The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ปี 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by titleaudit03, 2022-09-21 04:46:21

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ปี 2561

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ปี 2561

Keywords: รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ปี 2561

รายงานสถานการณ์ทางสังคม
จังหวดั ชัยนาท ประจาปี ๒๕๖๑

สำนักงำนพฒั นำสังคมและควำมมนั่ คงของมนุษย์จังหวดั ชัยนำท
สำนักงำนปลัดกระทรวง

กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่นั คงของมนุษย์



คำนำ

สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์จังหวัดชัยนำท มีภำรกิจจัดทำนโยบำยและ
ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมท้ังรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคม และ
เสนอแนะแนวทำงแก้ไข และประสำนและจัดทำแผนงำน โครงกำรและกิจกรรมด้ำนกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคง
ของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน และประสำนกำรดำเนินงำนกับองค์กรเครือข่ำยในจังหวัด
ท้ังภำครัฐและภำคเอกชน รวมทั้งกำรช่วยเหลือผู้ประสบปัญหำทำงสังคม ตลอดจนเป็นศูนย์ข้อมูลด้ำนกำรพัฒนำ
สังคมและควำมมน่ั คงของมนษุ ยใ์ นระดับจังหวดั

กำรจัดทำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมจังหวัดชัยนำท ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2561 ได้รวบรวม
ข้อมูลจำกหน่วยงำนต่ำงๆที่เก่ียวข้อง ผนวกกับใช้ระบบฐำนข้อมูล Big Data และข้อมูลแผนท่ีทำงสังคม
(Social Map) ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้ำหมำย มีวัตถุประสงค์ เพ่ือสำรวจข้อมูลผู้ประสบปัญหำทำงสังคมจังหวัดชัยนำท
หัวหน้ำครัวเรือน และผู้ประสบปัญหำในครัวเรือน ที่มีควำมต้องกำรควำมช่วยเหลือครอบครัวที่ประสบปัญหำทำง
สังคมและสวัสดิกำรทีเ่ คยไดร้ ับ รวมท้ังเพ่ือให้ได้ขอ้ มลู ท่ถี ูกต้อง ชดั เจน และครอบคลุมทุกกลมุ่ เปำ้ หมำย และสำมำรถ
นำข้อมูลไปใช้ในกำรกำหนดแผนงำน/โครงกำรเพื่อส่งเสริมกำรพัฒนำ กำรสงเครำะห์ กำรคุ้มครอง กำรป้องกัน
กำรแก้ไข และกำรบำบัดฟื้นฟู เปน็ ต้น เพือ่ แกไ้ ขปัญหำสังคมท่ีเกดิ ขนึ้ เป็นไปอยำ่ งมีประสิทธภิ ำพ

ในกำรแก้ไขปัญหำสังคมและพัฒนำคุณภำพชีวิตของประชำชนจำเป็นต้องมีข้อมูลของผู้ด้อยโอกำส
และสภำพปัญหำทำงสังคมในพื้นที่มำสนับสนุนกำรดำเนินงำน เพื่อให้กำรแก้ไขปัญหำสังคม สอดคล้องกับสภำพ
ปัญหำทำงสังคมท่ีเกิดขึ้นในจังหวัด โดยมีกำรรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิของหน่วยงำนต่ำงๆในจังหวัด และพ้ืนท่ีจำนวน
8 อำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 59 แห่ง นำมำวิเครำะห์และจัดทำเป็นรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคม
จังหวัดชัยนำท ซ่ึงจะสะท้อนให้เห็นถึงสถำนกำรณ์ทำงสังคมจังหวัดชัยนำท ตลอดจนกลุ่มเป้ำหมำยที่พึงได้รับ
ควำมช่วยเหลือ เพื่อให้มีคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น สร้ำงสถำบันครอบครัวและชุมชนเข้มแข็ง เพ่ือให้บรรลุภำรกิจหลัก
ของกระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมม่ันคงของมนุษย์ทัง้ ในปัจจบุ ันและในอนำคต

สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนำท หวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำรำยงำน
สถำนกำรณ์ทำงสังคมจังหวัดชัยนำท จะให้ครัวเรือน ชุมชน หน่วยงำนที่เก่ียวข้องกับกำรพัฒนำสังคม ท้ังภำครัฐ
ภำคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้เห็นควำมสำคัญของข้อมูลรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมจังหวัด
เพือ่ นำไปใช้ประโยชน์ในกำรกำหนดแผนงำนโครงกำรตำ่ งๆ รวมทัง้ แกไ้ ขปัญหำและพัฒนำคุณภำพชวี ิตของคนชัยนำท
ตอ่ ไป

สำนกั งำนพฒั นำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จงั หวัดชยั นำท
31 สิงหำคม 2561

สารบญั ค

คานา หนา้
บทสรุปผบู้ ริหาร ก
สารบญั ข
ส่วนที่ 1 บทนา ค

หลกั การเหตผุ ลของการจดั ทารายงาน 1
ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ 2
การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ต่างๆ ทสี่ าคัญ 2
กรอบหรือกระบวนการจดั เก็บข้อมูล 3
ผลสรปุ ทีส่ าคัญ 3-8
แนวทางในการดาเนินการต่อในอนาคต 9
สว่ นที่ 2 ข้อมูลทั่วไปของจังหวดั ชัยนาท
ข้อมูล พนื้ ที่ การปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ 10-18
ข้อมลู ดา้ นประชากร กลุ่มประชากรเฉพาะ 19
ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจของจงั หวดั และประชากร
ขอ้ มูลดา้ นแรงงาน การศกึ ษา สาธารณสุข 20-21
สว่ นที่ 3 สถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั ชัยนาท 22-54
การเสนอกลุ่มเป้าหมายที่จดั เกบ็ จาก Social Map
ข้อมูลสถานการณส์ งั คมท่วั ไประดบั จงั หวัด 55-60
สว่ นท่ี 4 ข้อเสนอแนะ 61-109
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
110-112


บทสรปุ สำหรบั ผูบ้ รหิ ำร

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เป็นองค์กรหลักในการขับเคล่ือนการพัฒนาสังคม
นาไปสู่สังคมท่ีดีงามและอยู่เย็นเป็นสุข โดยมียุทธศาสตร์ในการพัฒนาสวัสดิการสังคมและสร้างความม่ันคง
ในการดารงชีวิต ส่งเสรมิ การขับเคล่ือนการพัฒนาป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมเสริมพลังและสร้างการมีส่วนร่วม
รวมท้ัง ส่งเสริมระบบการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล จึงได้มอบหมายให้ สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท จัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด เป็นประจาทุกปี โดย
ในปีงบประมาณ พ.ศ.256๑ รัฐบาลได้ให้ความสาคัญของข้อมูลด้านการพัฒนาสังคม โดยเฉพาะข้อมูล Big Data
เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยใช้ข้อมูลวิเคราะห์ แบบจัดเก็บ
ข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสังคม เพ่ือนาเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนที่ทางสังคม (Social Map) เป็นฐานข้อมูลในการ
นาเสนอโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนถึงปัญหา และเห็นภาพรวมของสังคมเพื่อร่วมกันหาแนวทางในการป้องกัน
และแกไ้ ขปญั หาสังคมทเี่ กดิ ขึ้นในจังหวัดชยั นาท

สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท ได้ดาเนินการสารวจข้อมูลสถานการณ์
ทางสังคมจังหวัด (สคจ) เป็นประจาทุกปี โดยใช้แบบจัดเก็บข้อมูล และรวบรวมข้อมูลในพื้นท่ี เพื่อใช้ในการจัดทา
รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ประกอบกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีนโยบาย
จัดเก็บข้อมูล Big Data ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาสังคม โดยเสนอข้อมูลแผนท่ีทางสังคม (Social Map) รวมทั้ง
การใช้ข้อมูลท่ีลงทะเบียนโครงการเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ตลอดจนข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2561
ท่ีเป็นตัวช้ีวัดของสานักงานฯ ที่รับผิดชอบใน 4 ตัวชี้วัดท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. มาเป็นตัวกาหนดวางแผนโครงการ
กิจกรรม การช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาให้กับผู้ประสบปัญหาทางสังคมในพ้ืนที่ตามกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็ก
และเยาวชน สตรีและครอบครัว ผู้สูงอายุ คนพิการ คนเร่ร่อน คนไร้ท่ีพ่ึงและผู้แสดงความสามารถ ค้ามนุษย์ และ
ที่อยู่อาศัยชุมชนผู้มีรายได้น้อยให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามภารกิจของกระทรวงฯ ซึ่งจังหวัดชัยนาท มีจานวน
ประชากร ท้ังหมด 328,660 ราย (ข้อมูลปกครองจังหวัดชัยนาท เดือนมิถุนายน 2561) โดยมีผู้ลงทะเบียน
โครงการเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ จากกระทรวงการคลัง จานวนท้ังหมด 65,901 ราย โดยมีผู้ประสบปัญหาทางสังคม
ท้ังหมด จานวน 9,497 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.41 หรือมีจานวนครัวเรือนที่ประสบปัญหาทางสังคม 6,288
ครัวเรือน จานวน 3,497 ราย ในจานวนนี้เป็นหัวหน้าครัวเรือน จานวน 4,924 คน ประเด็นปัญหาที่พบมากท่ีสุด
คือ มีรายได้ไม่เพียงพอแก่การครองชีพ จานวน 7,047 ราย รองลงมา ยากจน จานวน 3,921 ราย มีหนี้สินไม่มี
การออม จานวน 1,898 ราย การเจ็บป่วยเรื้อรัง จานวน 1,082 ราย ตามลาดับ ปัญหาความต้องการท่ีพบ
จากข้อมูล Big Data ลาดับแรกต้องการด้านเงินสงเคราะห์ จานวน 7,666 ราย รองลงมาคือ เงินทุนประกอบอาชีพ
จานวน 2,498 ราย ฝึกอาชีพ จานวน 378 ราย เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ จานวน 370 ราย เบ้ียความพิการ จานวน
3 5 ราย ต าม ล าดั บ ใน ป ระ เด็ น เรื่อ งก ารได้ รับ ส วัส ดิ ก ารท่ี เค ย ได้ รับ พ บ ว่ า ส่ ว น ม าก เค ย ได้ รั บ
มีจานวน 8,870 ราย สวัสดิการที่ได้รับมากท่ีสุด ได้แก่ สวัสดิการท่ีได้รับจากการลงทะเบียนโครงการ
เพ่ือสวัสดิการแห่งรัฐ จานวน 7,009 ราย สวัสดิการภาครัฐ จานวน 7,008 ราย เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ จานวน
3,419 ราย เบีย้ ความพิการ จานวน 3,320 ราย เงนิ ทุนประกอบอาชพี จานวน 137 ราย

การขับเคล่ือนการดาเนินงานตามภารกิจของ พม. ในการดูแล และพัฒนาคน ตลอดทุกช่วงวัย
เป็นภารกิจท่ีมีความเช่ือมโยงกันหลายๆหน่วยงานหรือหลายกระทรวงในหลากหลายมิติ ซึ่งไม่สามารถจะดาเนินการ
ได้เพียงหน่วยงานเดียว จึงจาเป็นต้องมีการบูรณาการ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องในการประสานงาน
การทางานร่วมกัน เพ่ือผลักดันภารกิจในการพัฒนาคนและสังคม ให้มุ่งไปสู่เป้าหมายของความอยู่ดีมีสุข
อยา่ งย่ังยนื สบื ไป

ส่วนที่ 1
บทนำ



1.1 หลกั กำรเหตผุ ลของกำรจัดทำรำยงำน

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มวี ิสยั ทศั น์ พม.เป็นผนู้ าดา้ นสังคมของไทยและอาเซียน
มุ่งสู่คนอยู่ดีมีสุขในสังคมคุณภาพ รวมท้ัง มียุทธศาสตร์ในการพัฒนาสวัสดิการสังคมและสร้างความม่ันคงในการ
ดารงชวี ิต ส่งเสรมิ การขับเคล่ือนการพฒั นาป้องกันและแกไ้ ขปัญหาทางสงั คมเสรมิ พลงั และสร้างการมสี ่วนร่วม รวมทั้ง
ส่งเสริมระบบการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จึงได้
กาหนดให้สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั ชยั นาท จดั ทารายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัด
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑ โดยใช้ข้อมูลวิเคราะห์ แบบจัดเก็บข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสังคม เพื่อนาเสนอ
ขอ้ มูลในรูปแบบแผนท่ีทางสังคม (Social Map) เป็นฐานข้อมูลในการนาเสนอโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสะท้อนถงึ ปญั หา
และเห็นภาพรวมของสงั คม เพอ่ื ร่วมกันหาแนวทางในการปอ้ งกัน และแกไ้ ขปัญหาสังคมทเี่ กิดข้นึ ในจังหวดั ชยั นาท

สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค สังกัด
สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีภารกิจและอานาจหน้าท่ี เกี่ยวกับการพัฒนา
สังคมสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพและความม่ันคงในชีวิต สถาบัน
ครอบครัวและชุมชน และปฏิบัติราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนดโดยมีเป้าประสงค์ เพื่อมุ่งให้ประชาชน มีความ
มั่นคงในการดารงชีวิต มีบริการสวัสดิการและคุ้มครองอย่างท่ัวถึงเป็นธรรมและเสมอภาค สามารถพัฒนาตนเอง
ครอบครัวและชุมชนเป็นสังคมสันติสุขน่าอยู่และยั่งยืน มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ของกระทรวงฯ และ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท มีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็ง การพัฒนาคนให้มีคุณธรรม
จริยธรรม เป็นสังคมท่ีดี รวมท้ังพัฒนาระบบการส่งเสริมองค์ความรู้และเสริมสร้างศกั ยภาพของภาคีเครือข่าย จึงได้มี
การสารวจข้อมูลพ้ืนฐานผู้ประสบปัญหาทางสังคม เช่น ปัญหาความต้องการ การแก้ไขปัญหาสังคม แล้วนามา
วิเคราะห์เพื่อจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แล้วส่งให้หน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้อง กับการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการได้นาข้อมูลท่ีได้น้ันไปดาเนินการวางแผนการแก้ไขปัญหาทาง
สงั คมในพ้นื ทีจ่ งั หวดั ชัยนาท อย่างมีประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้นึ ไดพ้ จิ ารณาเป็น 7 กลุม่ เปา้ หมาย ได้แก่

