ประชากร
ต่อพืนท่ี
อาเภอเมืองชัยนาท 255.38 11,196 12,038 23,234
อาเภอมโนรมย์ 225.64 11,715 12,681 24,396 91
อาเภอวัดสงิ ห์ 315.32 10,819 11,543 22,362 108
อาเภอสรรพยา 228.28 15,488 16,545 32,033 71
อาเภอสรรคบรุ ี 354.80 30,205 32,800 63,005 140
อาเภอหันคา 529.33 20,366 21,660 42,026 178
อาเภอหนองมะโมง 6,496 6,542 13,038 79
อาเภอเนนิ ขาม 291 5,401 5,640 11,041 45
เทศบาลเมืองชัยนาท 270 5,692 6,557 12,249 41
เทศบาลตาบลนางลือ 6.06 3,691 4,036 7,727 2,021
เทศบาลตาบลเสือโฮก 51.11 3,699 3,949 7,648 151
เทศบาลตาบลหาดท่าเสา 43.19 2,521 2,631 5,152 177
เทศบาลตาบลชยั นาท 24.76 3,691 4,332 8,023 208
เทศบาลตาบลบา้ นกลว้ ย 30.20 3,254 3,577 6,831 266
เทศบาลตาบลหางน้าสาคร 20.72 3,068 3,259 6,327 330
เทศบาลตาบลคุ้งสาเภา 11.92 1,013 1,078 2,091 531
เทศบาลตาบลวัดสงิ ห์ 2.00 1,605 1,837 3,442 1,046
เทศบาลตาบลสรรพยา 2.00 1,529 1,668 3,197 1,721
เทศบาลตาบลโพธพิ์ ิทักษ์ 2.52 1,699 1,269
เทศบาลตาบลบางหลวง 0.77 794 899 5,621 2,199
เทศบาลตาบลแพรกศรรี าชา 24.97 2,658 2,963 2,668 225
เทศบาลตาบลหันคา 1.80 1,238 1,430 4,262 1,482
เทศบาลตาบลสามง่ามทา่ โบสถ์ 1.88 2,006 2,256 1,439 2,267
เทศบาลตาบลหนองแซง 4.75 708 731 7,759 303
เทศบาลตาบลวังตะเคยี น 112 3,824 3,935 6,642 69
เทศบาลตาบลเนินขาม 96.88 3,277 3,365 6,104 69
127.93 2,946 3,158 48
328,650
รวม 2,469.75 158,192 170,458 133
ที่มา : ทีท่ าการปกครองจังหวัดชยั นาท (ข้อมูล ณ 31 กันยายน 2561)

22

ขนาดของประชากรต่อพืน้ ท่ี พบว่า อาเภอสรรคบรุ ี มปี ระชากรหนาแน่นมากท่สี ุด คิดเป็นอัตราส่วน 1

ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 178 คน อาเภอที่มีประชากรหนาแน่นน้อยที่สุดคืออาเภอเนินขาม คิดเป็นอัตราส่วน 1

ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 41 คน เทศบาลท่ีมีประชากรต่อพ้ืนที่หนาแน่นมากที่สุดคือเทศบาลตาบลหันคา

คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 2,267 คน เทศบาลที่มีประชากรหนาแน่นน้อยที่สุดคือเทศบาล

ตาบลเนินขาม คดิ เป็นอัตราสว่ น 1 ตารางกิโลเมตรตอ่ ประชากร 48 คน

2.3 ขอ้ มลู ดา้ นเศรษฐกจิ ของจังหวดั และประชาชน
(1) โครงสรา้ งเศรษฐกจิ
เนื่องจากพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ของจังหวัดชัยนาทเป็นที่ราบลุ่มแม่น้า มีแม่น้าสาคัญไหลผ่าน 3 สาย คือ แม่น้า

เจ้าพระยา แม่น้าท่าจีน และแม่น้านอ้ ย จึงเหมาะสมสาหรบั การประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร ดังนนั้ ประชากรส่วนใหญ่
ประมาณร้อยละ 80 จึงประกอบอาชพี ทางดา้ นการเกษตรกรรม รองลงมา ได้แก่ ดา้ นการพาณิชย์ ประมาณร้อยละ 6 ดา้ น
การอุตสาหกรรมและการหัตถกรรมประมาณร้อยละ 3 ในส่วนของการผลิตด้านการเกษตรนับว่ามีบทบาทสาคัญอย่างย่ิง
ต่อเศรษฐกิจของจังหวัดและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ของจังหวัดชัยนาท ประกอบ
อาชีพด้านการเกษตรและยังทารายได้เป็นอันดับหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสาขาการผลิตอ่ืน ๆ พืชเศรษฐกิจที่สาคัญ
ได้แก่ เมล็ดพันธ์ุข้าว ข้าว อ้อย มันสาปะหลัง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ฯลฯ ซึ่งจะพบว่าถ้าปีใดที่ผลผลิตทางการเกษตรดี
เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดก็จะดีขึ้นด้วย ในทางกลับกันหากปีใดผลผลิตทางการเกษตรได้รับความเสียหาย ราคา
ผลผลิตตกต่า ก็จะส่งผลให้สภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดชัยนาทซบเซาตามไปด้วย ทั้งนี้ จังหวัดชัยนาท มีผลิตภัณฑ์
มวลรวม (GPP) และรายได้เฉล่ียต่อคน ดังน้ี

ตาราง : ผลติ ภณั ฑม์ วลรวม (GPP) และรายไดเ้ ฉลีย่ ต่อคน

ปี ผลติ ภณั ฑ์มวลรวม (GPP) รายได้เฉลยี่ / คน / ปี

2553 25,545 ลา้ นบาท 83,654 บาท/คน/ปี

2554 27,471 ล้านบาท 89,432 บาท/คน/ปี

2555 35,367 ล้านบาท 114,542 บาท/คน/ปี

2556 35,033 ลา้ นบาท 112,949 บาท/คน/ปี

2557 28,835 ล้านบาท 92,607 บาท/คน/ปี

2558 25,341 ล้านบาท 81,072 บาท/คน/ปี

ที่มา : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

(2) มูลค่าผลิตภัณฑ์หลักของจังหวัดชัยนาท
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดชัยนาท ภาคการเกษตร โดยในปี 2558 ณ ราคาประจาปี มีมูลค่าเทา่ กับ

6,004 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.82 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด โดยมีมูลค่าลดลงจากปี 2557 ร้อยละ -
38.98 โดยในปี 2557 มีมูลค่า 9,839 ล้านบาท เน่ืองจากภาคเกษตรประสบปัญหาภัยแล้ง ปริมาณน้า ไม่
เพียงพอต่อการเกษตร ประกอบกับรัฐบาลรณรงค์ ให้งดทานาปรังส่งผลให้ปริมาณผลผลิตข้าวลดลง ในส่วนของ
นอกภาคการเกษตร ในปี 2558 ผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาประจาปี มีมูลค่าเท่ากับ 19,337 ล้านบาท คิดเป็น
ร้อยละ 67.06 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด โดยมีมูลค่าเพ่ิมข้ึนจากปี 2557 ร้อยละ 1.79 เนื่องจากผลิตภัณฑ์
มวลรวมสาขาอุตสาหกรรมซ่งึ มีสดั ส่วนสูงสุดเพ่ิมข้นึ โดยผลติ ภัณฑม์ วลรวมสาขาอุตสาหกรรม ณ ราคาประจาปี

23

พ.ศ. 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 4,248 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 14.73 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด เพิ่มข้ึน
จากปี 2557 ซึง่ มมี ูลคา่ เทา่ กับ 4,123 ล้านบาท รอ้ ยละ 3.02 รองลงมาคอื ผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาการขายส่ง
การขายปลีกฯ ซ่ึง ณ ราคาประจาปี พ.ศ. 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 3,260 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.31
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด เพิ่มข้ึนจากปี 2557 ซึ่งมีมูลค่าเท่ากับ 3,029 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.63
เป็นผลจากสภาพเศรษฐกจิ ที่มีแนวโน้มดขี นึ้ สง่ ผลให้การใชจ้ า่ ยภายในจังหวดั เพิม่ ขนึ้ ตามไปด้วย

สถานการณด์ า้ นการศกษา

จังหวัดชยั นาท มโี รงเรียน และนักเรียน ดังนี้
ตาราง : จานวนโรงเรียนในสงั กดั สานักงานเขตพืนทกี่ ารศกษาประถมศกษาชัยนาท

จาแนกตามขนาด ปกี ารศกษา 2559 – 2561

ปีการศกษา
ขนาดโรงเรยี น 2559 2560 2561
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
ขนาดที่ 1 (นร. 0 – 120 คน) 115 62.50 115 62.84 116 64.09
ขนาดท่ี 2 (นร. 121 – 200 คน) 46 25.00 43 23.50 41 22.65
ขนาดท่ี 3 (นร. 201 – 300 คน) 17 9.24 19 10.38 18 9.94
ขนาดที่ 4 (นร. 301 – 499 คน) 3 1.63 3 1.64 3 1.66
ขนาดท่ี 5 (นร. 500 – 1,499 คน) 2 1.09 2 1.09 2 1.10
ขนาดท่ี 6 (นร. 1,500 – 2,499 คน) - - - - - -
ขนาดท่ี 7 (นร. 2,500 คนข้ึนไป) 1 0.54 1 0.55 1 0.55
รวมทังสนิ 184 183 181

ท่ีมา : สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชยั นาท (ข้อมูล ณ วันท่ี 10 กนั ยายน 2561)

24

ตาราง : จานวนนกั เรยี น ห้องเรียน และอตั ราสว่ น ห้องเรยี นตอ่ นักเรยี น ปีการศกษา 2557 – 2559

ระดับชนั 2557 หอ้ ง: 2558 ห้อง: 2559 หอ้ ง:
อนบุ าล 1 นกั เรียน หอ้ ง นร. นร. นร.
2,441 190 นักเรยี น ห้อง นักเรียน ห้อง 1:13

1:13 2,303 186 1:12 2,416 183

อนุบาล 2 2,444 191 1:13 2,434 190 1:13 2,294 186 1:12

รวมก่อน 4,885 381 1:13 4,737 376 1:12 4,710 369 1:13
ประถมศกษา
ประถมศึกษาปที ่ี 1 2,635 192 1:14 2,506 192 1:13 2,252 189 1:12

ประถมศกึ ษาปีที่ 2 2,685 193 1:14 2,552 192 1:13 2,455 189 1:13

ประถมศึกษาปีท่ี 3 2,704 192 1:14 2,669 192 1:14 2,517 189 1:13

ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 2,689 191 1:14 2,725 191 1:14 2,668 190 1:14

ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 2,674 191 1:14 2,678 190 1:14 2,716 188 1:14

ประถมศึกษาปที ี่ 6 2,688 191 1:14 2,668 190 1:14 2,666 188 1:14

รวมประถมศกษา 16,075 1,150 1:14 15,798 1,147 1:14 15,544 1,133 1:14
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 929 57 1:16 977 55 1:18 965 55 1:18

มัธยมศึกษาปีที่ 2 861 56 1:15 893 55 1:16 913 55 1:17

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 871 56 1:16 814 55 1:15 771 55 1:14

รวมมธั ยมศกษาตอนตน้ 2,661 169 1:16 2,684 165 1:16 2,649 165 1:16

รวมทังสนิ 23,621 1,700 1:14 23,219 1,688 1:14 22,903 1,667 1:14

ท่ีมา : สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยนาท (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2560)

25

ตาราง : จานวนบคุ ลากรในสงั กดั สานักงานเขตพืนที่การศกษาประถมศกษาชัยนาท
ปีการศกษา 2557 – 2559

ประเภท ปกี ารศกษา 2560
2558 2559 1,557

ข้าราชการครู 1,642 1,590 76
93
บคุ ลากรทางการศึกษา 86 83

ลกู จา้ งประจา 114 113

ท่มี า : สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยนาท (ขอ้ มลู ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561)

ตาราง : โรงเรียน จานวนนกั เรยี น จานวนครู ในสงั กัดสานกั งานเขตพนื ที่การศกษามัธยมศกษา เขต 5

ที่ โรงเรยี น จานวนนักเรยี น จานวนครู ขนาดโรงเรียน
1 ชัยนาทพิทยาคม 3,360 100 ใหญพ่ เิ ศษ
2 คุรปุ ระชาสรรค์ 1,523 ใหญ่
3 หนั คาพทิ ยาคม 1,574 78 กลาง
4 อลุ ติ ไพบูลย์ชนูปถมั ภ์ 72 กลาง
5 วดั สงิ ห์ 762 39 กลาง
6 หันคาราษฏรร์ งั สฤษดิ์ 630 35 กลาง
7 สรรพยาวทิ ยา 404 32 กลาง
8 ห้วยกรดวิทยา 475 32 เลก็
9 สาครพิทยาคม 405 26 เล็ก
10 ศรีสโมสรวทิ ยา 341 26 เล็ก
11 เนินขามรัฐประชานเุ คราะห์ 295 17 เลก็
12 บุญนาคพิทยาคม 229 19 เล็ก
13 ชยานุกจิ พิทยาคม 142 20 เล็ก
115 13
รวม 10,255 483

ที่มา : สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาชัยนาท (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2561)

26

(1) ดา้ นคุณภาพการจัดการศกษา
จังหวัดชัยนาทได้เร่งรัดพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระวิชาโดยเน้นกลุ่มสาระวิชาหลัก

5 กลุ่มสาระวิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา และวิชาภาษาอังกฤษ โดยการพัฒนา
ครูผู้สอน พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง แต่ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนยังมี
ค่าเฉล่ยี ต่ากวา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในระดบั ประเทศทุกกลุ่มสาระวิชา ทง้ั ในระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 และ ช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 อันเน่ืองมาจากข้อจากัดต่างๆ เช่น โรงเรียนส่วนหน่ึงยังขาดส่ืออุปกรณ์ที่มีคุณภาพขาดทักษะการ
เลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงวัย ขาดครูท่ีมีความรู้ความชานาญในสาขาวิชาเอกเฉพาะด้าน
เฉพาะวิชา ครูสอนไม่ตรงกับวิชาเอกที่เรียนมา อีกทั้งนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จะมีข้อจากัดจาก
ตวั นักเรยี นเองท่มี ีพ้ืนฐานความรูค้ อ่ นขา้ งตา่ และความพร้อมในการเรยี นมีน้อย

จังหวัดชัยนาทจึงได้มีนโยบายเร่งรัดเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นทุก
กลุ่มสาระวิชา โดยจัดทาโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2558 การสง่ เสริมสนับสนุน
ให้ครูสร้างสื่อนวัตกรรมเป็นของตนเอง และการนาส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม การจัดมหกรรมวิชาการเพื่อนาเสนอผลงานครู โรงเรียน และของ
นักเรียน ตลอดจนการเร่งรัดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนทุกรูปแบบเพ่ือท่ีจะทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของนักเรยี นสูงขนึ้ ตามทไ่ี ด้กาหนดเปา้ หมายเอาไว้ ดงั ตารางแสดงผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น (O-net) ดังน้ี

ตาราง: แสดงผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรียน ชันประถมศกษาปีท่ี 6 ปีการศกษา 2557 – 2559