1 เด็กและเยาวชน
2 สตรีและครอบครัว
3 ผ้สู งู อายุ
4 คนพกิ าร
5 คนเรร่ อ่ น คนไรท้ พ่ี ง่ึ และผู้แสดงความสามารถ
6 คา้ มนุษย์
7 ที่อย่อู าศัย ชุมชนผมู้ ีรายไดน้ ้อย



ประโยชนท์ ่ีคำดว่ำจะได้รับ

1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) ได้มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม ที่มีความเป็นเอกภาพ
มคี วามนา่ เชื่อถอื และเป็นทีย่ อมรบั ของทกุ ภาคสว่ น

2. จังหวัดชัยนาท มีฐานข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมเพื่อการพัฒนาสังคมที่มีประสิทธิภาพใช้เป็นข้อมูลของ
จงั หวดั ในการกาหนด และแก้ไขปญั หาสังคมของจังหวัด

3. จังหวัดชัยนาทได้รับทราบถึงประเด็นปัญหาสังคม และปัญหาสังคมเชิงกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องได้รับการพัฒนา
ตอ่ ไป

4. ประชากรกลุ่มเป้าหมายในความรับผิดชอบของกระทรวงฯ ได้รับการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมตรงกับ
ความต้องการอย่างท่ัวถึง

5. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงฯ มีข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสังคม ท่ีถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบันและ
ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและพื้นท่ีในภารกิจของกระทรวงฯ เพ่ือนาไปวางแผนดาเนินการได้ ตามภารกิจของ
แตล่ ะหน่วยงาน

1.2 กำรเปล่ยี นแปลงของสถำนกำรณต์ ำ่ งๆ ทส่ี ำคัญ

ด้านคุณภาพทางการเรียนของเด็กพบว่า จังหวัดชัยนาทได้เร่งรัดทางการพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลุ่ม
ให้มีการพัฒนาหลักการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง แต่ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนการสอนในระดับ
ประถมศึกษาชั้นปีท่ี 6 มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ยังมีค่าเฉล่ียต่ากว่าผลสัมฤทธ์ิการเรียนใน
ระดับประเทศทุกกลุ่ม ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2557 จนถึง พ.ศ. 2559 ผลสัมฤทธิ์ของทางการเรียนได้แก่ การทดสอบ
ระดับชาติ (O-net) โดยเฉลีย่ ไมถ่ ึง ร้อยละ 50

ด้านผู้สูงอายุจังหวัดชัยนาท เป็นสังคมผู้สูงอายุโดยพบว่าประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไปคิดเป็น ร้อยละ 21.47
(กรมการปกครอง, 2561) ซึง่ ตามคานยิ ามขององค์การสหประชาชาติ การก้าวเขา้ สู่สังคมผู้สงู อายุ คือการมีประชากร
อายุ 60 ปีขึน้ ไป รวมทั้งเพศชายและเพศหญิง มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรรวม หรือมีประชากรอายุต้งั แต่ 60
ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 7 ของประชากรรวม และจังหวัดชัยนาทได้เข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2561
ประชากรจังหวัดชัยนาท มีจานวน 328,660 คน เป็นผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 70 ,5 75 คน
คิดเป็นร้อยละ 21.47 ซึ่งสูงกว่าค่าร้อยละประชากรสูงอายุของประเทศไทย ปีพ.ศ. 2560 (60 ปีข้ึนไป
ร้อยละ 0.106) รวมท้ังจากการคานวณของสานักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2555
ผลจากการคาดการณ์ประชากรไทย พ.ศ 2553-2583 จังหวัดที่มีดัชนีการสูงวัยมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
พ.ศ. 2560 ได้แก่ จังหวัดสิงห์บุรี รองลงมา ได้แก่ จังหวัดลาพูน และพบว่าจังหวัดชัยนาทเป็นอันดับท่ี 6
ของประเทศไทย (ข้อมลู กรมกจิ การผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. 2560)



1.3 กรอบหรือกระบวนกำรจดั เก็บขอ้ มลู

นโยบายของรัฐบาลข้อมูล Big Data เป็นส่วนหน่ึงท่ีจะยกระดับการเป็นเจ้าภาพข้อมูลด้านสังคม และพัฒนา
ระบบข้อมูลด้านสังคม การขับเคล่ือนระบบแผนท่ีทางสังคม (Social Map) ตลอดจนทีม พม.จังหวัดชัยนาท
(One Home) ดงั น้ี

1.รับนโยบายจากกระทรวง พม. และประชมุ ทีม พม.จังหวดั ชยั นาท (One Home)
2.ประชุม Video Conference ระบบแผนท่ีทางสังคมร่วมกับส่วนกลางเพ่ือสร้างความเข้าใจแผนงานและ
แนวทางการดาเนนิ งาน
3.จัดเตรยี มข้อมูลในพนื้ ท่ี เช่น ข้อมูลอาเภอ ตาบล หมู่บา้ น ข้อมูลผู้ลงทะเบยี นสวสั ดิการแห่งรัฐ และจานวน
รายชื่อกลุม่ เปา้ หมายตามภารกจิ กระทรวง พม.
4.จดั ทาแผนการขับเคลือ่ นและแตง่ ตัง้ คาส่งั คณะทางานของทีม พม.จงั หวัดชยั นาท (One Home)
5.ชี้แจงที่ประชุมประจาเดือนกรมการจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการ มีหนังสือถึงอาเภอขอความร่วมมือ
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ (อปท.) ในพ้นื ท่ี
6.จัดประชุมทาแผนข้อมูลที่ทางสังคม (Social Map) และจัดอบรมทาความเขา้ ใจแบบจัดเก็บข้อมูลผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคม ระบบบนั ทึกขอ้ มูล รวมไปถงึ การใช้ Application หาพกิ ดั ใหก้ บั เจ้าหน้าที่ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
7.ลงพื้นท่ีจัดเกบ็ ข้อมูล Online Offline Paper พร้อมชแ้ี จงปญั หาอุปสรรคและรว่ มหาแนวทางแกไ้ ข
8.เสร็จสิ้นกระบวนการสรุปผลให้สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 จังหวัดลพบุรี (สสว.8) และ
กระทรวงฯ ทราบ
การจัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิได้จากทางด้านคุณภาพชีวิตจังหวัดชัยนาท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จากข้อมูล
ความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ซึ่งมี 31 ตัวช้ีวัด ซ่ึงบางส่วนสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวัดชัยนาท รับผิดชอบตัวช้ีวัด 6 ตัวช้ีวัด ซ่ึงไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. มี 4 ตัวช้ีวัด ประกอบด้วยครัวเรือนไม่มี
การออมเงิน คนอายุ 60 ปีขึ้นไปไม่มีอาชีพหรือมีรายได้ ครัวเรือนมีความม่ันคงในที่อยู่อาศัยและครอบครัวที่มีสภาพ
มั่นคงถาวร และครอบครัวอบอุ่น และท่ีผ่านเกณฑ์ จปฐ. มี 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากครอบครัว
ชุมชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน ผู้คนพิการได้รบั การดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน

1.4 ผลสรปุ ทีส่ ำคัญ

ประชำกรจังหวดั ชัยนำท ชำย หญิง รวม

(คน) (คน) (คน)

ประชากรท้งั หมด ๑๕๘,๒๖๔ ๑๗๐,๓๙๖ ๓๒๘,๖๖๐

ครัวเรือนทั้งหมด ๘๙,๑๓๙ ครัวเรือน

๔๐๐,๐๐๐ ประชากรทง้ั หมด
๓๐๐,๐๐๐
๒๐๐,๐๐๐ ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)
๑๐๐,๐๐๐



ขอ้ มูลจำกปกครองจังหวดั ชัยนำท ณ มิถุนำยน ๒๕๖๑

4

1. เดก็ และเยำวชน

จังหวัดชัยนาท มีเด็กและเยาวชน จานวน 92,503 ราย คิดเป็นร้อยละ 28.14 แยกเป็นชาย
47,320 ราย เป็นหญิง 45,183 ราย คิดเป็นร้อยละ 49.04 (ข้อมูลปกครองจังหวัดชัยนาท ณ เดือนมิถุนายน
2561) ปัญหาท่ีพบมีเด็กแรกเกิดท่ีต้องได้รับการดูแล จานวน 1,141 ราย (ข้อมูลปีงบประมาณ 2561) และมีเด็ก
ในครอบครัวยากจน/บิดามารดา หย่าร้างทิ้งร้างถูกคุมขัง/แยกกันอยู่และได้รับความลาบาก จานวน 710 ราย
ได้รับการเล้ียงดูไม่เหมาะสม 23 ราย ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และไม่พร้อมในการเลี้ยงบุตร 29 ราย (ข้อมูล Social Map
2560) จังหวดั ชยั นาท ได้ดาเนินการป้องกันการตั้งครรภ์ในวยั รุ่นโดยบูรณาการรวมกับส่วนราชการท่ีเกยี่ วข้อง ทาให้
อัตราการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นมีแนวโน้มลดลงทุกปี จากปี พ.ศ. 2558 ถึงปี พ.ศ. 2560 ข้อมูลจากอนามัยแม่และเด็ก
จากจานวน 499 ราย ลดลงเป็น 399 ราย และ 237 ราย ตามลาดับ และในปี พ.ศ. 2561 มีจานวนเพียง
29 ราย เด็กนักเรียนจบชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ไม่ได้เรียนต่อมัธยมศึกษาปีท่ี 4 และเด็กท่ีไมไ่ ด้รบั การศึกษาภาคบังคับ
หมายถึงเด็กท่ีไม่ได้เข้าเรียนและออกกลางคันมี จานวน 327 คน เยาวชนไม่ศึกษาต่อหลังจากจบช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 6 การมวั่ สมุ เยาวชนมกี ารสบู บหุ รี่และดมื่ สรุ าเพิ่มมากขนึ้ และขาดแคลนทนุ การศกึ ษา

เดก็ และเยำวชนจงั หวัดชัยนำท ชำย หญิง รวม
(คน) (คน) (คน)

เดก็ และเยาวชน ๔๗,๓๒๐ ๔๕,๑๘๓ ๙๒,๕๐๓

๑๐๐,๐๐๐ ดก ะ ยาวชน
๐,๐๐๐
๐,๐๐๐ ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)

๔๐,๐๐๐
๒๐,๐๐๐



ข้อมูลจำกปกครองจงั หวัดชัยนำท ณ มถิ นุ ำยน ๒๕๖๑

5

2. สตรแี ละครอบครัว
ครอบครัวทป่ี ระสบปญั หาทางสงั คมทไ่ี ด้รับความชว่ ยเหลอื มีแนวโนม้ มากข้ึนในปี พ.ศ. 2561 ดงั น้ี

1. มีการสงเคราะห์ครอบครัวรายบุคคล และรายเดือน จานวน 199 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.06
(ข้อมลู จากสานักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวัดชยั นาท ณ วันท่ี 31 กรกฎาคม 2561)

2. เป็นครอบครัวยากจน บิดามารดาหย่าร้าง หรือแยกกนั อยู่ จานวน 710 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.21
(ข้อมลู Social Map 2560)

3 . ด้าน สตรีห ม้ายที่ ต้องเลี้ยงดูบุ ตรตามลาพั ง จาน วน 9 2 ราย คิดเป็ นร้อยละ 0 .0 2
(ข้อมูล Social Map 2560)

3. ผสู้ ูงอำยุ
ในจังหวัดชัยนาท มีจานวนประชากรผู้สูงอายุ (เฉพาะสัญชาติไทย) แยกเพศชาย 30,314 คน คิดเป็น

ร้อยละ 9.22 แยกเพศหญิง 40,261 คน คิดเป็นร้อยละ 12.25 รวมท้ังส้ิน 70,575 คน คิดเป็นร้อยละ 21.47
ของจานวนประชากรท้ังหมดของจังหวัดชัยนาท (ข้อมูลจากปกครองจังหวัดชัยนาท ณ เดือนมิถุนายน 2561)
สถานการณ์ปญั หาทางสงั คมจงั หวัดชัยนาท พบว่าผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ประสบปญั หาเจ็บป่วยเร้ือรัง จานวน 1,082
คน รองลงมาที่อยู่อาศัยไม่ม่ันคง/สภาพที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมต่อการพักอาศัย จานวน 295 คน และ ถูกทอดท้ิง
อยู่ตามลาพัง ไม่มีผู้ดูแล และมีปัญหาในการดารงชีวิต จานวน 41 ราย (ข้อมูล Social Map 2560) ผู้สูงอายุ
ของจงั หวดั ชัยนาทมีแนวโน้มที่จะสงู ขึ้นทุกปี โดยสังเกตได้จากค่าเฉล่ียอายุของประชากรจังหวัดชัยนาทที่มีเพ่ิมข้ึนทุก
ปี และดัชนผี ้สู งู อายขุ องจังหวัดชัยนาท

ผสู้ งู อำยุจังหวัดชัยนำท ชำย หญงิ รวม
ผสู้ ูงอายุ (คน) (คน) (คน)

๓๐,๓๑๔ ๔๐,๒๖๑ ๗๐,๕๗๕

๐,๐๐๐ ง าย
๐,๐๐๐
๐,๐๐๐ ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)
๐,๐๐๐
๔๐,๐๐๐
๓๐,๐๐๐
๒๐,๐๐๐
๑๐,๐๐๐



ข้อมูลจำกปกครองจงั หวดั ชัยนำท ณ มิถนุ ำยน ๒๕๖๑

6

4. คนพกิ ำร
จังหวัดชัยนาท มีจานวนคนพิการ 14,251 คน คิดเป็นร้อยละ 4.34 จากจานวนประชากร