ปกี ารศกษา

กลมุ่ สาระวิชา 2557 2558 2559
ระดบั ประเทศ ชัยนาท
ระดบั ประเทศ ระดับประเทศ ระดับประเทศ ชัยนาท
52.98 51.31
ภาษาไทย 44.88 43.00 49.33 48.97 40.47 38.55
41.22 40.11
คณิตศาสตร์ 38.06 36.13 43.47 41.85
ระดับประเทศ
วิทยาศาสตร์ 42.13 40.19 42.59 41.14 46.68 44.66
34.59 31.59
ปกี ารศกษา
43.19 41.24
กลุ่มสาระวิชา 2557

ระดบั ประเทศ ระดับประเทศ

สังคมศึกษา 50.67 48.01 49.18 47.53

ภาษาอังกฤษ 36.02 32.62 40.31 36.61

สขุ ศึกษา พละ 52.20 50.80 - -

ศลิ ปะ 45.61 43.19 - -

การงานอาชพี 56.32 52.79 - -

คะแนนเฉลี่ย 45.74 43.34 44.98 43.22

ต้ังแตป่ ี 2558 เป็นตน้ ไป มีการทดสอบเพียง 5 กลมุ่ สาระวิชา

27

ตาราง: แสดงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี น ชันมัธยมศกษาปีท่ี 3 สังกัดสพป.ชยั นาท และสพม.5ปี

การศกษา 2557 - 2559

ปกี ารศกษา

กลุม่ สาระวิชา 2557 2558 2559

ระดบั ประเทศ ชยั นาท ระดบั ประเทศ ชัยนาท ระดบั ประเทศ ชัยนาท

ภาษาไทย 35.39 33.11 42.64 39.57 46.36 43.11

คณติ ศาสตร์ 29.59 26.14 32.40 27.10 29.31 25.25

วิทยาศาสตร์ 38.77 35.68 37.63 33.39 34.99 32.07

สังคมศึกษา 46.94 44.15 46.24 41.60 49.00 45.54

ภาษาองั กฤษ 27.09 25.45 30.62 27.02 31.81 28.31

สุขศกึ ษา พละ 59.72 57.47 - -

ศิลปะ 43.24 43.20 - -

การงานอาชพี 45.87 43.57 - -

คะแนนเฉล่ีย 40.71 38.60 37.90 33.74 38.29 34.86

ต้ังแตป่ ี 2558 เป็นตน้ ไป มีการทดสอบเพียง 5 กลุ่มสาระวชิ า

ตาราง : แสดงผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียน ชนั มธั ยมศกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกษา 2557 - 2559

ปีการศกษา

กลมุ่ สาระวชิ า 2557 2558 2559

ระดับประเทศ ชัยนาท ระดบั ประเทศ ชยั นาท ระดบั ประเทศ ชัยนาท

ภาษาไทย 50.76 45.64 49.36 43.73 52.29 48.05

คณิตศาสตร์ 21.74 17.20 26.59 21.45 24.88 19.78

วิทยาศาสตร์ 32.54 29.69 33.40 30.53 31.62 28.76

สังคมศึกษา 36.53 33.32 39.70 36.27 35.89 32.97

ภาษาองั กฤษ 23.44 19.76 24.98 19.83 27.76 22.79

สุขศึกษา พละ 51.94 50.14 - - - -

ศลิ ปะ 34.64 33.96 - - - -

การงานอาชพี 49.01 35.88 - - - -

คะแนนเฉลีย่ 37.56 33.20 34.81 30.36 34.49 30.47

ต้ังแตป่ ี 2558 เป็นต้นไป มกี ารทดสอบเพียง 5 กลุม่ สาระวชิ า

(2) ดา้ นโอกาสทางการศกษา
สถานศึกษามีนโยบาย และการปฏิบัติที่ชัดเจนต่อเนื่อง ในการเปิดโอกาสให้ประชากร
กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการศึกษาอย่างเต็มความสามารถ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน แต่ยังมีประชากร
วยั เรยี นส่วนหน่งึ ท่ีไมส่ ามารถเขา้ สู่ระบบจนจบการศกึ ษาภาคบังคบั ได้ ปรากฏดังนี้

28

ตาราง : แสดงนักเรียนออกกลางคัน และนกั เรยี นไมศ่ กษาตอ่ ในระดับการศกษาขนั พนื ฐาน

ปีการศกษา

รายการ 2556 2557 2558

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

นักเรยี นออกกลางคนั ๑๒ ๐.๐๕ 6 0.02 7 0.03

นกั เรยี นจบชัน้ ม.3 ๙๖ ๑๒.๗๑ 47 7.88 65 9.56
ไม่ศึกษาต่อ

(3) ด้านประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การ
การกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ในการบริหารจัดการยังไม่สามารถดาเนนิ การไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา และการ
สร้างความเข้มแข็งต่อองค์คณะบุคคลทั้งในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ตลอดจนความร่วมมือของ
ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซ่ึงจะเป็นกลไกนาไปสู่การบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ ยังไม่
สามารถบูรณาการให้เป็นเอกภาพ นอกจากนี้ยังพบว่าจานวนโรงเรียนขนาดเล็กมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง
จงึ เป็นปจั จยั ท่ีไมส่ ามารถสะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ การจัดการศึกษาทเี่ ป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ

(4) ประเด็นปัญหาตามลาดับความสาคญั
(4.1) โรงเรยี นขนาดเล็กมจี านวน 116 โรงเรียน คดิ เปน็ ร้อยละ 64.09 ของโรงเรยี นทงั้ หมด

181 โรงเรียนซึ่งสว่ นใหญ่มจี านวนครูไมค่ รบช้นั ประสบปญั หาด้านการเรียนการสอน
(4.2) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (O-net) โดยเฉลยี่ ไมถ่ งึ ร้อยละ 50

(4.3) ขาดแคลนครสู าขาวิชาเอกทส่ี าคัญ เชน่ วชิ าเอกภาษาอังกฤษ วิชาเอกวิทยาศาสตร์
วชิ าเอกคณิตศาสตร์ทาให้สง่ ผลต่อผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี น

สถานการณ์ด้านการสาธารณสุข
(1) ปญั หาสขุ ภาพประชาชน

(1.1) สถานการณป์ จั จุบนั
จากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกและการสื่อสารท่ีไร้พรมแดน ระบบทุนนิยมที่ให้

ความสาคัญกับการพัฒนาทางวัตถุ ก่อให้เกิดความห่างกันของบุคคลในครอบครวั สถาบันทางสังคม การดาเนินธุรกิจ
ท่ีขาดความรับผิดชอบ เกิดค่านิยม วัฒนธรรม วิถีการดาเนินชีวิตที่ไม่เพียงพอและขาดความสมดุล สภาพแวดล้อมไม่
ปลอดภัย ขาดการใส่ใจดแู ลควบคุมป้องกันปัจจัยเส่ียงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ จากพฤติกรรมการ
บริโภคที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกาลังกาย เกิดความเครียด หาทางออกโดยการกินอาหาร สูบบุหร่ี ด่ืมสุรา ทาให้มี
ภาวะน้าหนักเกินและอ้วน เป็นสาเหตุหลักสาคัญทาให้เกิดโรคติดต่อเรื้อรัง แพร่ระบาดและมีแนวโน้มรุนแรงมากข้ึน
อันส่งผลทาให้เกิดการเจ็บป่วย พิการ เสียชีวิต มีภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพและการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมา
อยา่ งมหาศาล ซึ่งประเทศไทยและจังหวัดชัยนาทก็กาลงั เผชิญกับปัญหาท่ีวกิ ฤติเช่นกัน ต้องประสบกับแนวโนม้ ปัญหา
ทเ่ี พ่ิมข้ึนจากโรคที่ปอ้ งกันได้ ที่สาคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสงู โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และ
โรคมะเรง็