จังหวัดชัยนาท แยกเป็นชาย 6,846 คน คิดเป็นร้อยละ 2.10 แยกเป็นหญิง 7,405 คน คิดเป็นร้อยละ 2.30
(ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561) ปัญหาท่ีพบของคนพิการ ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ มีจานวน 381 ราย
รองลงมา ขาดแคลนกายอุปกรณ์ จานวน 110 ราย และยังไม่ได้จดทะเบียนคนพิการ จานวน 76 ราย คนพิการ
ส่วนใหญ่จะพิการทางด้านการเคล่ือนไหว/ทางร่างกาย มีจานวน 2,289 ราย รองลงมาพิการทางการได้ยิน
มจี านวน 698 ราย ทางการมองเห็น 344 ราย ตามลาดับ (ขอ้ มูล Social Map 2560)

ผพู้ ิกำรจังหวดั ชัยนำท ชำย หญิง รวม
คนพกิ าร (คน) (คน) (คน)

๖,๘๔๖ ๗,๔๐๕ ๑๔,๒๕๑

๑ ,๐๐๐ คน กิ าร
๑๔,๐๐๐
๑๒,๐๐๐ ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)
๑๐,๐๐๐

,๐๐๐
,๐๐๐
๔,๐๐๐
๒,๐๐๐



ข้อมูลจำกศนู ย์บรกิ ำรคนพิกำรจังหวดั ชัยนำท ณ กรกฎำคม ๒๕๖๑

7

5. คนไรท้ ี่พง่ึ /ผู้ด้อยโอกำส
จงั หวัดชัยนาท มีคนไร้ที่พ่ึงและผู้ด้อยโอกาส รวมจานวน 31 คน คิดเป็น 0.010 จากประชากรทั้งหมด

จังหวัดชัยนาท (ข้อมูล Social Map 2560) โดยแยกเป็นคนเร่ร่อน จานวน 8 คน ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
จานวน 5 คน ผู้ติดเช้ือเอดส์และผู้ได้รับผลกระทบจากเอดส์ (HIV) จานวน 18 คน ซึ่งในปีพ.ศ. 2561 -2562
มแี นวโนม้ ลดน้อยลง

คนไร้ท่ีพ่ึงและผดู้ ้อยโอกำส จำนวน
(คน)
คนเรร่ ่อน 8
ไมม่ ีสถานะทางทะเบียนราษฎร 5
ผตู้ ดิ เช้อื เอดส์ และผไู้ ดร้ ับผลกระทบ 18

จากเอดส์ (HIV) 31
รวม

20 คน รร น
15 มมทะ ยนรา ร
10 ดิ ช้ ด
5 ะ ดร ั กระท
0 าก ด (HIV)

านวน (คน)

ขอ้ มูลจำก Social Map 2560

8

6. ค้ำมนษุ ย์
สถานการณ์การค้ามนุษย์จังหวัดชัยนาท พบว่าไม่รุนแรง เนื่องจากจังหวัดชัยนาทเป็นจังหวัดท่ีมี

สถานบริการน้อย และมีการควบคุมการเปิดปิดเวลาของสถานบริการต่างๆ อย่างชัดเจนและเคร่งครัด โดยในเดือน
มิถุนายน 2561 มีคดีค้ามนุษย์จานวน 1 คดี เก่ียวกับการให้บริการทางเพศ เด็กชาย อายุ 15 ปี ซ่ึงได้ควบคุมและ
อยูร่ ะหวา่ งการดาเนินคดี

7. ที่อยู่อำศัย
จังหวัดชัยนาท พบว่าปัญหาเรื่องท่ีอยู่อาศัยไม่มั่นคง/สภาพที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมต่อการพักอาศัย

จานวน 295 ครัวเรือน (ข้อมูล Social Map 2560) ซ่ึงทางสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จังหวัดชัยนาท ได้ดาเนินการซ่อมบ้านคนพิการ จานวน 14 หลัง ซ่อมบ้านผู้สูงอายุ จานวน 309 หลัง
โค รงก ารป รับ ส ภ าพ แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ สิ่ งอ าน ว ย ค ว าม ส ะ ด ว ก ข อ งผู้ สู งอ ายุ จ าน ว น 2 6 ห ลั ง แ ล ะ
โครงการบ้านพอเพียงชนบท (พอช.) จานวน 239 หลัง ซ่ึงจังหวัดชัยนาทได้เร่งซ่อมแซมปรับปรุงที่อยู่อาศัย
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561

ทีอ่ ยู่อำศยั จงั หวดั ชยั นำท จำนวน
(หลัง)
ซอ่ มบ้านคนพิการ ๑๔
โครงการ 1 ตาบลซอ่ ม 1 ตาบลสรา้ ง ๓๐๙

โครงการปรบั สภาพแวดล้อมและ 26
ส่ิงอานวยความสะดวกของผสู้ งู อายุ
โครงการบ้านพอเพยี งชนบท (พอช.) ๒39

๕ ่อมบำ้ นคนพกิ ำร

๒๕ โครงกำร 1 ตำบล อ่ ม 1 ตำบลสร้ำง

๑๕ โครงกำรปรับส ำพแวดล้อมและสิ่ง
๑ อำนวยควำมสะดวกของผสู้ งู อำยุ
๕ โครงกำรบำ้ นพอเพยี งชนบท (พอช.)

จำนวน (หลัง)

ขอ้ มูลจำก Social Map 2560 / สำนกั งำนพัฒนำสงั คมและควำมม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั ชยั นำท/
ศูนยบ์ รกิ ำรคนพกิ ำรจังหวัดชยั นำท /สถำบันพัฒนำองค์กรชุมชน (องค์กำรมหำชน) ณ กรกฎำคม ๒๕๖๑

9

1.5 แนวทำงในกำรดำเนินกำรต่อในอนำคต

1. จงั หวดั ชยั นาทไดม้ ีการจดั ทาโครงการครอบครวั อบอุน่
2. โครงการฝึกอาชพี ผู้สงู อายุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. จังหวัดชัยนาทมีนโยบายให้สถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร์เกษมจังหวัดชัยนาท

เพ่ือหาแนวทางการสนับสนุนวิทยากรเพื่อเสริมทักษะในการสอนให้กับนักเรียนท่ีมีผลการเรียนต่า
เพอื่ ให้เด็กนักเรียนไปพัฒนาและปรบั ปรงุ ผลการเรียนใหด้ ีย่ิงขน้ึ ต่อไป

ส่วนท่ี 2
ขอ้ มลู ท่วั ไปของจังหวดั ชัยนำท

10

2.1 ข้อมูลกำย ำพของจงั หวดั พน้ื ที่ กำรปกครอง องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

วสิ ยั ทศั น์ : เมอื งเกษตรมำตรฐำน ย่ำนท่องเที่ยวเพอ่ื กำรเรยี นรู้ มงุ่ สู่สง่ิ แวดลอ้ มสมดุลและสังคมเป็นสขุ
คำนยิ ำม

เมืองเกษตรมำตรฐำน หมายถึง เมืองที่ผลผลิตทางการเกษตรท่ีมีศักยภาพ มีความปลอดภัย ได้มาตรฐาน
ตามกระบวนการตรวจประเมนิ ของสนิ คา้ เกษตรแตล่ ะชนิด

ย่ำนท่องเท่ียวเพ่ือกำรเรียนรู้ หมายถึง การท่องเที่ยวที่มีจุดประสงค์สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาใน
ชุมชนให้เกิดความยั่งยืน มีการจัดกิจกรรมและท่องเท่ียวที่สอดคล้องและสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
ตลอดจนวิถีชีวิตในชมุ ชนในเชิงการเรียนรู้

สง่ิ แวดล้อมสมดลุ หมายถงึ ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ุดมสมบูรณ์ และคุณภาพสง่ิ แวดล้อมอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน
สังคมเป็นสุข หมายถึง คนในสังคมมีสุขภาพดี มีความรู้/โอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ครอบครัวอบอุ่น
มีอาชพี และรายไดม้ ัน่ คง ชมุ ชนเขม้ แข็ง มีความปลอดภัยในชวี ิต และทรัพย์สนิ
วตั ถุประสงค์ ำพรวม
เศรษฐกจิ ของจังหวัดขยายตัวเพ่ิมข้ึน
ทรพั ยากรธรรมชาติอุดมสมบรู ณ์ และคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน
ประชาชนมีความสุขเพม่ิ ขน้ึ
ตัวชวี้ ดั ควำมสำเร็จตำมเป้ำหมำยกำรพัฒนำจังหวดั
อัตราการขยายตัวของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด (GPP)
อตั ราการเปลย่ี นแปลงของพืน้ ทปี่ า่
ร้อยละทีล่ ดลงของปริมาณการเกดิ ขยะมลู ฝอยชุมชน
ร้อยละของขยะมูลฝอยชมุ ชนทถ่ี ูกจากัดอย่างถูกหลักวิชาการ
คะแนนเฉลย่ี ความสุขของประชาชน
ประเดน็ กำรพัฒนำของจงั หวดั
การพัฒนาการผลติ การแปรรูป การตลาดและระบบ Logistics สนิ คา้ เกษตรมาตรฐาน
การเพ่ิมศกั ยภาพดา้ นทอ่ งเทีย่ วเพื่อการเรยี นรูแ้ ละวถิ ชี วี ิตชมุ ชน
การบรหิ ารจัดการทรัพยากรป่าไม้ นา้ สัตวน์ า้ และส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ และยัง่ ยืน
การพัฒนาคณุ ภาพคน และเสรมิ สร้างความม่ันคงปลอดภัยทางสังคม

11

ตรำประจำจงั หวัดชยั นำท

ประกอบด้วย : รูปธรรมจกั รรองรบั ด้วยพญาครุฑเบื้องหลังเปน็ แมน่ า้ และภูเขา
รูปพระธรรมจกั ร : สญั ลกั ษณร์ ปู ธรรมจักรทฝี่ ่าพระหตั ถข์ ้างขวาของหลวงพ่อธรรมจกั ร

รูปพญำครุฑ (พระพุทธรปู ปางหา้ มญาติ) ที่ประดิษฐานอยู่ ณ บรเิ วณวัดธรรมามลู วรวิหาร
แม่น้ำและ เู ขำ (พระอารามหลวง) ต้ังอยบู่ นไหล่เขาธรรมมามลู ทชี่ าวชัยนาท
มคี วามศรทั ธาเคารพนับถือ เปน็ พระสาคัญประจาเมืองชัยนาท
: มคี วามหมายวา่ “แมน้ แต่พญาครุฑศักดานุภาพก็ยงั ซาบซ้งึ
ในพระธรรมจกั รอนั เปน็ สัญลกั ษณส์ ูงสดุ ของพระศาสนา”
: เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ สภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวดั ชยั นาท

ำพประกอบที่ 1 สัญลกั ษณป์ ระจำจงั หวัดชัยนำท

ธงประจำจังหวดั ชัยนำท ดอกไม้ประจำจงั หวดั ชอื่ ดอกไม้ ดอกชยั พฤกษ์

ตน้ ไม้ประจำจังหวดั ต้นมะตมู

12

ำพประกอบท่ี 2 แผนที่จงั หวดั ชยั นำท

อำเภอหนองมะโมง อำเภอวดั สิงห์ อำเภอเมอื ง อำเภอมโนรมย์

จำนวน 4 ตำบล จำนวน 6 ตำบล ชัยนำท จำนวน 7 ตำบล

1.ตำบลหนองมะโมง 1.ตำบลมะขำมเฒ่ำ จำนวน 8 ตำบล 1.ตำบลคุง้ สำเภำ

2.ตำบลวงั ตะเคียน 2.ตำบลหนองนอ้ ย 1.ตำบลบำ้ นกลว้ ย 2.ตำบลวดั โคก
3.ตำบลสะพำนหิน 3.ตำบลบ่อแร่ 3.ตำบลท่ำฉนวน
4.ตำบลกุดจอก 4.ตำบลวงั หมนั 2.ตำบลเขำท่ำพระ 4.ตำบลศิลำดำน
5.ตำบลหนองบวั 3.ตำบลธรรมำมลู 5.ตำบลไร่พฒั นำ
6.ตำบลหนองข่นุ 4.ตำบลเสือโฮก 6.ตำบลหำงน้ำสำคร
5.ตำบลทำ่ ชยั 7.ตำบลอู่ตะเภำ
6.ตำบลชยั นำท
7.ตำบลหำดท่ำเสำ
8.ตำบลนำงลือ

อำเภอสรรพยำ

จำนวน 7 ตำบล

1.ตำบลบำงหลวง

2.ตำบลสรรพยำ
3.ตำบลโพนำงดำตก
4.ตำบลเขำแกว้
5.ตำบลโพนำงดำออก
6.ตำบลหำดอำษำ
7.ตำบลตลุก

อำเภอเนนิ ขำม อำเภอหนั คำ อำเภอสรรคบุรี
ตำบล 3 ตำบล
จำนวน 8 ตำบล จำนวน 8 ตำบล
1.ตำบลเนินขำม
1.ตำบลหนั คำ 1.ตำบลแพรกศรีรำชำ
2.ตำบลกะบกเต้ีย
3.ตำบลสุขเดือนหำ้ 2.ตำบลหว้ ยงู 2.ตำบลเทียยงแท้
3.ตำบลบำ้ นเชยียน 3.ตำบลดงคอน
สรุป 8 อำเภอ 4.ตำบลหนองแซง 4.ตำบลหว้ ยกรด
1 อบจ. 5.ตำบลไพรนกยงู 5.ตำบลหว้ ยกรดพฒั นำ
38 เทศบำล 6.ตำบลสำมง่ำมท่ำ 6.ตำบลดอนกำ
21 อบต. โบสถ์ 7.ตำบลบำงขดุ
7.ตำบลวงั ไก่เถยือน 8.ตำบลโพงำม
8.ตำบลเด่นใหญ่

13

คำขวญั ประจำจังหวัดชยั นำท

“หลวงปู่ศุขลือชำ เข่ือนเจ้ำพระยำลอื ช่อื นำมระบือสวนนก ส้มโอดกขำวแตงกวำ”

หลวงปู่ศุข ลือชำ หมายถึง พระครูวิมลคุณากร (ศุข) พระเกจิอาจารย์ช่ือดัง เป็นท่ีเคารพสักการะ
ของชาวชัยนาทและชาวไทยท่ัวประเทศ ว่าทรงวิทยาคุณสูงส่งในทุกๆ ด้าน มีเมตตามหานิยมสูง อีกท้ังเป็น
พระอาจารย์ของสมเดจ็ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