29

โครงสร้างอายุประชากรของจังหวัดชัยนาท ปี 2560 มีสดั ส่วนเพศหญงิ ร้อยละ 51.85 เพศ
ชายร้อยละ ๔๘.15 โดยเพศหญิงสูงกว่าเพศชายเล็กน้อยกลุ่มเด็กอายุ ๐-๔ ปี คิดเป็นร้อยละ 4.57
เด็กอายุ ๐-๑๔ ปีรอ้ ยละ ๑5.22 ประชากรวัยทางาน (อายุ ๑๕-๕๙ ปี) รอ้ ยละ ๖4.02 ประชากรเด็กกลุ่มอายุ ต่า
กว่า ๑๕ ปี และผู้สูงอายุ (อายุ ๖๐ ปีข้ึนไป) ซึ่งเป็นวัยพ่ึงพิง คิดเป็นร้อยละ 35.98 สาหรับประชากรผู้สูงอายุ (อายุ
๖๐ ปขี ้นึ ไป) คดิ เปน็ ร้อยละ 20.76 ซง่ึ มแี นวโนม้ เพิม่ สูงขน้ึ

ข้อมูลสถานะสุขภาพ จังหวัดชัยนาทมีอัตราเกิด ในปี ๒๕๕4 มีอัตราเกิด 8.77 ต่อประชากร
พนั คน ในปี 2555 มีอตั ราเกดิ เพ่ิมข้ึน 8.80 ตอ่ ประชากรพันคน ในปี 2556 มีอตั ราเกดิ ลดลง 7.47 ในปี 2557
มีอัตราเกิดเพ่ิมขึ้น 7.82 ต่อประชากรพันคน และในปี 2558 มีอัตราเกิดลดลง 7.18ต่อประชากรพันคน ในปี
2559 มีอัตราเกิดลดลง 6.83 ต่อประชากรพันคน ทั้งนี้พบว่า จังหวัดชัยนาท มีอัตราเกิดต่ากว่าระดับประเทศในปี
๒๕๕4 จังหวัดชัยนาท มีอตั ราตาย 8.64 ต่อประชากรพันคน และมีอัตราตายเพิ่มข้นึ ในปี 2555 มีอัตราตาย 9.52
ต่อประชากรพันคน ในปี 2556 มีอัตราตาย ลดลง 9.42 ในปี 2557 มีอัตราตายเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย 9.47 ต่อ
ประชากรพันคน ในปี 2558 มีอัตราตายเพ่ิมขึ้น 9.54 ต่อประชากรพันคน และในปี 2559 มีอัตราตายเพิ่มข้ึน
10.33 ต่อประชากรพันคน อัตราเพิ่มตามธรรมชาติในปี ๒๕๕4 จังหวัดชัยนาทมีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติ ร้อยละ
๐.03 ต่อมาอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติลดลงอย่างต่อเน่ืองจนถึงปี 2555 ซ่ึงมีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติ -0.07 ในปี
2556 มีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติ - 0.20 ในปี 2557 มีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติ -0.17 ในปี 2558 มีอัตราเพิ่ม
ธรรมชาติ -0.24 และในปี 2559 มีอัตราเพ่ิมธรรมชาติ -0.35 เมื่อเปรียบเทียบกับระดับประเทศ พบว่าจังหวัด
ชยั นาทมอี ัตราเพมิ่ ตามธรรมชาตติ า่ กว่า

อตั รามารดาตายจากการคลอด จังหวัดชัยนาท ปี ๒๕52 – 2558 พบว่ามีมารดาตายจากการ
คลอด ในปี ๒๕53 มีมารดาตาย จานวน 2 รายคิดเป็นอัตรา 59.58 ต่อพันการเกิดมีชีพและในปี 2556 มีมารดา
ตายจากการคลอด 1 ราย คดิ เปน็ อัตรา 40.23 ต่อพันการเกดิ มชี ีพ

อตั ราทารกตาย ในปี ๒๕54 จงั หวัดชยั นาทมอี ัตราทารกตาย 5.11 ต่อพันการเกิดมชี ีพ ตอ่ มา
อัตราทารกตายลดลงในปี ๒๕55 มีอัตราทารกตาย 7.51 ต่อพันการเกิดมีชีพ ในปี 2556 อัตราทารกตายเพ่ิมข้ึน
โดยมีอัตราทารกตาย 9.25 ตอ่ พันการเกิดมีชีพ ในปี 2557 อัตราทารกตายลดลง 5.39 ต่อพันการเกิด มีชีพ ใน
ปี 2558 อัตราทารกตายเพิ่มขนึ้ 6.30 และในปี 2559 อัตราทารกตายเพิ่มข้ึน 6.64 เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศ
พบวา่ จังหวัดชัยนาท มีอัตราทารกตายต่ากว่า

อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดของประชากรจังหวัดชยั นาทในปี ๒๕๔8 เพศชายมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อ
แรกเกิดเท่ากับ 68.85 ปี และอายุคาดเฉล่ยี เม่อื แรกเกิดของเพศชายเพิ่มสูงขึ้นเป็น 71.53 ในปี 2558 สาหรับเพศ
หญิงมีอายุคาดเฉล่ียเมือ่ แรกเกดิ ในปี 2548 เท่ากับ ๗6.24 ปี และอายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดของเพศหญิงเพิ่มสูงขึ้น
เปน็ 77.80 ในปี 2558 พบวา่ เพศหญงิ มอี ายคุ าดเฉลยี่ เม่ือแรกเกิดสงู กวา่ เพศชาย ซง่ึ ตา่ กวา่ ระดบั ประเทศเลก็ นอ้ ย

(1.2) แนวโน้มของสถานการณ์
(1.2.1) โครงสรา้ งประชากรของจังหวัดชัยนาทมีประชากรผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปขี ้ึนไป) รอ้ ย
ละ 20.76 ซ่ึงมีแนวโนม้ เพ่มิ สูงขน้ึ
(1.2.2) กระแสการเปลี่ยนแปลงและระบบทุนนิยม ส่งผลทาให้เกิดการเจ็บป่วย พิการ
เสียชีวิต มีภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพและการสูญเสียทางเศรษฐกิจ แนวโน้มปัญหาที่เพ่ิมข้ึนจากโรคที่ป้องกันได้
และพฤติกรรม ท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สูง โรคหวั ใจ โรคหลอดเลอื ดสมอง และโรคมะเรง็
(1.2.3) ข้อมูลสถานะสุขภาพ จังหวัดชัยนาทมีอัตราเพิ่มตามธรรมชาติมีแนวโน้มลดลง ในปี
2559 มอี ตั ราเพมิ่ ตามธรรมชาติ -0.35 ซง่ึ ตา่ กวา่ ระดบั ประเทศ

30

(1.2.4) อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดของจังหวัดชัยนาท ในปี 2558 เพศชายมีอายุคาดเฉล่ีย
เมื่อแรกเกิดเท่ากับ 71.53 ปี เพศหญิงมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด เท่ากับ 77.80 ปี ซ่ึงสูงกว่าเพศชาย อายุคาด
เฉลี่ยเมอ่ื แรกเกดิ ของจงั หวัดชยั นาทต่ากวา่ ระดบั ประเทศเล็กนอ้ ย

(1.2.5) สาเหตุการตายของประชาชนของจังหวัดชัยนาทที่สาคัญ ในปี 2559 ได้แก่ มะเร็ง
ทุกชนิด โดยมีอัตราตาย 124.56 ต่อประชากรแสนคน (สูงสุดได้แก่ มะเร็งตับ รองลงมามะเร็งปอด, มะเร็งเต้านม,
มะเร็งลาไส้ และมะเร็งมดลูก) รองลงมาได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง, ปอดบวม, โรคติดเช้ือและปรสิต, และโรคหัวใจ
ขาดเลอื ดฯ คดิ เปน็ อตั รา 87.68, 81.33, 70.14 และ 47.16 ตอ่ ประชากรแสนคน ตามลาดับ