เขื่อนเจ้ำพระยำ ลือช่ือ หมายถึง เขื่อนเจ้าพระยา เป็นเขื่อนแห่งแรกของประเทศไทยเป็นเข่ือนทดน้าที่ใหญ่
ที่สุดในประเทศไทย ให้ประโยชน์กว้างขวางในดา้ นเกษตรกรรม เศรษฐกิจ และการปอ้ งกนั อทุ กภัย

นำมระบือ สวนนก หมายถึง สวนนกจังหวัดชัยนาท มีกรงนกท่ีใหญ่ที่สุดในเอเชียมีนกนานาชนิด
มหี ุ่นฟางนกจัดแสดงให้ชมตลอดปี เปน็ สถานทจี่ ัดงานมหกรรมหุน่ ฟางนก

ส้มโอดก ขำวแตงกวำ หมายถึง ส้มโอพันธ์ุขาวแตงกวา ซ่ึงเป็นส้มโอท่ีมีรสชาติดีที่สุด มีต้นกาเนิดที่อาเภอ
มโนรมย์ จังหวดั ชัยนาท ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ ฯ ชาวบา้ นได้นาสม้ โอพันธุ์ขาวแตงกวาถวายพระองค์
ทา่ นเม่ือคราวท่ีพระองค์เสด็จประพาสเมืองชัยนาท เมือ่ ปี พ.ศ. 2449 ทรงตรัสชมว่า เป็นสม้ โอที่อรอ่ ยมาก จึงเป็นที่
เลื่องลือ และขยายพันธุ์ไปปลูกกันแพร่หลายท้ังจังหวัด แมจ้ ะได้นาไปปลูกที่จังหวัดอื่นจะไม่อร่อยเหมือนปลกู ท่จี ังหวัด
ชัยนาท ดว้ ยเหตุที่ลกั ษณะของดินแตกตา่ งกัน

ชัยนำท แปลตามศัพท์มีความหมายว่า ชัยชนะท่ีมีเสียงบันลือ เป็นเมืองโบราณเมืองหน่ึง ตัวเมืองเดิมอยู่
บริเวณฝ่ังขวาแม่น้าเจ้าพระยาท่ีปากคลองแพรกศรีราชาใต้ปากลาน้าเก่า ตั้งขึ้นหลังเมืองพันธุมวดี (สุพรรณบุรี)
เป็นเมืองหน้าด่านของกรุงสุโขทัย สร้างในสมัยพญาเลอไทแห่งกรุงสุโขทัย ระหว่าง พ.ศ. 1860 - 1879 เมืองๆ นี้
จึงได้ช่ือวา่ เมืองแพรก หรอื เมืองสรรค์ มีฐานะเป็นเมืองหนา้ ดา่ นทางใต้ เม่ือกรุงสุโขทัย เส่ือมอานาจลง เมืองแพรกได้
กลายเป็นเมืองหน้าด่านทางตอนเหนือของกรุงศรีอยุธยา ต่อมาได้ เกิดชุมชนใหม่ไม่ไกลจากเมืองสรรค์ มี
เจ้าสามพระยาเปน็ ผู้ครองเมือง

ซ่ึงต่อมาได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เมืองท่ีเกิดข้ึนใหม่น้ี
เปน็ เมืองใหญ่ มีช่อื วา่ ชัยนาท ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ได้ย้ายตัวเมืองจากบริเวณแหลมยาง
มาต้ังตรงฝ่ังซ้ายแม่น้าเจ้าพระยา ส่วนเมืองสรรค์น้ันเสื่อมลงเร่ือยๆ เพราะผู้คนอพยพมาอยู่ท่ีชัยนาท เป็นส่วนใหญ่
ในท่ีสุดก็กลายเป็นเพียงอาเภอหนึ่งของชัยนาทเท่าน้ัน ชัยนาทเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่สาคัญเคยใช้เป็นท่ีตั้งทัพรับศึก
พม่าหลายครั้ง และมีชัยทุกคร้ังไป จึงเป็นท่ีมาของชื่อ เมืองชัยนาทแห่งน้ี นอกจากชัยนาทจะเป็นเมืองที่มี
ประวตั ศิ าสตรม์ ายาวนาน แต่ปจั จุบนั ชัยนาทก็มีชื่อเสยี งและมีสนิ ค้าดา้ นหัตถกรรมการจักสาน การปน้ั การทอ การทา
เครื่องเบญจรงค์ ท่ีมีฝีมือประณีต รูปแบบทันสมัย ราคาย่อมเยา มีตลาดการจาหน่ายท้ังในประเทศและต่างประเทศ
โดยฝีมอื ของชาวบ้านกลุ่มต่างๆ อีกด้วย

14

1. ส ำพทั่วไปของจงั หวดั ชัยนำท

1. ควำมเป็นมำ
เมืองชัยนาทเป็นเมืองโบราณ ตัวเมืองเดิมต้ังอยู่ตรงทางแยกฝ่ังขวาของแม่น้าเจ้าพระยาท่ีปากน้า

เมอื งสรรค์ (ปากคลองแพรกศรีราชาใต้ปากลาน้าเก่า) เมืองน้ีตัง้ ขนึ้ ภายหลังเมืองพันธุมวดี (สุพรรณบุรี) เป็นเมอื งหน้า
ด่านของกรุงสุโขทัย จากศิลาจารึกสมัยพ่อขุนรามคาแหงมีแต่ช่ือเมืองแพรก ส่วนเมืองชัยนาท เพ่ิงมาปรากฏ
ในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 เม่ือ พ.ศ.1890 ซ่ึงเป็นปีท่ีพระเจ้าเลอไทสวรรคต กรุงสุโขทัยเกิดการแย่งชิง
ราชสมบัติสมเด็จ พระรามาธิบดีท่ี 1 ทรงเห็นเป็นโอกาสเหมาะ จงึ ยกกองทัพเข้ายึดเมืองชัยนาท หลังจากพระยาลิไท
ขึ้นครองราชย์ ทางกรุงศรีอยุธยาซึ่งสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ได้สถาปนาให้เป็นราชธานีมีกาลังเข้มแข็งมาก จึงได้
โปรดให้ขุนหลวงพะง่ัวซึ่งครองเมืองสุพรรณบุรียกทัพมาตีเมืองชัยนาท ซ่ึงเป็นเมืองหน้าด่านของกรุงสุโขทัย
เมืองชัยนาทจึงตกเปน็ เมอื งขึ้นของกรุงศรีอยุธยา โดยมีขุนหลวงพะงวั่ เปน็ ผ้รู กั ษาเมอื ง เมือ่ กรงุ สุโขทัยสงบแล้ว พระยา
ลิไทได้ส่งทูตมากรุงศรีอยุธยา เพื่อเจรจาขอเมืองชัยนาทคืนให้แก่กรุงสุโข ทัย โดยจะยอมให้เป็นอิสระและ
มีสัมพันธไมตรีต่อกัน กล่าวคือ ต่างฝ่ายต่างก็มีอิสระต่อกัน ในที่สุดกรุงศรีอยุธยาได้คืนเมืองชัยนาทให้แก่กรุงสุโขทัย
นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าการท่ีแคว้นกัมพุช (ลพบุรี) เข้าร่วมในการรบ ประกอบกับกรุงศรีอยุธยากาลังสถาปนา
ไดไ้ ม่นาน ถ้ามีศึกขนาบสองดา้ นจะสร้างปัญหาให้ไม่นอ้ ย ด้วยเหตุผลน้เี องท่ีทาให้กรุงศรีอยุธยาคนื เมอื งชัยนาทแก่กรุง
สุโขทัยโดยดี

สาหรับเมอื งชัยนาทนี้ จะไดน้ ามมาแต่เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานท่ีแน่นอน ถา้ จะแปลความหมายของ
“ชัยนาท” ก็น่าจะได้ความว่า เมืองท่ีมีช่ือเสียงในทางความมีชัย เป็นท่ีสันนิษฐานว่าชื่อเมืองชัยนาทนี้คงจะได้ต้ังข้ึน
ภายหลังจาก พ.ศ.1702 แต่คงไม่ถึง พ.ศ.1946 กล่าวคือ ขุนเสือ ขวัญฟ้า หรือเจ้าคาฟ้า กษัตริย์เมืองเมาเข้าทา
สงครามกับอาณาจักรโยนกเจ้าเมืองฟังคา ซึ่งเป็นเมืองหน่ึงในอาณาจักรโยนก หลังจากฟงั คาแตก เจ้าเมืองฟังคาจงึ อพยพ
ผ้คู นลงมาทีเ่ มืองแปบ (กาแพงเพชร) แลว้ สร้างเมืองตรยั ตรึงษ์ ทต่ี าบลแพรก (ต.แพรกศรรี าชาในปจั จบุ ัน) หลงั จากนั้น
คงจะได้สร้างเมืองชัยนาทขึ้น และเหตุที่ตั้งชื่อชัยนาทคงเนื่องจากการรบชนะเจ้าของท้องถ่ินเดิม ส่วนที่กล่าวว่านาม
ชัยนาทคงจะได้มาก่อน พ.ศ.1946 นั้น เนื่องจากสมเด็จพระนครินทราธิราชได้โปรดให้เจ้าสามพระยาไปครองเมือง
ชัยนาท ตามความในประวัตศิ าสตร์ พอจะเป็นส่ิงทส่ี ันนิษฐานกันได้ว่า คาว่าชัยนาท คงจะได้ช่ือมาก่อนปี พ.ศ.1946
อย่างไรก็ตาม คาว่า “ชัยนาท” ก็เป็นนามที่เป็นสิริมงคลมาแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบัน เพราะชัยนาทก็ยังบันลือไป
ด้วยชัยชนะต่อความอดอยากหิวโหย ยังความผาสุกให้แก่ชาวชัยนาทและจังหวัดใกล้เคียงตลอดลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
แมน่ ้าทา่ จนี และแมน่ ้านอ้ ย จนถึงปจั จุบนั

๑5
2. ลกั ษณะทำงกำย ำพ

(1) ท่ตี ง้ั และอำณำเขต
จังหวัดชัยนาท ต้ังอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 ประกอบด้วย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด
อ่างทอง สงิ ห์บุรี ลพบุรีและชัยนาท ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 195 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกบั จังหวัด
ต่าง ๆ ดงั นี้
ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั จงั หวัดนครสวรรค์ และจงั หวดั อุทยั ธานี
ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี และจงั หวัดสิงห์บุรี
ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกบั จงั หวดั นครสวรรค์ และจงั หวัดสงิ ห์บรุ ี
ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และจงั หวัดอทุ ัยธานี

(2) ขนำดและพื้นที่
พ้ืนท่ีจังหวัดท้ังหมด 2,469.746 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,543,591 ไร่ หรือ

เท่ากับรอ้ ยละ 15.5 ของพ้ืนที่ในภาคกลางตอนบน

(3) ส ำพ มู ิประเทศ

จังหวัดชัยนาทมีลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นพื้นท่ีราบลุ่ม มีพื้นท่ีประมาณ ร้อยละ
99.06 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด ได้แก่ พ้ืนที่ตอนกลาง ตอนใต้และตะวันออก ภูมิประเทศของจังหวัดมีลักษณะเป็นที่ราบ
จนถงึ พื้นท่ีลูกคล่ืนลอนลาด มแี มน่ ้าเจา้ พระยา แม่นา้ ท่าจีน แมน่ า้ น้อย ไหลผ่านพื้นทอ่ี าเภอ ต่างๆ เช่น

- แม่น้าเจ้าพ ระยา ไหลผ่านอาเภ อมโนรมย์ อาเภ อวัดสิงห์ อาเภ อเมืองชัยนาท และ
อาเภอสรรพยา ไปจังหวัดสงิ หบ์ รุ ี ระยะทางประมาณ 74 กิโลเมตร

- แม่น้าท่าจีนหรือแม่น้ามะขามเฒ่า ไหลผ่านอาเภอวัดสิงห์ อาเภอเมืองชัยนาทและอาเภอหันคา
ไปจงั หวดั สพุ รรณบุรี ระยะทางประมาณ 40 กโิ ลเมตร

๑6

- แม่น้าน้อย ไหลผ่านอาเภอเมืองชัยนาท และอาเภอสรรคบุรี ไปจังหวัดสิงห์บุรี ระยะทาง
ประมาณ 30 กโิ ลเมตร

- คลองชลประทาน ซ่ึงมีหลายสายไหลผ่านพ้ืนท่ีต่างๆ ประกอบด้วย คลองอนุศาสนนันท์ คลองมหาราช
คลองพลเทพ เปน็ ต้น

นอกจากลักษณะภูมิประเทศเป็นพ้ืนท่ีราบแล้ว ยังมีเนินเขาเล็กๆ ขนาดประมาณ 1 - 3 กิโลเมตร
กระจายอยู่ทั่วไป ท่ีสาคัญ ได้แก่ เขาธรรมามูล เขาพลอง เขาขยาย เขาท่าพระ เขากระดี่ เขาใหญ่ เขารัก เขาดิน
เขาหลกั เขาไก่ห้อย เขาสารพัดดี เขาราวเทียน เขาสรรพยาและเขาแก้ว เปน็ ตน้

(4) ส ำพ ูมอิ ำกำศ

จังหวดั ชัยนาทอยภู่ ายใต้อิทธพิ ลของลมมรสมุ ที่พดั ผา่ นประจาฤดู ทาให้สามารถแบง่ ฤดกู าลออกได้ 3ฤดู คือ
(1) ฤดูหนำว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนที่มีคุณสมบัติเย็นและแห้งจะ
แผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยในชว่ งน้ี แต่เน่ืองจากจังหวัดชัยนาทอยู่ในภาคกลาง อิทธิพลของบริเวณความกดอากาศ
สูงจากประเทศจีนที่แผล่ งมาปกคลุมในช่วงฤดูหนาวจะช้ากว่าภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้มีอากาศ
หนาวเย็นช้ากว่าสองภาคดังกล่าว โดยเริ่มมีอากาศหนาวเย็นประมาณกลางเดือนพฤศจิกายน เป็นต้นไป
ซึ่งอากาศหนาวท่ีสุด จะอย่รู ะหวา่ งเดอื นธนั วาคม และมกราคม
(2) ฤดูร้อน เร่ิมเม่ือมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลง คือประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์
ถงึ กลางเดือนพฤษภาคม ซ่ึงเป็นช่วงว่างจากลมมรสุม ลมท่ีพัดปกคลุมจะเปล่ียนเป็นลมใต้หรือลมตะวันออกเฉียงใต้
และจะมีหย่อมความกดอากาศต่าเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทาให้มีอากาศร้อนอบอ้าวทั่วไป
และมีฝนตกฟ้าคะนองได้เปน็ บางแห่ง โดยจะมีอากาศรอ้ นจดั ในเดือนเมษายน
(3) ฤดูฝน เร่ิมต้ังแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นช่วงท่ีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
พัดปกคลุมประเทศไทย ร่องความกดอากาศต่าหรือร่องฝนท่ีพาดผ่านบริเวณภาคใต้ของประเทศไทยจะเล่ือนข้ึนมา
พาดผ่านบริเวณภาคกลางและภาคเหนือเป็นลาดับ ในระยะน้ีทาให้มีฝนตกชุกข้ึนตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป
เดือนกนั ยายน เป็นเดือนทีม่ ฝี นตกชุกมากท่ีสดุ ในรอบปีและเปน็ ช่วงที่มีความชืน้ สงู
ตำรำง : แสดงข้อมลู ปริมำณน้ำฝนและจำนวนวันท่ีมีฝนตก

ปี พ.ศ. รำยกำรขอ้ มูล สดั สว่ นปริมำณ
ปริมำณทฝี่ นตก (มม.) จำนวนวันฝนตกในรอบ(วัน) นำ้ ฝนทีต่ กในรอบปี

2552 1,087.8 106 10.26
2553 1,417.2 106 13.37

2554 1,206.2 113 10.67
2555 1,077.8 95 11.35
2556 1,285.3 96 13.39

2557 1,024.8 90 11.39
2558 985.8 97 10.16

2559 1,246.3 102 12.21

2560 618.90 65 9.52

ท่มี ำ : สถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยาชยั นาท (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 เดือน สิงหาคม 2560)

๑7

(5) กำรใชท้ ีด่ นิ

จังหวัดชัยนาทมีพื้นที่ 2,469.746 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,543,591 ไร่ จาแนกการใช้

ประโยชน์ ดังน้ี

ตำรำง : กำรจำแนกกำรใช้ประโยชนพ์ ้ืนที่

อำเ อ พ้ืนทท่ี งั้ หมด พื้นทก่ี ำรเกษตร พ้ืนท่ีอยอู่ ำศยั ท่ีสำธำรณะ พน้ื ทอี่ น่ื

เมอื งชยั นาท 159,610 137,716 12,412 8,237 1,245
มโนรมย์ 141,027 97,513 5,087 1,387 37,040

วดั สิงห์ 197,074 165,118 8,504 8,797 14,765

สรรพยา 142,673 121,196 10,118 6,130 5,229

สรรคบรุ ี 221,748 187,800 15,477 3,830 14,641

หันคา 330,834 239,135 21,021 4,552 66,126
หนองมะโมง 181,875 158,032 3,333 1,378 19,032
เนินขาม
168,750 132,228 7,460 1,302 27,864
รวม 1,543,591 1,238,638 83,412 35,613 185,942

ทม่ี า : สานกั งานเกษตรจงั หวดั ชัยนาท, 2560 (ข้อมลู ณ พฤษภาคม 2560)

5.1 พืน้ ที่เกษตรกรรม

ในส่วนของพ้ืนท่ีเกษตรกรรม 1,238,638 ไร่ ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 80.24 ของพื้นท่ีจังหวัด

พน้ื ทส่ี ่วนใหญอ่ ยู่ในเขตชลประทาน 776,207 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 62.66 ของพ้ืนที่การเกษตร การใช้ประโยชน์

พ้ืนทีก่ ารเกษตรสามารถจาแนกได้ ดงั น้ี

ตำรำง : กำรจำแนกตำมกำรใช้พน้ื ที่เพ่ือกำรเกษตรของจังหวดั ปี 2559/2560

อำเ อ พ้ืนท่ี ข้ำว พชื ไร่ ไม้ผล ไม้ดอก พชื ผกั ทงุ่ หญำ้ ไมโ้ ตเรว็ เกษตร
กำรเกษตร ไม้ อำหำร อ่นื ๆ

ประดบั สตั ว์

เมืองชยั นำท 137,716 116,778 3,348 8,780 126 669 822 2,356 4,837

มโนรมย์ 97,513 73,802 9,268 4,803 255 970 260 755 7,316

วดั สงิ ห์ 165,018 120,954 29,580 1,350 10 182 - 3,993 8,992
- 397 1,593
สรรพยำ 121,196 109,193 - 6,129 1,022 2,862

สรรคบรุ ี 187,800 172,213 3,708 7,633 260 562 182 - 3,242

หนั คำ 239,135 160,055 65,847 6,922 25 104 450 4,607 1,125
หนองมะโมง 158,032 68,622 72,518 462 22 221 14,575 843 769

เนนิ ขำม 132,228 15,986 111,766 310 5 12 - 2,654 1,494

รวม 1,238,638 837,603 296,033 36,389 1,725 5,582 16,289 15,605 29,368

ที่มา : สานกั งานเกษตรจังหวดั ชัยนาท, 2560 (ข้อมูล ณ พฤษภาคม 2560)

๑8

5.2 พ้นื ทปี่ ำ่ ไม้
จังหวัดชัยนาทมีพ้ืนที่ป่าไม้ในช่วงปี 2551 -2558 ลดลงจาก 47,887.50 ไร่

เหลือ 38,906.54 ไร่ โดยมปี า่ สงวนแหง่ ชาติ มี 2 ป่า คอื
(1) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาช่องลม และป่าเขาหลัก ประกาศตามกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 188

(พ.ศ.2506) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า พ.ศ. 2481 เน้ือท่ีประมาณ 54.99 ตาราง
กโิ ลเมตร หรือ 34,368.75 ไร่ อยู่ในท้องท่ีตาบลหนองมะโมง ตาบลวังตะเคียน และตาบลสะพานหิน อาเภอหนองมะโมง
จังหวัดชัยนาท มีลักษณะเป็นภูเขาหินปูนลูกใหญ่ น้อย สภาพป่าเป็นป่าเบญจพรรณผสมป่าเต็งรัง มีไม้ขนาดเล็กถึง
ขนาดกลาง การปกคลุมเรือนยอดไม่หนาแน่น เนื่องจากเป็น หน้าผาหินสูงชัน และมีหน้าดินตื้น พรรณไม้เด่นท่ีพบ
ได้แก่ มะค่าโมง ตะเคียน ประดู่ แดง เขว้า สวอง เสลา เต็ง รัง รกฟ้า สะเดา พฤกษ์ มะค่าแต้ มะกอกป่า โมกมัน
เพกา เสี้ยว และกระถนิ ยกั ษ์ โดยมจี ันทน์ผา ข้นึ อยู่ทัว่ ไปบรเิ วณหนา้ ผา

(2) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาราวเทียน ประกาศตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 406
(พ.ศ.2512) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 เน้อื ที่ประมาณ 70.34 ตาราง-กิโลเมตร
หรือ 43,962 ไร่ อยูใ่ นทอ้ งที่ตาบลไพรนกยงู และตาบลเด่นใหญ่ อาเภอหันคา ตาบลเนินขาม ตาบลสุขเดอื นห้า และ
ตาบลกะบกเต้ีย อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท มีลักษณะเป็นเทือกเขาลูกยาวต่อเน่ืองกัน สภาพป่าส่วนใหญ่เป็น
ป่าเบญจพรรณ และบางส่วนเป็นป่าเต็งรัง พรรณไม้เด่นที่พบ ได้แก่ ประดู่ ชิงชัน มะค่าแต้ เต็ง รัง ตะแบก แดง
สวอง มะกา มะม่วงหัวแมงวัน กระพ้ีจั่น กระโดน มะขามป้อม เปล้า โมกมัน และชงโค โดยมีไม้ไผ่รวกข้ึนกระจาย
อยูท่ ว่ั ไป

ขอ้ มูลกำรปกครอง

(1) เขตกำรปกครอง

แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 อาเภอ 51 ตาบล 505 หมู่บ้าน 39 เทศบาล

1 เทศบาลเมือง 38 เทศบาลตาบล และ 20 องค์การบริหารส่วนตาบล

ตำรำง : จำนวนอำเ อ ตำบล หมู่บ้ำน เทศบำล อบต. ของจงั หวัดชัยนำท

อำเ อ เขตกำรปกครอง อบต. พนื้ ที่
ตำบล หมู่บ้ำน เทศบำล (ตร.กม.)

อาเภอเมืองชัยนาท 8 82 7 2 255.377

อาเภอมโนรมย์ 7 40 4 4 255.644

อาเภอวัดสงิ ห์ 6 47 3 4 315.318

อาเภอสรรพยา 7 55 8 1 228.277

อาเภอสรรคบรุ ี 8 92 8 1 354.796

อาเภอหันคา 8 100 6 4 529.334

อาเภอหนองมะโมง 4 41 2 2 291.000

อาเภอเนินขาม 3 48 1 2 270.000

รวม 51 505 39 20 2,469.746

ท่มี ำ : ท่ีทาการปกครองชยั นาท (ขอ้ มลู ณ 31 สงิ หาคม 2560)

๑9

2.2 ขอ้ มูลด้ำนประชำกร กลมุ่ ประชำกรเฉพำะ

ในปี 2560 จังหวัดชัยนาท มีประชากร 330,010 คน แยกเป็นชาย 158,900 คน
เป็นหญิง ๑๗1,110 คน พื้นที่ 2,469.75 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร
134 คน

ตำรำง : แสดงจำนวนประชำกรแยกรำยเทศบำล / อำเ อ

จำนวนประชำกร อตั รำสว่ น
รำยชอื่ พนื้ ท่ี ชำย หญิง รวม ประชำกร
ต่อพน้ื ที่
อาเภอเมืองชัยนาท 255.38 11,196 12,038 23,234
อาเภอมโนรมย์ 225.64 11,715 12,681 24,396 91
อาเภอวัดสิงห์ 315.32 10,819 11,543 22,362 108
อาเภอสรรพยา 228.28 15,488 16,545 32,033 71
อาเภอสรรคบุรี 354.80 30,205 32,800 63,005 140
อาเภอหันคา 529.33 20,366 21,660 42,026 178
อาเภอหนองมะโมง 6,496 6,542 13,038 79
อาเภอเนินขาม 291 5,401 5,640 11,041 45
เทศบาลเมืองชยั นาท 270 5,692 6,557 12,249 41
เทศบาลตาบลนางลือ 6.06 3,691 4,036 7,727 2,021
เทศบาลตาบลเสือโฮก 51.11 3,699 3,949 7,648 151
เทศบาลตาบลหาดทา่ เสา 43.19 2,521 2,631 5,152 177
เทศบาลตาบลชยั นาท 24.76 3,691 4,332 8,023 208
เทศบาลตาบลบา้ นกล้วย 30.20 3,254 3,577 6,831 266
เทศบาลตาบลหางน้าสาคร 20.72 3,068 3,259 6,327 330
เทศบาลตาบลคุ้งสาเภา 11.92 1,013 1,078 2,091 531
เทศบาลตาบลวดั สิงห์ 2.00 1,605 1,837 3,442 1,046
เทศบาลตาบลสรรพยา 2.00 1,529 1,668 3,197 1,721
เทศบาลตาบลโพธิพ์ ิทักษ์ 2.52 1,699 1,269
เทศบาลตาบลบางหลวง 0.77 794 899 5,621 2,199
เทศบาลตาบลแพรกศรีราชา 24.97 2,658 2,963 2,668 225
เทศบาลตาบลหนั คา 1.80 1,238 1,430 4,262 1,482
เทศบาลตาบลสามง่ามท่าโบสถ์ 1.88 2,006 2,256 1,439 2,267
เทศบาลตาบลหนองแซง 4.75 708 731 7,759 303
เทศบาลตาบลวังตะเคยี น 112 3,824 3,935 6,642 69
เทศบาลตาบลเนินขาม 96.88 3,277 3,365 6,104 69
127.93 2,946 3,158 48
330,010
รวม 2,469.75 158,900 171,110 134
ท่ีมำ : ทีท่ าการปกครองจงั หวดั ชยั นาท (ข้อมลู ณ 31 มถิ ุนายน 2560)

20

ขนาดของประชากรต่อพืน้ ท่ี พบว่า อาเภอสรรคบรุ ี มปี ระชากรหนาแนน่ มากท่สี ุด คิดเป็นอัตราส่วน 1

ตารางกิโลเมตรตอ่ ประชากร 178 คน อาเภอท่ีมีประชากรหนาแน่นน้อยท่ีสุดคืออาเภอเนินขาม คิดเป็นอัตราส่วน 1

ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 41 คน เทศบาลท่ีมีประชากรต่อพื้นที่หนาแน่นมากที่สุดคือเทศบาลตาบลหันคา

คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 2,267 คน เทศบาลท่ีมีประชากรหนาแน่นน้อยท่ีสุดคือเทศบาล

ตาบลเนินขาม คิดเป็นอตั ราสว่ น 1 ตารางกิโลเมตรตอ่ ประชากร 48 คน

2.3 ข้อมลู ด้ำนเศรษฐกิจของจังหวดั และประชำชน
(1) โครงสรำ้ งเศรษฐกิจ
เนื่องจากพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ของจังหวัดชัยนาทเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้า มีแม่น้าสาคัญไหลผ่าน 3 สาย คือ แม่น้า