(1.3) ประเด็นปัญหาตามลาดับความสาคญั
จังหวัดชัยนาทได้ระดมความคดิ จากผเู้ กี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และภาคเี ครอื ข่ายร่วมประชุม
สะท้อนข้อมูลปัญหา วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ และร่วมหาแนวทางการแก้ไขปัญหา จากการวิเคราะห์ข้อมูลตาม 4 H
ได้แก่ ความรุนแรงของโรคท่ีทาให้เสียชีวิตมากที่สุด (High risk), การป่วยด้วยโรคท่ีมีผู้เข้ารับบริการในสถานพยาบาล
เป็นจานวนมาก (High Volume), การเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง (High cost) และความสอดคล้องของโรคที่
เป็นปัญหากับนโยบายในแต่ละระดับ ได้แก่ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ระดับเขต และระดับจังหวัด (High policy)
เม่ือมีการถ่วงน้าหนักคะแนน ในแต่ละโรค และนามาจัดลาดับความสาคัญของปัญหา (Priority setting) พบว่าโรค
และภาวะท่ีเป็นปัญหาสุขภาพที่สาคัญของจังหวัดชัยนาท 10 อันดับแรก ได้แก่ โรคมะเร็งทุกชนิด,หลอดเลือดสมอง
(Stroke) ,หลอดเลือดสมอง (Stroke) หัวใจขาดเลือด (STEMI) ,ความดันโลหิตสูง ,เบาหวาน ,วัณโรค ,อุบัติเหตุจากการขนส่ง,
ไขเ้ ลอื ดออก, ปอดบวม และไตวายเร้ือรัง ตามลาดบั โดยในชว่ ง 5 ปที ี่ผ่านมา (พ.ศ. 2555 - 2559) ข้อมูลจากกอง
ยุทธศาสตร์และแผนงาน ( กยผ.) กระทรวงสาธารณสุข อัตราการตายด้วยโรคและภาวะท่ีเป็นปัญหาสาคัญของ
ประชาชนในจังหวัดตอ่ ประชากรแสนคน ของ 10 อนั ดบั ดังกล่าวมแี นวโนม้ ดงั นี้

1. โรคมะเร็งทุกชนิด

ปี จานวนผูท้ ไ่ี ด้รับ จานวนประชากร อตั ราปว่ ยตาย อตั ราการตาย
งบประมาณ การวนิ ิจฉัยวา่ ตาย ของจังหวดั ต่อประชากรแสนคน ท่ีเพ่ิมขน

พ.ศ. ด้วยโรค 333,256 ของจังหวัด - 38.30
2555 389 332,737 116.73 -0.9
2556 370 332,313 78.43
2557 425 331,614 77.53 +45.50
2558 408 330,754 123.03 +1.53
2559 412 330,010 124.56 -43.35
2560 268 322,828 81.21 24.63
2561 324 92.63

31

2. หลอดเลือดสมอง (Stroke) อัตราปว่ ยตาย อตั ราการตาย
ปี จานวนผ้ทู ไ่ี ด้รับ จานวนประชากร ตอ่ ประชากรแสนคน ที่เพมิ่ ขน
งบประมาณ การวนิ ิจฉัยว่าตาย ของจังหวดั
พ.ศ. ด้วยโรค ของจังหวดั -2.59
+8.81
2555 244 333,256 73.22 +9.52
2556 235 332,737 70.63 -1.28
2557 264 332,313 79.44 -48.89
2558 295 331,614 88.96
2559 290 330,754 87.68
2560 128 330,010 38.79

2561 211 332,828 28.72

3. หวั ใจขาดเลอื ด (STEMI)

ปี จานวนผทู้ ไ่ี ดร้ บั จานวนประชากร อตั ราปว่ ยตาย อัตราการตาย
งบประมาณ การวินิจฉยั วา่ ตาย ของจังหวัด ตอ่ ประชากรแสนคน ทเ่ี พ่ิมขน

พ.ศ. ด้วยโรค 333,256 ของจังหวัด +8.16
2555 102 332,737 30.61 +3.96
2556 129 332,313 38.77 +1.60
2557 142 331,614 42.73 +2.83
330,754 44.33 -8.89
2558 147 330,010 47.16
2559 156 322,828 38.18 อตั ราการตาย
2560 126 32.23 ทีเ่ พ่มิ ขน
2561 132
อตั ราป่วยตาย +13.83
4. ความดันโลหติ สงู จานวนประชากร ตอ่ ประชากรแสนคน -3.59
ปี จานวนผทู้ ไ่ี ด้รับ ของจังหวดั -3.60
งบประมาณ การวินจิ ฉัยว่าตาย ของจังหวดั -2.70
พ.ศ. ดว้ ยโรค 333,256 1.5 +3.65
2555 5 332,737 15.33
2556 51 332,313 11.74
2557 39 331,614 8.14
330,754 5.44
2558 27 330,010 9.09
2559 18 332,828 10.17
2560 30
2561 27

32

5. เบาหวาน จานวนประชากร อตั ราป่วยตาย อตั ราการตาย
ปี จานวนผู้ทไ่ี ดร้ บั ของจังหวดั ต่อประชากรแสนคน ที่เพ่ิมขน
งบประมาณ การวินิจฉยั วา่ ตาย 333,256 +12.94
พ.ศ. ด้วยโรค 332,737 ของจังหวัด -7.19
2555 32 332,313 9.60 -1.18
2556 75 331,614 22.54 -4.2
2557 51 330,754 15.35 -3.61
2558 47 330,010 14.17
2559 33 9.97
2560 21 6.36

6. วัณโรค จานวนประชากร อตั ราปว่ ยตาย อัตราการตาย
ปี จานวนผูท้ ไี่ ด้รับ ของจังหวดั ตอ่ ประชากรแสนคน ทเี่ พม่ิ ขน
งบประมาณ การวนิ ิจฉัยว่าตาย 333,256 +0.32
พ.ศ. ดว้ ยโรค 332,737 ของจังหวดั -2.70
2555 32 332,313 9.60 +2.43
2556 33 331,614 9.92 +1.23
2557 24 330,754 7.22 -4.21
2558 32 330,010 9.65
2559 36 10.88 อตั ราการตาย
2560 22 6.67 ท่เี พิ่มขน
(ณ 31 ส.ค. -0.85
60) -2.36
-2.65
7. อบุ ัติเหตุจากการขนส่ง อตั ราปว่ ยตาย -3.59
ปี จานวนผู้ทีไ่ ดร้ ับ จานวนประชากร ต่อประชากรแสนคน -9.03
งบประมาณ การวินิจฉยั วา่ ตาย ของจังหวัด
พ.ศ. ดว้ ยโรค ของจังหวดั
2555 115 333,256 34.51
2556 112 332,737 33.66
2557 104 332,313 31.30
2558 95 331,614 28.65
2559 83 330,754 25.09
2560 53 330,010 16.06
(ณ 31 ส.ค.
60)

33

8. ไขเ้ ลือดออก จานวนประชากร อัตราปว่ ยตาย อตั ราการตาย
ปี จานวนผทู้ ี่ได้รับ ของจังหวัด ตอ่ ประชากรแสนคน ทีเ่ พ่ิมขน
งบประมาณ การวินจิ ฉัยวา่ ตาย 333,256 -
พ.ศ. ดว้ ยโรค 332,737 ของจังหวดั -0.30
2555 1 332,313 0.30 0
2556 0 331,614 0 +0.17
2557 0 330,754 0 0
2558 1 330,010 0.17 0
2559 0 0
2560 0 0
(ณ 31 ส.ค.
60)

9. ปอดบวม จานวนประชากร อัตราป่วยตาย อัตราการตาย
ปี จานวนผู้ทไี่ ด้รบั ของจงั หวดั ตอ่ ประชากรแสนคน ทเ่ี พิม่ ขน้ึ
งบประมาณ การวนิ จิ ฉยั วา่ ตาย
พ.ศ. ดว้ ยโรค 333,256 ของจงั หวดั +5.47
2555 132 332,737 39.61 +6.38
2556 150 332,313 45.08 +12.17
2557 171 331,614 51.46 +17.70
2558 211 330,754 63.63 -34.66
2559 269 330,010 81.33
2560 154 46.67 อัตราการตาย
(ณ 31 ส.ค. จานวนประชากร ท่ีเพิ่มขน
60) ของจังหวดั อตั ราป่วยตาย
ต่อประชากรแสนคน -3.88
10. ไตวายเรือรัง 333,256 +0.92
332,737 ของจังหวดั +4.85
ปี จานวนผทู้ ี่ไดร้ บั 332,313 15.30 +3.70
งบประมาณ การวนิ จิ ฉยั ว่าตาย 331,614 11.42 -9.65
330,754 12.34
พ.ศ. ด้วยโรค 330,010 17.19
51 20.86
2555 38 11.21
41
2556 57
2557 69
37
2558

2559

2560
(ณ 31 ส.ค.