เจ้าพระยา แม่น้าทา่ จีน และแม่น้าน้อย จึงเหมาะสมสาหรบั การประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร ดังนน้ั ประชากรส่วนใหญ่
ประมาณร้อยละ 80 จึงประกอบอาชพี ทางดา้ นการเกษตรกรรม รองลงมา ได้แก่ ด้านการพาณิชย์ ประมาณรอ้ ยละ 6 ด้าน
การอุตสาหกรรมและการหัตถกรรมประมาณร้อยละ 3 ในส่วนของการผลิตด้านการเกษตรนับว่ามีบทบาทสาคัญอย่างย่ิง
ต่อเศรษฐกิจของจังหวัดและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ของจังหวัดชัยนาท ประกอบ
อาชีพด้านการเกษตรและยังทารายได้เป็นอันดับหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสาขาการผลิตอ่ืน ๆ พืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญ
ได้แก่ เมล็ดพันธ์ุข้าว ข้าว อ้อย มันสาปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ ซึ่งจะพบว่าถ้าปีใดที่ผลผลิตทางการเกษตรดี
เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดก็จะดีข้ึนด้วย ในทางกลับกันหากปีใดผลผลิตทางการเกษตรได้รับความเสียหาย ราคา
ผลผลิตตกต่า ก็จะส่งผลให้สภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดชัยนาทซบเซาตามไปด้วย ทั้งนี้ จังหวัดชัยนาท มีผลิตภัณฑ์
มวลรวม (GPP) และรายได้เฉล่ียต่อคน ดังนี้

ตำรำง : ผลิต ณั ฑ์มวลรวม (GPP) และรำยได้เฉลยี่ ต่อคน

ปี ผลติ ณั ฑ์มวลรวม (GPP) รำยได้เฉลี่ย / คน / ปี

2553 25,545 ลา้ นบาท 83,654 บาท/คน/ปี

2554 27,471 ลา้ นบาท 89,432 บาท/คน/ปี

2555 35,367 ลา้ นบาท 114,542 บาท/คน/ปี

2556 35,033 ลา้ นบาท 112,949 บาท/คน/ปี

2557 28,835 ล้านบาท 92,607 บาท/คน/ปี

2558 25,341 ลา้ นบาท 81,072 บาท/คน/ปี

ท่ีมำ : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

(2) มลู ค่ำผลิต ัณฑห์ ลักของจังหวัดชัยนำท
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดชัยนาท ภาคการเกษตร โดยในปี 2558 ณ ราคาประจาปี มีมูลค่าเทา่ กับ

6,004 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.82 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด โดยมีมูลค่าลดลงจากปี 2557 ร้อยละ -
38.98 โดยในปี 2557 มีมูลค่า 9,839 ล้านบาท เนื่องจากภาคเกษตรประสบปัญหาภัยแล้ง ปริมาณน้า ไม่
เพียงพอต่อการเกษตร ประกอบกับรัฐบาลรณรงค์ ให้งดทานาปรังส่งผลให้ปริมาณผลผลิตข้าวลดลง ในส่วนของ
นอกภาคการเกษตร ในปี 2558 ผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาประจาปี มีมูลค่าเท่ากับ 19,337 ล้านบาท คิดเป็น
ร้อยละ 67.06 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด โดยมีมูลค่าเพ่ิมขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 1.79 เน่ืองจากผลิตภัณฑ์
มวลรวมสาขาอุตสาหกรรมซ่ึงมีสัดส่วนสูงสุดเพ่ิมข้ึน โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาอุตสาหกรรม ณ ราคาประจาปี
พ.ศ. 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 4,248 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 14.73 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด เพ่ิมข้ึน
จากปี 2557 ซง่ึ มมี ูลคา่ เทา่ กบั 4,123 ล้านบาท ร้อยละ 3.02 รองลงมาคอื ผลติ ภัณฑ์มวลรวมสาขาการขายสง่

21

การขายปลีกฯ ซึ่ง ณ ราคาประจาปี พ.ศ. 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 3,260 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.31
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด เพ่ิมขึ้นจากปี 2557 ซ่ึงมีมูลค่าเท่ากับ 3,029 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.63
เป็นผลจากสภาพเศรษฐกิจท่ีมีแนวโน้มดขี ้นึ สง่ ผลให้การใช้จ่ายภายในจงั หวดั เพิ่มขึ้นตามไปดว้ ย

(3) ำวะเศรษฐกจิ จงั หวัดชยั นำท ปี 2560
เศรษฐกิจจังหวัดชัยนำทในปี 2560 คาดการณ์ว่าขยายตัว โดยปัจจัยที่มีผลทาให้เศรษฐกิจ

จังหวัดชัยนาทในปีนี้ขยายตัวมีผลมาจาก ด้ำนอุปทำน ได้แก่ การผลิตภาคเกษตรกรรม การผลิตภาคอุตสาหกรรม
และภาคบริการและการท่องเท่ียวขยายตัวเพ่ิมข้ึน ด้ำนอุปสงค์ ได้แก่ ด้านการใช้จ่ายภาครัฐ และด้านการลงทุน
ภาคเอกชนขยายตวั เพมิ่ ขึ้น

- ด้ำนอุปทำน (Supply) คาดว่าขยายตัว เม่ือเทียบกับปี 2559 พิจารณาจากกำรผลิต ำค
เกษตรกรรม คาดวา่ ขยายตวั ดขี ึ้นท้ังพชื และปศุสัตว์ ดา้ นพืชจากคาดวา่ ปริมาณนา้ ในเขื่อนมเี พียงพอสามารถหล่อเลยี้ ง
ให้เกษตรกรท้าการเพาะปลูกได้ตามฤดูกาล ด้านปศุสัตว์ผู้ประกอบการมีการพัฒนาระบบการเล้ียงและการบริหาร
จัดการฟาร์มท่ีได้มาตรฐาน กำรผลิต ำคอุตสำหกรรม คาดว่าขยายตัวจากความเช่ือมั่นของนักลงทุนท่ีคาดว่า
เศรษฐกิจปีนี้ขยายตัวทาให้คาส่ังซื้อสินค้าอุตสาหกรรมของจังหวัดมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน ำคบริกำรและกำรท่องเท่ียว
คาดวา่ ขยายตัว เนื่องจากแหล่งทอ่ งเท่ียวท่ีสาคัญอยา่ งสวนนกชัยนาท มีการปรบั ปรงุ แหล่งท่องเที่ยวให้มีความหลากหลาย
เพ่อื สามารถดึงดูดนกั ทอ่ งเที่ยวมากข้นึ

- ด้ำนอุปสงค์ (Demand) คาดว่าขยายตัว เม่ือเทียบกับปี 2559 พิจารณาจาก ด้ำนกำรลงทุน
ำคเอกชน คาดวา่ ขยายตัวพิจารณาจากนกั ลงทุนในจงั หวัดขอสินเช่อื เพื่อขยายและปรับปรงุ ธุรกจิ ให้ดีขน้ึ ด้ำนกำรใช้
จ่ำย ำครัฐ คาดว่าขยายตัวเน่ืองจากจากการใช้จ่ายภาครัฐทั้งรายจ่ายประจ้าและรายจ่ายลงทุนท่ีมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น
ตอ่ เนื่องตามมาตรการเร่งรดั การเบิกจา่ ยของรัฐบาล ทีม่ ีเม็ดเงนิ เขา้ สู่ระบบเศรษฐกจิ ของจังหวดั เพิม่ ข้ึน

- เสถียร ำพเศรษฐกิจ (Stability) ภายในจังหวัด อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2560 คาดว่าหดตัว
ดำ้ นกำรจำ้ งงำน คาดว่าขยายตัวเพ่ิมขน้ึ สอดคล้องกับการขยายตวั ของเศรษฐกจิ จังหวัด

22

2.4 ข้อมูลดำ้ นแรงงำน กำรศึกษำ สำธำรณสุข

(1) ประชำกรและกำลังแรงงำน จังหวัดชัยนาทมีประชากรทั้งส้ิน 328,573 คน จากสถิติ
ประชากรจังหวัดชัยนาทข้อมูล ณ มิ.ย.2560 จากการสารวจภาวะการทางานของประชาชน พบว่า เป็นผู้มีอายุ
ตา่ กวา่ 15 ปี จานวน 66,188 คน (ร้อยละ 20.14) และเป็นผู้มีอายุ 15 ปขี ้ึนไป จานวน 262,385 คน (ร้อยละ
79.86) ของประชากรท้ังหมด โดยเป็นผู้ไม่อยู่ในกาลังแรงงาน มีจานวน 85,844 คน (ร้อยละ 32.72) และอยู่ใน
กาลังแรงงาน จานวน 176,541 คน (ร้อยละ 67.28) โดยแยกเป็นผู้มีงานทา 172,941 คน (ร้อยละ 97.97 )
ผวู้ ่างงาน 2,972 คน (ร้อยละ 1.69) และผู้รอฤดกู าล 628 คน (รอ้ ยละ 0.36)

(2) กำรมีงำนทำ กลุ่มผู้มีงานทาท้ังหมด 172,941 คน เป็นผู้ทางานในภาคเกษตร จานวน
79,123 คน (ร้อยละ 46.33) ในขณะท่ีนอกภาคเกษตรมีจานวน 93,818 คน (ร้อยละ 54.25) โดยสาขานอก
ภาคเกษตรที่มีผู้ทางานมากที่สุด ได้แก่ สาขาการขายส่ง การขายปลีก จานวน 23,003 คน (ร้อยละ 24.52)
รองลงมา คือ สาขาการผลิต จานวน 19,672 คน (ร้อยละ 20.97) สาขาการก่อสร้าง จานวน 10,356 คน
(ร้อยละ 11.04) สาขาการบริหารราชการและป้องกันประเทศ จานวน 10,334 คน (ร้อยละ 11.0 1) และที่พัก
และบริการด้านอาหาร จานวน 9,615 คน (ร้อยละ 10.25) ของผู้ทางานนอกภาคเกษตรสว่ นท่ีเหลือกระจายอยู่ใน
อตุ สาหกรรมประเภทอ่ืน ๆ

(3) กำรว่ำงงำน ไตรมาสนี้ พบว่า จังหวัดชัยนาทมีผู้ว่างงาน จานวน 2,972 คน คิดเป็นอัตราการ
ว่างงาน ร้อยละ 1.69 (ชาย 1,338 คน และหญิง 1,634 คน) ลดลงจากไตรมาสท่ีแล้วที่มีอัตราร้อยละ 2.01
(จานวน 3,627 คน) และมอี ตั ราลดลงเม่ือเทยี บกบั ไตรมาสเดยี วกันของปีก่อนท่ีมีอตั ราร้อยละ 2.84

(4) แรงงำนนอกระบบ จังหวัดชัยนาทมีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2559 จานวน
122,135 คน โดยแยกเป็นเพศชาย จานวน 65,408 คน (ร้อยละ 53.55) และเพศหญิง จานวน 56,727 คน
(ร้อยละ 46.45) เป็นผู้มีช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไปมากที่สุดคือ จานวน 27,166 (ร้อยละ 22.24) รองลงมาคือช่วงอายุ
45-49 ปี จานวน 17,835 คน (ร้อยละ 14.60) ช่วงอายุ 55-59 ปี จานวน 17,313 คน (ร้อยละ 14.18)
ช่วงอายุ 50-54 ปี จานวน 14,789 คน (ร้อยละ 12.11) และช่วงอายุ 40-44 ปี จานวน 12,023 คน (ร้อยละ
9.84) แรงงานนอกระบบทาอาชีพด้านเกษตรและประมงมากที่สุด จานวน 70,681 คน (ร้อยละ 57.87)
รองลงมา คืออาชีพข้ึนพ้ืนฐานต่างๆ จานวน 18,010 คน (ร้อยละ 14.75) และอาชีพพนักงานบริการ จานวน
15,776 คน (ร้อยละ 12.92) ส่วนอุตสาหกรรมที่แรงงานนอกระบบทางานมากท่ีสุด คือ อุตสาหกรรมภาค
เกษตรกรรม จานวน 77,449 คน (ร้อยละ 63.41) ภาคบริการและภาคการค้า จานวน 36,907 คน (ร้อยละ
29.03) และภาคการผลติ จานวน 12,765 คน (รอ้ ยละ 10.04) ทั้งน้แี รงงานนอกระบบเปน็ ผู้ท่ไี ม่มกี ารศึกษาและ
ต่ากว่าประถมศึกษามากที่สุดคือ มีจานวน 49,991 คน (ร้อยละ 40.93) รองลงมา สาเร็จการศึกษาระดับ
ประถมศึกษา จานวน 29,531 คน (ร้อยละ 24.18) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 18,221 คน (ร้อยละ
14.92) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (สามัญ) จานวน 9,925 คน (ร้อยละ 8.13) และอุดมศึกษา (สายวิชาการ)
จานวน 4,447 คน (รอ้ ยละ 3.64) ตามลาดับ

(5) กำรบรหิ ำรจัดหำงำนในประเทศ ไตรมาสน้ี พบว่า นายจา้ ง/สถานประกอบการไดแ้ จ้งตาแหน่ง
งานว่าง จานวน 244 อัตรา โดยมีผู้สมัครงาน 292 คน และการบรรจุงาน จะมีอัตราการบรรจุงานต่อตาแหน่งงาน
วา่ งร้อยละ 81.15 และอตั ราการบรรจุงานต่อผสู้ มัครงานรอ้ ยละ 67.81 สว่ นตาแหน่งงานวา่ งตามระดับการศึกษาที่
ต้องการมากท่ีสุด คือ มธั ยมศึกษา จานวน 88 อัตรา (ร้อยละ 36.07) รองลงมาเป็น ระดับประถมศึกษาและต่ากว่า
จานวน 40 อัตรา (ร้อยละ 16.39) และระดับ ปวช. จานวน 39 อัตรา (รอ้ ยละ 15.98) สาหรับอาชีพท่ีมีตาแหน่ง
งานว่างมากท่สี ดุ คอื อาชีพขนั้ พื้นฐานตา่ งๆ ในด้านการขายและ การใหบ้ ริการ จานวน 109 อัตรา (ร้อยละ44.67)

23

รองลงมา คือ อาชีพผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าท่ีเก่ียวข้อง จานวน 61 อัตร า (ร้อยละ
25.00) และอุตสาหกรรมทม่ี ีตาแหน่งงานว่าง มากที่สดุ คือ อุตสาหกรรมการผลิต โดยมีจานวน 172 อตั รา (ร้อยละ
74.78) รองลงมาคือ การขายส่งและการขายปลีกการซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ จานวน 31 อัตรา (ร้อยละ
13.48)

(6) แรงงำนต่ำงด้ำว ท่ีถูกกฎหมายและได้รับอนุญาตให้ทางานในจังหวัดชัยนาท ข้อมูล เดือน
มิถุนายน 2560 มีจานวน 1,459 คน แยกเป็นประเภทชั่วคราว จานวน 680 คน (มาตรา 9 จานวน 52 คน
นาเข้าตาม MOU จานวน 141 คน และพิสูจน์สัญชาติ จานวน 487 คน) ประเภทท่ีอยู่ในความดูแลของ
กระทรวงมหาดไทย จานวน 31 คน และตามประกาศ คสช. จานวน 748 คน ส่วนจานวนแรงงานต่างด้าว 3
สญั ชาติ (เมยี นมา ลาว กัมพูชา) ในจงั หวัดมจี านวน 1,376 คน (สญั ชาตเิ มียนมา จานวน 985 คน ลาว จานวน 76
คน และกัมพูชา จานวน 315 คน) ลดลงจากไตรมาสท่ีแล้วเทียบกับเดือนมีนาคม 2559 มีแรงงานต่างด้าว จานวน
1,501 คน

(7) แรงงำนไทยในต่ำงประเทศ ไตรมาสน้ี พบว่า จังหวัดชัยนาท มีผู้แจ้งความประสงค์ไปทางาน
ต่างประเทศ จานวน 34 คน แยกเป็นชาย 17 คน และหญิง 17 คน ลดลงจากไตรมาสท่ีแล้วที่มีจานวน 42 คนส่วน
ใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาและต่ากว่า สาหรับการเดินทางไปทางานเป็นการไปทางานโดยวิธี Re-Entry
VISA จานวน 32 คน เพิ่มข้ึนเม่ือเทียบกับไตรมาสที่แล้ว มีจานวน 20 คน ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา
และระดบั ปวช./ปวส.