60)

34

(2) ผสู้ งู อายุ

(2.1) สถานการณป์ ัจจบุ นั และแนวโน้ม
จังหวัดชัยนาท เป็น สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2537 และมีแนวโน้มสูงข้ึนทุกปี ปี 2557 -
2559 ร้อยละ 18.8 19.5 และ 20.1 ตามลาดับ (กรมการปกครอง, 2557 - 2559) ซึ่งสูงกว่าค่าร้อยละของ
ประเทศไทย (ประชากรกลางปี พ.ศ. 2560ของประเทศ ผู้สูงอายุ 11.313 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.125
ของประชากรรวม) และก้าวสู่สังคมผู้สูงอย่างสมบูรณ์ รวมท้ังจากการคานวณของสานักคณะกรรมการพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ, 2555 ผลการคาดประมาณประชากรไทย พ.ศ 2553 - 2583 จงั หวัดทม่ี ีดัชนีการสูง
วัยมากท่ีสุด 10 อันดับแรก พ.ศ.2557 พบว่าจังหวัดชัยนาทติดอันดับที่ 6 ของประเทศ และจากข้อมูลสถาบันวิจัย
ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ.2557 พบว่า ดัชนีการสูงวัยของจังหวัดชัยนาทสูงกว่าประเทศ
และจงั หวัดในเขตสขุ ภาพท่ี 3 เมอื่ แบ่งผสู้ งู อายตุ ามชว่ งอายุ พบว่าในปี 2559 วัยต้น วยั กลาง วัยปลาย คิดเป็นร้อย
ละ 54.76, 29.98 และร้อยละ 15.27 ตามลาดับ ซึ่งวัยปลายมีแนวโน้มสูงข้ึน เม่ือพิจารณารายอาเภอ พบว่าทุก
อาเภอมีประชากรสูงอายุสูงเกินค่าร้อยละของประเทศ โดยเฉพาะอาเภอมโนรมย์ อาเภอวัดสิงห์อาเภอสรรพยา และ
อาเภอสรรคบุรเี ข้าสู่สงั คมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ อาเภอมโนรมย์เป็นอาเภอท่ีมีผู้สูงอายุวัยปลาย ร้อยละสงู สุด (รอ้ ยละ
17.03) ดังตาราง

ตาราง : จานวนและร้อยละของประชากรสูงอายุจังหวัดชัยนาท

ประเทศ/จงั หวดั จานวนประชากรทงั หมด จานวนประชากรผสู้ ูงอายุ รอ้ ยละของประชากรผู้สูงอายุ
14.35
ไทย 65,729,098 คน 9,429,610 คน 20.11

จงั หวดั ชยั นาท 330,754 คน 66,507 คน

ทม่ี า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ ธันวาคม 2558

ตาราง : ดัชนีการสูงวัยของประชากรเขตสขุ ภาพที่ 3

ประเทศ/จังหวดั รอ้ ยละ

ไทย 83.10

จงั หวดั ชัยนาท 124.3

จังหวดั นครสวรรค์ 112.7

จงั หวัดพจิ ติ ร 110.4

จงั หวดั อุทยั ธานี 104.90

จังหวดั กาแพงเพชร 87.1

ทม่ี า: สถาบันวจิ ัยประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ในปี พ.ศ.2557

35

ตาราง : จานวนและร้อยละประชากรสูงอายุ การแบ่งช่วงอายุผู้สูงอายุ รายอาเภอจังหวัดชัยนาท

อาเภอ ประชากร ผูส้ ูงอายุ วัยต้น ชว่ งอายุผ้สู ูงอายุ* วัยปลาย
เมอื ง ทกุ กล่มุ (60 ปขี นไป) (60-69 ปี) วัยกลาง (อายุ 80 ปีขนไป)
อายุ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
จานวน รอ้ ยละ (70-79 ปี)
70,983 13,337 18.79 7,675 57.55 จานวน รอ้ ยละ 1,838 13.78
3,824 28.67

มโนรมย์ 32,873 6,917 21.04 3,683 53.25 2,056 29.72 1,178 17.03

วดั สิงห์ 25,869 5,233 20.23 2,841 54.29 1,585 30.29 807 15.42

สรรพยา 42,813 9,437 22.04 4,993 52.91 2,872 30.43 1,572 16.66

สรรคบรุ ี 65,831 14,222 21.60 7,557 53.14 4,404 30.97 2,261 15.90

หนั คา 55,614 10,549 18.97 6,024 57.10 3,012 28.55 1,513 14.34

หนองมะ 19,659 3,498 17.79 1,891 54.06 1,111 31.76 496 14.18
โมง 17,112 3,314 19.367 1,754 52.93 1,072 32.35 488 14.73

เนนิ ขาม

รวม 330,754 66,507 20.11 36,418 54.76 19,936 29.98 10,153 15.27

ท่ีมา : ศูนยบ์ รหิ ารการทะเบยี น ภาค 1 สาขาจังหวดั ชัยนาท ข้อมูลประชากรกลางปี ณ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
* จาแนกตาม พ.ร.บ.ผสู้ งู อายุปี 2546

ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุจังหวัดชัยนาท จากการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง 3 ปี ย้อนหลัง ต้ังแต่
ปี 2558 - 2560 พบ ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน (Activity of Daily Living : ADL)
มีแนวโน้มเป็นกลุ่มติดสังคมมากขึ้น คือร้อยละ 92.1 94.3 และ 95.1 ตามลาดับ โดยกลุ่มติดบ้านมีแนวโน้ม
ลดลงคือร้อยละ 6.5,4.7 และ 4.0 ตามลาดับ และกลุ่มติดเตียงมีแนวโน้มลดลง คือร้อยละ 1.4 ,1.1 และ
1.0 ตามลาดับ โรคที่เป็นปัญหาสาคัญและพบบ่อยในผู้สูงอายุ 3 อันดับแรก คือ โรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ
24.5 18.5 และ 54.0 ตามลาดับ) โรคเบาหวาน (ร้อยละ 18.4 12.1 และ 26.6 ตามลาดับ) และภาวะสุขภาพทางตา
(ร้อยละ 40.3 20.0 และ 20.0 ตามลาดับ) ภาวะเสื่อม (Geriatric Syndromes) 3 อันดับแรกคือ ข้อเข่าเส่ือม (ร้อยละ
46.2 27.2 และ 28.29 ตามลาดับ) รองลงมาภาวะหกล้ม (ร้อยละ 15.9 18.6 และ 13.2 ตามลาดับ) และภาวะสมอง
เสอื่ ม (ร้อยละ 16.1,6.7 และ 8.o ตามลาดับ) สาหรบั สาเหตุการตายและการปว่ ยการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด
ของผู้สูงอายมุ ีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ สาเหตุของโรคกลุ่มน้เี กิดจากวิถชี ีวิตและพฤติกรรมสุขภาพท่ีไมถ่ ูกต้องเหมาะสม
ได้แก่ การรับประทานท่ีมากเกินพอดี ไม่สมดุล รับประทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้น้อย
ใช้เครื่องอานวยความสะดวกมากข้ึน มีกิจกรรมทางกายน้อยลง ไม่ออกกาลังกาย เครียด และพักผ่อนไม่เพียงพอ
ประกอบกับการสูบบุหร่ี และการด่ืมเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ซ่ึงปัจจัยเส่ียงด้านพฤติกรรมสุขภาพดังกล่าวส่งผลให้
เกิดภาวะน้าหนักเกนิ อ้วน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และนาไปสู่การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
จงึ ต้องดาเนนิ การเฝ้าระวังและดาเนนิ การปรบั พฤติกรรมของผสู้ ูงอายุดา้ นการดูแลสขุ ภาพอยา่ งต่อเน่ืองในปตี ่อไป

ในด้านการดาเนินงานส่งเสริมและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุยังมีปัญหาด้านโอกาส หรือความสามารถในการ
เข้าถึงระบบบริการน้ันๆ ในแต่ละระดับจนถึงชุมชนของผู้สูงอายุ คือมีชมรมผู้สูงอายุ 425 ชมรม ยังดาเนินกิจกรรม
จานวน 384 แหง่ (รอ้ ยละ 90.35) ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สงู อายุคุณภาพเพียง จานวน 127 ชมรม (รอ้ ยละ 33.07)

36

ตาบลท่ีมีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จานวน 53 ตาบล ผา่ นเกณฑ์และยังไมห่ มดอายุการรับรอง
คุณภาพ จานวน 40 ตาบล (รอ้ ยละ 75.4) อาเภอ 80 ปี ยังแจ๋ว จานวน 2 อาเภอ (ร้อยละ 25.00) คลินิกผู้สูงอายุ
คุณ ภ า พ ท ุก โ ร ง พ ย า บ า ล ผ่า น เก ณ ฑ ์ แ ละผ่าน เกณ ฑ์ ระดับ ดี เลิศ จาน วน 3 แห่ ง (ร้อยล ะ 37.5)
มีอาสาสมัครผู้ดูแล/หมอน้อย หลักสูตร 1 - 3 วัน จานวน 4,012 คน ผู้ดูแล (Care Giver) หลักสูตร 70 ช่ัวโมง
จานวน 533 คน ผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager) จานวน 92 คน มีวัด จานวน 272 แห่ง ผ่านเกณฑ์วัด
สง่ เสรมิ สุขภาพขัน้ พนื้ ฐาน จานวน 50 วดั (ร้อยละ 18.53)

(2.2) ประเด็นปัญหาตามลาดบั ความสาคัญ
(2.2.1) การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์และรองรับกลุ่ม

ติดสังคมที่มีแนวโน้มเพิ่มข้ึน
(2.2.2) โรคทมี่ ผี ลจากความเส่อื มถอยของอวยั วะในผู้สงู อายุเพ่ิมมากขนึ้
(2.2.3) ผูส้ ูงอายุที่มีโรคเร้ือรังจาเปน็ ต้องได้รับการดูแลระยะยาว
(2.2.4) ผสู้ ูงอายุเจบ็ ป่วย ติดเตยี ง และพิการเข้าถึงบรกิ ารสุขภาพนอ้ ย
(2.2.5) ระบบบริการ/บรหิ ารจัดการดูแลระยะยาวยงั ไม่เอื้อ
(2.2.6) คนอ้วน/โรคอ้วนผสู้ งู อายุมพี ฤติกรรมสขุ ภาพที่พงึ ประสงค์ รอ้ ยละ 33.74

(ออกกาลงั กายอย่างน้อยสปั ดาห์ละ 3 วัน ครง้ั ละ 15- 30 นาที เป็นประจา (รอ้ ยละ 49.7)
(2.2.7) การจัดสภาพส่ิงแวดลอ้ มยังไม่เอ้ือ

(3) คณุ แมว่ ัยใส

(3.1) สถานการณ์ปจั จบุ ันและแนวโนม้
สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปล่ียนแปลงการดารงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยาย
กลายเป็นครอบครัวเด่ียว อีกท้ังสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไปทาให้พ่อแม่ใช้เวลาในการประกอบอาชีพมากข้ึน ทาให้
มีเวลาในการดูแลเด็กและเยาวชนน้อยลง ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคเครือข่ายไร้สาย และ
วัฒนธรรมข้ามชาติ ทาให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้ามากมาย นับเป็นวิกฤตในช่วงพัฒนาการของชีวิตวัยรุ่นท่ีต้องเผชิญ
ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากแนวโนม้ ของสถานการณ์ปัญหาท่พี บในวัยรนุ่ ทั้งปญั หาสุขภาพ พฤตกิ รรมเส่ียงทางเพศ การต้ังครรภ์ใน
วัยรุ่น ตลอดจนพฤตกิ รรมเสี่ยงอน่ื ๆ เชน่ การดื่มเหลา้ สูบบหุ ร่ี และสารเสพติด ภาวะสมาธิสน้ั การติดเกม และอนิ เตอร์เน็ต
เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมเส่ียงทางเพศ อาจส่งผลให้เกิดการต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น ตามมาด้วย
ปัญหาขาดการดูแลเอาใจใส่ในระหว่างต้ังครรภ์ ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของเด็กท่ีเกิดมาโดยเฉพาะ เร่ือง
พฒั นาการทางสตปิ ัญญาและอารมณ์ เมอื่ เติบโตเป็นวัยรุน่ ก็เส่ียงต่อการเข้าส่วู งจรของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์อกี
จังหวัดชัยนาทได้ดาเนินงานป้องกันการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น โดยบูรณาการกับภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้อง โดยในระดับอาเภอได้ดาเนินงานอาเภออนามัยการเจริญพันธ์ุซ่ึงขับเคลื่อนภายใต้ District Health
System โดยเช่ือมโยงกับองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ โรงเรียนและชุมชน สาหรับในสถานบรกิ ารสาธารณสุขได้จัดให้
มีระบบบริการสุขภาพท่ีเป็นมิตรสาหรับวัยรุ่นและเยาวชน (คลินิกวัยรุ่น) จากผลการดาเนินงานด้านอนามัยแม่ และ
เด็ก ปี 2553 – 2560 พบว่า มีมารดาคลอดอายุ 15-19 ปี คิดเป็นอัตรา 57.37, 56.92, 56.07, 53.83,
52.84, 47.37, 39.5, และ 24.4 ต่อประชากรหญิงอายุ 15- 19 ปีพันคน ตามลาดับ (เป้าหมาย<42) ตั้งครรภ์
ซ้า รอ้ ยละ 14.34 และจากการสารวจพฤตกิ รรมทส่ี มั พนั ธ์กบั การตดิ เช้อื เอชไอวใี นนักเรียน พบวา่ อตั ราการใชถ้ งุ ยาง
อนามยั ในนักเรยี น ชั้น ม.5 และ ปวช. 2 ปี 2554- 2558 คดิ เป็นร้อยละ 61.45, 61.67, 62.77, 69.67 และ
7 8 .4 9 ตามลาดับ พ บ ผู้ป่ วยโรคติดต่อท างเพ ศสัมพั น ธ์ 5 โรคห ลักใน กลุ่มวัยรุ่น อายุ 1 5 -2 4 ปี
ปี 2553-2559 คดิ เป็นอัตราป่วย 11.18, 20.12, 9.1, 16.11, 18.38,32.41 และ 81.82 ต่อประชากรอายุ
15-24 ปแี สนคน ตามลาดบั