(8) กำรพัฒนำศักย ำพแรงงำน ไตรมาสน้ี พบว่า มีผู้เข้าร่วมการกิจกรรมท้ังส้ิน 373 คน แยก
เป็นการฝึกเตรียมเข้าทางาน จานวน 4 คน (ร้อยละ 1.07) การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน จานวน 178 คน (ร้อยละ
47.72) การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน จานวน 20 คน (ร้อยละ 5.36) และการฝึกอาชีพเสริม จานวน 171 คน (ร้อย
ละ 45.84) โดยมีผู้ผา่ นฝกึ ทงั้ สิ้น 361 คน (ร้อยละ 96.78) ไม่ผ่านการฝกึ จานวน 12 คน (ร้อยละ 3.22)

(9) กำรคุ้มครองแรงงำน ไตรมาสนี้ พบว่า จากการ ตรวจสถานประกอบการท้ังสิ้น 32 แห่ง ลูกจ้าง
จานวน 828 คน มสี ถานประกอบการทีป่ ฏบิ ัตไิ มถ่ ูกต้องตามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน จานวน 10 แหง่ (ร้อยละ 31.25)

(10) กำรตรวจควำมปลอด ัยในกำรทำงำน ไตรมาสน้ี พบว่า มีการตรวจความปลอดภัยในสถาน
ประกอบการท้ังส้ิน 9 แห่ง ลูกจ้างจานวน 155 คน ผลการตรวจพบว่า มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตาม
กฎหมายความปลอดภยั ในการ จานวน 5 แหง่ (รอ้ ยละ 55.56)

(11) กำรประสบอันตรำย/เจ็บปว่ ยจำกกำรทำงำน ไตรมาสน้ี พบว่า จังหวดั ชัยนาท มกี ารประสบอนั ตราย
หรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทางาน จานวน 19 ราย โดยประเภทของความร้ายแรง พบว่าส่วนใหญ่ จะหยุดงานไม่เกิน 3 วัน
จานวน 13 ราย (รอ้ ยละ 68.42) รองลงมาคือหยดุ งานเกนิ 3 วัน จานวน 6 ราย (ร้อยละ 31.58)

(12) กำรเกิดข้อเรียกร้อง/ข้อพิพำทแรงงำนและข้อขัดแย้ง ำยในจังหวัดชัยนำท ในช่วงไตรมาส
2 ปี 2560 ไมม่ กี ารเกิดขอ้ เรียกรอ้ ง/ขอ้ พิพาทแรงงานและข้อขดั แยง้ ภายในจังหวัด

(13) กำรเลิกจ้ำงแรงงำน สถานประกอบการในจังหวัดชัยนาท ไตรมาสนี้ พบว่า มีกิจการที่เลิก
จ้าง/เลกิ กิจการ จานวน 2 แหง่ แต่ไมม่ ีลกู จา้ งทีถ่ กู เลกิ จ้าง

(14) กำรประกันสังคม ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2560 พบว่า จังหวัดชัยนาท มีสถานประกอบการที่
ข้ึนทะเบียนประกันสังคม จานวน 967 แห่ง มีผู้ประกันตนทั้งสิ้น 35,228 คน แยกเป็น ผู้ประกันตนมาตรา 33 จานวน
17,256 คน (ร้อยละ 48.08) มาตรา 39 จานวน 3,921 คน (ร้อยละ 11.13) และมาตรา 40 จานวน 14,051 คน (รอ้ ย
ละ 39.89) และมีสถานพยาบาลในสงั กดั ประกันสงั คมท่ีเปน็ สถานพยาบาลของรฐั บาล จานวน 1 แหง่

กองทุนประกนั สังคม มีเงินกองทนุ จานวน 45.254 ลา้ นบาท
กองทนุ เงนิ ทดแทน มีเงินกองทุน จานวน 111,905.04 บาท

24

สว่ นการใชบ้ ริการของกองทุนประกันสังคม ไตรมาสน้ี พบว่า มีผู้ประกันตนใชบ้ ริการทง้ั สิ้น 15,825
ราย โดยเป็นกรณีสงเคราะห์บุตรมากท่ีสุด จานวน 10,746 ราย หรือร้อยละ 67.91 ของผู้ใช้บริการท้ังหมด และ
กรณีชราภาพมีการจ่ายเงินประโยชน์ทดแทนมากท่ีสุด มีการจ่ายเงินสูงสุดถึง 8.68 ล้านบาท หรือร้อยละ 30.18 ของ
เงินประโยชนท์ ดแทนท่จี ่าย

สถำนกำรณด์ ำ้ นกำรศึกษำ

จังหวัดชัยนาท มีโรงเรียน และนักเรยี น ดังน้ี
ตำรำง : จำนวนโรงเรียนในสงั กดั สำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำชัยนำท

จำแนกตำมขนำด ปกี ำรศึกษำ 2557 – 2559

ปกี ำรศึกษำ
ขนำดโรงเรยี น 2557 2558 2559
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
ขนาดที่ 1 (นร. 0 – 120 คน) 115 62.50 115 62.84 116 64.09
ขนาดท่ี 2 (นร. 121 – 200 คน) 46 25.00 43 23.50 41 22.65
ขนาดที่ 3 (นร. 201 – 300 คน) 17 9.24 19 10.38 18 9.94
ขนาดท่ี 4 (นร. 301 – 499 คน) 3 1.63 3 1.64 3 1.66
ขนาดท่ี 5 (นร. 500 – 1,499 คน) 2 1.09 2 1.09 2 1.10
ขนาดท่ี 6 (นร. 1,500 – 2,499 คน) - - - - - -
ขนาดที่ 7 (นร. 2,500 คนข้นึ ไป) 1 0.54 1 0.55 1 0.55
รวมทั้งส้ิน 184 183 181

ท่มี า : สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาชยั นาท (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2560

25

ตำรำง : จำนวนนกั เรียน ห้องเรยี น และอตั รำส่วน ห้องเรียนต่อนกั เรยี น ปีกำรศกึ ษำ 2557 – 2559

ระดับชน้ั 2557 2558 หอ้ ง: 2559
อนบุ าล 1 หอ้ ง: นร. ห้อง:
นกั เรยี น ห้อง นร. นกั เรยี น ห้อง นกั เรียน ห้อง นร.
1:13
2,441 190 1:13 2,303 186 1:12 2,416 183

อนบุ าล 2 2,444 191 1:13 2,434 190 1:13 2,294 186 1:12

รวมก่อน 4,885 381 1:13 4,737 376 1:12 4,710 369 1:13
ประถมศึกษำ
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 2,635 192 1:14 2,506 192 1:13 2,252 189 1:12

ประถมศึกษาปที ่ี 2 2,685 193 1:14 2,552 192 1:13 2,455 189 1:13

ประถมศึกษาปที ี่ 3 2,704 192 1:14 2,669 192 1:14 2,517 189 1:13

ประถมศกึ ษาปีที่ 4 2,689 191 1:14 2,725 191 1:14 2,668 190 1:14

ประถมศึกษาปีที่ 5 2,674 191 1:14 2,678 190 1:14 2,716 188 1:14

ประถมศึกษาปีที่ 6 2,688 191 1:14 2,668 190 1:14 2,666 188 1:14

รวมประถมศกึ ษำ 16,075 1,150 1:14 15,798 1,147 1:14 15,544 1,133 1:14
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 929 57 1:16 977 55 1:18 965 55 1:18

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 861 56 1:15 893 55 1:16 913 55 1:17

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 871 56 1:16 814 55 1:15 771 55 1:14

รวมมัธยมศกึ ษำตอนตน้ 2,661 169 1:16 2,684 165 1:16 2,649 165 1:16

รวมทั้งสน้ิ 23,621 1,700 1:14 23,219 1,688 1:14 22,903 1,667 1:14

ทมี่ า : สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชยั นาท (ข้อมลู ณ วนั ที่ 10 มถิ ุนายน 2560)

ตำรำง : จำนวนบคุ ลำกรในสงั กัดสำนกั งำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำชยั นำท
ปกี ำรศึกษำ 2557 – 2559

ประเ ท ปีกำรศึกษำ 2559
2557 2558 1,557

ขา้ ราชการครู 1,642 1,590 76
93
บคุ ลากรทางการศึกษา 86 83

ลูกจา้ งประจา 114 113

ทม่ี า : สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยนาท (ขอ้ มลู ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2560)

26

ตำรำง : โรงเรียน จำนวนนกั เรียน จำนวนครู ในสงั กดั สำนกั งำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำ เขต 5

ท่ี โรงเรียน จำนวนนกั เรียน จำนวนครู ขนำดโรงเรยี น
1 ชยั นาทพทิ ยาคม 3,360 100 ใหญพ่ ิเศษ
2 คุรปุ ระชาสรรค์ 1,523 ใหญ่
3 หันคาพิทยาคม 1,574 78 กลาง
4 อุลติ ไพบลู ยช์ นูปถมั ภ์ 72 กลาง
5 วดั สงิ ห์ 762 39 กลาง
6 หนั คาราษฏร์รังสฤษดิ์ 630 35 กลาง
7 สรรพยาวิทยา 404 32 กลาง
8 หว้ ยกรดวิทยา 475 32 เล็ก
9 สาครพทิ ยาคม 405 26 เลก็
10 ศรีสโมสรวทิ ยา 341 26 เลก็
11 เนินขามรัฐประชานุเคราะห์ 295 17 เล็ก
12 บุญนาคพิทยาคม 229 19 เลก็
13 ชยานุกิจพิทยาคม 142 20 เล็ก
115 13
รวม 10,255 483

ทีม่ า : สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชัยนาท (ข้อมลู ณ วันท่ี 10 มถิ ุนายน 2560)

27

(1) ด้ำนคุณ ำพกำรจดั กำรศกึ ษำ
จังหวัดชัยนาทได้เร่งรัดพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระวิชาโดยเน้นกลุ่มสาระ วิชาหลัก

5 กลุ่มสาระวิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา และวิชาภาษาอังกฤษ โดยการพัฒนา
ครูผู้สอน พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง แต่ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนยังมี
คา่ เฉล่ยี ตา่ กวา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในระดับประเทศทุกกลุ่มสาระวิชา ทงั้ ในระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 และ ชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 อันเน่ืองมาจากข้อจากัดต่างๆ เช่น โรงเรียนส่วนหนึ่งยังขาดสื่ออุปกรณ์ท่ีมีคุณภาพขาดทักษะการ
เลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงวัย ขาดครูที่มีความรู้ความชานาญในสาขาวิชาเอกเฉพาะด้าน
เฉพาะวิชา ครูสอนไม่ตรงกับวิชาเอกท่ีเรียนมา อีกทั้งนักเรียนในช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 จะมีข้อจากัดจาก
ตวั นกั เรียนเองทม่ี พี ื้นฐานความรู้คอ่ นข้างตา่ และความพร้อมในการเรยี นมนี ้อย

จังหวัดชัยนาทจึงได้มีนโยบายเร่งรัดเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนให้สูงข้ึนทุก
กลุ่มสาระวิชา โดยจัดทาโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2558 การสง่ เสริมสนับสนุน
ให้ครูสร้างสื่อนวัตกรรมเป็นของตนเอง และการนาส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม การจัดมหกรรมวิชาการเพื่อนาเสนอผลงานครู โรงเรียน และของ
นักเรียน ตลอดจนการเร่งรัดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนทุกรูปแบบเพื่อที่จะทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนสูงข้ึน ตามทไี่ ดก้ าหนดเป้าหมายเอาไว้ ดังตารางแสดงผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (O-net) ดงั นี้

ตำรำง: แสดงผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรียนของนักเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี 6 ปีกำรศกึ ษำ 2557 – 2559