37

ตาราง : อัตรามารดาคลอดอายนุ อ้ ยกว่า 20 ปี ปี 2553-2560

ปงี บประมาณ จานวนมารดาคลอด จานวนหญงิ อายุ อตั ราคลอดต่อหญงิ อายุ
อายุ อายุ อายุ 15-19 ปี 15-19 ปี พันคน
2553 < 20 ปี < 15 ปี 15-19 ปี (3*1,000/4)
2554
2555 641 - 641 11,173 57.37
2556
2557 636 - 636 11,173 56.92
2558
2559 622 - 622 11,094 56.07
2560
570 8 562 10,440 53.83

562 21 541 10,238 52.84

499 14 485 10,238 47.37

399 12 387 9,788 39.5

237 8 229 9,377 24.4

ที่มา : รายงานอนามัยแมแ่ ละเด็ก ปี 2553-2560

38

แผนภูมิแสดง อัตรามารดาคลอดอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปพี ันคน ปี 2553-2560

(เป้าหม 60
าย 55
<50) 50 47.37
45
40
3350 (3.2) ประเดน็ ปัญหาตามลาดบั ความสาคัญ
2250 อัตราคลอดต่อหญิง อายุ 15-19 ปพี นั คน
15
10

2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ตาราง : การจดั ลาดบั ความสาคัญของปัญหาวัยรุ่นจังหวดั ชยั นาท

เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการพิจารณา

ขนาดของปัญหา ความรุนแรง ความเปน็ ไปได้

ปญั หา (นาหนัก =2) (นาหนกั = 5) (นาหนัก = 3) รวม ลาดับ
คะแนน
นาหนกั คะแนน รวม นาหนัก คะแนน รวม นาหนกั คะแนน รวม
29 1
1. ยาเสพตดิ 2 365 4 20 3 13
2. มารดาคลอดอายุ 2 365 3 15 3 26 27 3
น้อยกว่า 20 ปี 2 245 2 10 3 39
3. โรคติดต่อทาง 2 245 2 10 3 26 23 5
เพศสัมพนั ธ์ 2 245 3 15 3 39 20 6

4. โรคเอดส์ 28 2
5. การใช้ถงุ ยาง 23 5
อนามยั 23 5
25 4
6. การสูบบุหร่ี 2 2 4 5 2 10 3 3 9

7. การดื่มสรุ า 2 2 4 5 2 10 3 3 9

8. โรคอว้ น 2 2 4 5 3 15 3 2 6

ส่วนท่ี 4
บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ

39

บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ

1. การขับเคลื่อนนโยบายสังคมสู่การปฏิบตั ใิ นพนื ท่ี
จากสถานการณ์ทางสังคมของจังหวดั ชัยนาท พบว่ากลุ่มเป้าหมายตามภารกิจกระทรวงการพัฒนาสงั คมและ

ความม่ันคงของมนุษย์ ทุกกลุ่มเป้าหมายยังคงประสบปัญหาทางสังคม ทั้งทางเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านความ
ปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สนิ และการดแู ลสมาชกิ ในครอบครวั

จังหวัดชัยนาทได้ระดมสรรพกาลังในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคม โดยอาศัยความร่วมแรง ร่วมมือ
ร่วมใจในหลายระดับ เช่น ปฏิบัตกิ าร ONE HOME ความร่วมมือของภาคราชการ ภาคเอกชน รวมทั้งการบูรณาการ
แผนงานโครงการ บุคลากร และงบประมาณ ตลอดจนการถ่ายทอดเช่ือมโยงภารกจิ ในกลไกการปฏิบัติงานลักษณะ
ประชารัฐ โดยมีโครงสร้างการดาเนินงานดังนี้

ผวู้ ่าราชการจังหวัดชัยนาท

ยทุ ธศาสตรภ์ าค

ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวัด ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง พม.

ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาสงั คม ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั สวัสดกิ ารสังคม

แผนปฏบิ ัติราชการ

แผนบรู ณาการหน่วยงาน ONE HOME

น อ กจาก นี้ ยั งมี ภ ารกิ จ ด้ าน สั งค ม ท่ี ขับ เค ลื่ อน ด้ วย กล ไก คณ ะกรรม การ ค ณ ะอนุ กรรม การ
และคณะทางานดา้ นต่างๆ ตามประเดน็ งานและกลมุ่ เปา้ หมาย ดงั น้ี

- คณะกรรมการสง่ เสริมการจัดสวัสดกิ ารสังคมจังหวดั
- คณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชพี จงั หวัดชยั นาท
- คณะอนกุ รรมการส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ
- คณะอนกุ รรมการรับเดก็ เป็นบตุ รบญุ ธรรม
- คณะอนุกรรมการศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์

40

- คณะอนกุ รรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวดั
- คณะอนกุ รรมการคุ้มครองคนไร้ที่พงึ่ จงั หวัดชัยนาท
- คณะอนุกรรมการควบคมุ การขอทานจงั หวัด

ทั้งน้ีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ยังมีกองทุนต่างๆ ท่ีสนับสนุนการดาเนินโครงการ
การจดั กจิ กรรมตา่ งๆ ดังน้ี

1. กองทุนส่งเสริมและพฒั นาคฯุ ภาพชีวิตคนพิการ
2. กองทุนส่งเสรมิ การจดั สวัสดกิ ารสังคม
3. กองทนุ ผู้สูงอายุ
4. กองทุนคุม้ ครองเด็ก
5. กองทนุ เพอ่ื ปอ้ งกันและกราบปรามการคา้ มนุษย์
และยังมีกิจกรรมเพื่อการรวบรวมข้อมูลด้านสังคมเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาสังคม เช่นการรณรงค์เพ่ือสร้าง
ความตระหนักและกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมในประเด็นต่างๆ การจัดสมัชชา
สวัสดิการสงั คม สมชั ชาผ้สู งู อายุ สมชั ชาสตรี สมัชชาเด็ก ฯลฯ

ทุนทางสังคมที่สาคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาสังคม คือ อาสาสมัครการพัฒนาสังคม และ
ความมั่นคงของมนุษย์ช่วยเหลือคนพิการ พลังจิตอาสาจากภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง เช่น จิตอาสาเราทาความดีด้วยหัวใจ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น อาสาสมคั รแรงงาน เป็นต้น

2. ข้อเสนอแนะ

ในการปฏิบัติงานเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมและการพัฒ นาศักยภาพบุคลากร
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และการพัฒนาสังคมน้ัน ต้องอาศัยพลังเพ่ือให้แรงผลักดัน
ในการชว่ ยเหลือผู้อ่นื ตอ่ ไป ดังนั้นจึงมขี อ้ เสนอแนะ ดังน้ี

1. การเพิ่มศกั ยภาพและสมรรถนะบคุ ลากรและระบบการบริการเพื่อการบริหารการพฒั นาสังคม
2. การมีข้อมูลที่ครบถ้วน ทันสมัย เพ่ือเป็นฐานในการวางนโยบายและการปฏิบัติในด้านกลุ่มเป้าหมาย ประเด็น
ปัญหา พ้นื ทีป่ ระสบปัญหา
3. การวจิ ยั และพฒั นาเพอื่ สร้างองค์ความรู้เพื่อการพฒั นาสงั คม
4. การเพ่ิมและพัฒนาศกั ยภาพกลุ่มเป้าหมาย เครือขา่ ยทางสงั คม ให้มีความรู้ ความเข้าใจ แนวนโยบาย องค์
ความร้แู ละการปฏิบตั ิงาน ให้สามารถรว่ มงานกันได้อย่างมเี อกภาพ
5. เสริมสร้างความเขม้ แข็งใหแ้ กค่ รอบครัว กลมุ่ องคก์ ร
6. รณรงค์ใหส้ าธารณชนตระหนกั ในการรบั ผดิ ชอบด้านสงั คมรว่ มกนั


Click to View FlipBook Version