ปกี ำรศึกษำ

กลุ่มสำระวชิ ำ 2557 2558 2559
ระดบั ประเทศ ชัยนำท
ระดบั ประเทศ ระดับประเทศ ระดบั ประเทศ ชยั นำท
52.98 51.31
ภาษาไทย 44.88 43.00 49.33 48.97 40.47 38.55
41.22 40.11
คณิตศาสตร์ 38.06 36.13 43.47 41.85
ระดบั ประเทศ
วทิ ยาศาสตร์ 42.13 40.19 42.59 41.14 46.68 44.66
34.59 31.59
ปีกำรศกึ ษำ
43.19 41.24
กลุม่ สำระวชิ ำ 2557

ระดบั ประเทศ ระดับประเทศ

สงั คมศึกษา 50.67 48.01 49.18 47.53

ภาษาอังกฤษ 36.02 32.62 40.31 36.61

สุขศึกษา พละ 52.20 50.80 - -

ศลิ ปะ 45.61 43.19 - -

การงานอาชพี 56.32 52.79 - -

คะแนนเฉลีย่ 45.74 43.34 44.98 43.22

ต้งั แตป่ ี 2558 เปน็ ต้นไป มกี ารทดสอบเพียง 5 กลมุ่ สาระวชิ า

28

ตำรำง: แสดงผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียนของนักเรยี น ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีที่ 3 สังกัดสพป.ชยั นำท และสพม.5ปี

กำรศกึ ษำ 2557 - 2559

ปกี ำรศึกษำ

กลุ่มสำระวชิ ำ 2557 2558 2559

ระดับประเทศ ชยั นำท ระดับประเทศ ชยั นำท ระดับประเทศ ชยั นำท

ภาษาไทย 35.39 33.11 42.64 39.57 46.36 43.11

คณิตศาสตร์ 29.59 26.14 32.40 27.10 29.31 25.25

วทิ ยาศาสตร์ 38.77 35.68 37.63 33.39 34.99 32.07

สังคมศึกษา 46.94 44.15 46.24 41.60 49.00 45.54

ภาษาอังกฤษ 27.09 25.45 30.62 27.02 31.81 28.31

สุขศกึ ษา พละ 59.72 57.47 - -

ศิลปะ 43.24 43.20 - -

การงานอาชพี 45.87 43.57 - -

คะแนนเฉลี่ย 40.71 38.60 37.90 33.74 38.29 34.86

ต้ังแตป่ ี 2558 เป็นตน้ ไป มีการทดสอบเพยี ง 5 กลมุ่ สาระวชิ า

ตำรำง : แสดงผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนกั เรียน ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี 6 ปีกำรศกึ ษำ 2557 - 2559

ปีกำรศกึ ษำ

กลมุ่ สำระวชิ ำ 2557 2558 2559

ระดับประเทศ ชยั นำท ระดบั ประเทศ ชยั นำท ระดับประเทศ ชัยนำท

ภาษาไทย 50.76 45.64 49.36 43.73 52.29 48.05

คณติ ศาสตร์ 21.74 17.20 26.59 21.45 24.88 19.78

วิทยาศาสตร์ 32.54 29.69 33.40 30.53 31.62 28.76

สงั คมศึกษา 36.53 33.32 39.70 36.27 35.89 32.97

ภาษาองั กฤษ 23.44 19.76 24.98 19.83 27.76 22.79

สุขศึกษา พละ 51.94 50.14 - - - -

ศิลปะ 34.64 33.96 - - - -

การงานอาชีพ 49.01 35.88 - - - -

คะแนนเฉล่ยี 37.56 33.20 34.81 30.36 34.49 30.47

ตงั้ แตป่ ี 2558 เป็นต้นไป มกี ารทดสอบเพียง 5 กลุม่ สาระวิชา

(2) ด้ำนโอกำสทำงกำรศึกษำ
สถานศึกษามีนโยบาย และการปฏิบัติท่ีชัดเจนต่อเน่ือง ในการเปิดโอกาสให้ประชากร
กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการศึกษาอย่างเต็มความสามารถ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน แต่ยังมีประชากร
วัยเรียนสว่ นหนง่ึ ทีไ่ ม่สามารถเขา้ สูร่ ะบบจนจบการศกึ ษาภาคบงั คับได้ ปรากฏดงั น้ี

29

ตำรำง : แสดงนกั เรยี นออกกลำงคัน และนกั เรยี นไม่ศกึ ษำต่อในระดับกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน

ปีกำรศึกษำ

รำยกำร 2556 2557 2558

จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

นักเรยี นออกกลางคัน ๑๒ ๐.๐๕ 6 0.02 7 0.03

นกั เรียนจบชัน้ ม.3 ๙๖ ๑๒.๗๑ 47 7.88 65 9.56
ไม่ศึกษาต่อ

(3) ด้ำนประสิทธิ ำพกำรบริหำรจัดกำร
การกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ในการบริหารจดั การยังไม่สามารถดาเนนิ การได้อยา่ งเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา และการ
สร้างความเข้มแข็งต่อองค์คณะบุคคลท้ังในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ตลอดจนความร่วมมือของ
ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซ่ึงจะเป็นกลไกนาไปสู่การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภ าพ ยังไม่
สามารถบูรณาการให้เป็นเอกภาพ นอกจากน้ียังพบว่าจานวนโรงเรียนขนาดเล็กมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง
จงึ เป็นปัจจัยทีไ่ มส่ ามารถสะทอ้ นให้เหน็ ถงึ การจดั การศกึ ษาท่ีเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

(4) ประเด็นปัญหำตำมลำดับควำมสำคัญ
(4.1) โรงเรียนขนาดเลก็ มจี านวน 116 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64.09 ของโรงเรียนทั้งหมด

181 โรงเรยี นซ่งึ ส่วนใหญ่มีจานวนครไู ม่ครบชั้น ประสบปัญหาด้านการเรียนการสอน
(4.2) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (O-net) โดยเฉลีย่ ไมถ่ งึ ร้อยละ 50

(4.3) ขาดแคลนครูสาขาวิชาเอกทสี่ าคัญ เช่น วิชาเอกภาษาอังกฤษ วชิ าเอกวิทยาศาสตร์
วชิ าเอกคณิตศาสตรท์ าให้ส่งผลตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี น

สถำนกำรณด์ ้ำนกำรสำธำรณสุข
(1) ปญั หำสขุ ำพประชำชน

(1.1) สถำนกำรณป์ ัจจุบัน
จากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกและการสื่อสารที่ไร้พรมแดน ระบบทุนนิยมท่ีให้

ความสาคัญกบั การพัฒนาทางวัตถุ ก่อให้เกิดความห่างกันของบุคคลในครอบครวั สถาบันทางสังคม การดาเนินธรุ กิจ
ที่ขาดความรับผิดชอบ เกิดค่านิยม วัฒนธรรม วิถีการดาเนินชีวิตท่ีไม่เพียงพอและขาดความสมดุล สภาพแวดล้อมไม่
ปลอดภัย ขาดการใส่ใจดแู ลควบคุมป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากพฤติกรรมการ
บริโภคท่ีไม่เหมาะสม ขาดการออกกาลังกาย เกิดความเครียด หาทางออกโดยการกินอาหาร สูบบุหรี่ ด่ืมสุรา ทาให้มี
ภาวะน้าหนักเกินและอ้วน เป็นสาเหตุหลักสาคัญทาให้เกิดโรคติดต่อเรื้อรัง แพร่ระบาดและมีแนวโน้มรุนแรงมากข้ึน
อันส่งผลทาให้เกิดการเจ็บป่วย พิการ เสยี ชีวิต มีภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพและการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมา
อย่างมหาศาล ซ่ึงประเทศไทยและจังหวดั ชยั นาทก็กาลงั เผชิญกับปัญหาที่วิกฤติเช่นกัน ต้องประสบกับแนวโน้มปญั หา
ทเี่ พ่ิมขึ้นจากโรคท่ีปอ้ งกันได้ ท่ีสาคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลอื ดสมอง และ
โรคมะเร็ง

30

โครงสรา้ งอายุประชากรของจงั หวัดชัยนาท ปี 2560 มีสดั ส่วนเพศหญิง ร้อยละ 51.85 เพศ
ชายร้อยละ ๔๘.15 โดยเพศหญิงสูงกว่าเพศชายเล็กน้อยกลุ่มเด็กอ ายุ ๐-๔ ปี คิดเป็นร้อยละ 4.57
เดก็ อายุ ๐-๑๔ ปีร้อยละ ๑5.22 ประชากรวยั ทางาน (อายุ ๑๕-๕๙ ปี) ร้อยละ ๖4.02 ประชากรเด็กกลมุ่ อายุ ต่า
กว่า ๑๕ ปี และผู้สูงอายุ (อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป) ซึ่งเป็นวัยพ่ึงพิง คิดเป็นร้อยละ 35.98 สาหรับประชากรผู้สูงอายุ (อายุ
๖๐ ปีข้ึนไป) คดิ เปน็ ร้อยละ 20.76 ซึ่งมีแนวโนม้ เพิ่มสูงขึ้น

ข้อมูลสถานะสุขภาพ จังหวัดชัยนาทมีอัตราเกิด ในปี ๒๕๕4 มีอัตราเกิด 8.77 ต่อประชากร
พันคน ในปี 2555 มีอัตราเกดิ เพ่ิมขน้ึ 8.80 ตอ่ ประชากรพันคน ในปี 2556 มีอตั ราเกดิ ลดลง 7.47 ในปี 2557
มีอัตราเกิดเพ่ิมข้ึน 7.82 ต่อประชากรพันคน และในปี 2558 มีอัตราเกิดลดลง 7.18ต่อประชากรพันคน ในปี
2559 มีอัตราเกิดลดลง 6.83 ต่อประชากรพันคน ทั้งน้ีพบว่า จังหวัดชัยนาท มีอัตราเกิดต่ากว่าระดับประเทศในปี
๒๕๕4 จงั หวัดชัยนาท มีอัตราตาย 8.64 ตอ่ ประชากรพันคน และมอี ัตราตายเพิ่มขน้ึ ในปี 2555 มีอัตราตาย 9.52
ต่อประชากรพันคน ในปี 2556 มีอัตราตาย ลดลง 9.42 ในปี 2557 มีอัตราตายเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย 9.47 ต่อ
ประชากรพันคน ในปี 2558 มีอัตราตายเพ่ิมขึ้น 9.54 ต่อประชากรพันคน และในปี 2559 มีอัตราตายเพิ่มขึ้น
10.33 ต่อประชากรพันคน อัตราเพิ่มตามธรรมชาติในปี ๒๕๕4 จังหวัดชัยนาทมีอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ร้อยละ
๐.03 ต่อมาอัตราเพิ่มตามธรรมชาติลดลงอย่างต่อเน่ืองจนถึงปี 2555 ซึ่งมีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติ -0.07 ในปี
2556 มีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติ - 0.20 ในปี 2557 มีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติ -0.17 ในปี 2558 มีอัตราเพ่ิม
ธรรมชาติ -0.24 และในปี 2559 มีอัตราเพ่ิมธรรมชาติ -0.35 เม่ือเปรียบเทียบกับระดับประเทศ พบว่าจังหวัด
ชยั นาทมอี ัตราเพม่ิ ตามธรรมชาตติ ่ากวา่

อตั รามารดาตายจากการคลอด จังหวัดชัยนาท ปี ๒๕52 – 2558 พบว่ามีมารดาตายจากการ
คลอด ในปี ๒๕53 มีมารดาตาย จานวน 2 รายคิดเป็นอัตรา 59.58 ต่อพันการเกิดมีชีพและในปี 2556 มีมารดา
ตายจากการคลอด 1 ราย คดิ เป็นอัตรา 40.23 ต่อพนั การเกิดมีชพี

อัตราทารกตาย ในปี ๒๕54 จงั หวัดชัยนาทมีอัตราทารกตาย 5.11 ต่อพันการเกิดมชี ีพ ต่อมา
อัตราทารกตายลดลงในปี ๒๕55 มีอัตราทารกตาย 7.51 ต่อพันการเกิดมีชีพ ในปี 2556 อัตราทารกตายเพ่ิมขึ้น
โดยมอี ัตราทารกตาย 9.25 ต่อพันการเกิดมีชีพ ในปี 2557 อัตราทารกตายลดลง 5.39 ต่อพันการเกิด มีชพี ใน
ปี 2558 อัตราทารกตายเพ่ิมขึ้น 6.30 และในปี 2559 อัตราทารกตายเพ่ิมขึ้น 6.64 เม่ือเปรยี บเทยี บกับประเทศ
พบว่าจังหวดั ชัยนาท มอี ัตราทารกตายตา่ กวา่

อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดของประชากรจังหวดั ชัยนาทในปี ๒๕๔8 เพศชายมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อ
แรกเกิดเท่ากบั 68.85 ปี และอายุคาดเฉล่ยี เมื่อแรกเกิดของเพศชายเพิ่มสูงขึ้นเป็น 71.53 ในปี 2558 สาหรบั เพศ
หญิงมีอายุคาดเฉลี่ยเมอ่ื แรกเกดิ ในปี 2548 เท่ากับ ๗6.24 ปี และอายคุ าดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดของเพศหญิงเพ่มิ สูงข้ึน
เปน็ 77.80 ในปี 2558 พบวา่ เพศหญิงมีอายคุ าดเฉล่ียเมอ่ื แรกเกดิ สงู กวา่ เพศชาย ซง่ึ ตา่ กวา่ ระดบั ประเทศเลก็ นอ้ ย

(1.2) แนวโนม้ ของสถำนกำรณ์
(1.2.1) โครงสร้างประชากรของจังหวัดชยั นาทมปี ระชากรผูส้ งู อายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ร้อย
ละ 20.76 ซงึ่ มแี นวโน้มเพิม่ สงู ข้นึ
(1.2.2) กระแสการเปล่ียนแปลงและระบบทุนนิยม ส่งผลทาให้เกิดการเจ็บป่วย พิการ
เสียชีวิต มีภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพและการสูญเสียทางเศรษฐกิจ แนวโน้มปัญหาท่ีเพิ่มข้ึนจากโรคท่ีป้องกันได้
และพฤติกรรม ทสี่ าคญั ไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหติ สงู โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเรง็
(1.2.3) ข้อมูลสถานะสุขภาพ จังหวัดชัยนาทมีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติมีแนวโน้มลดลง ในปี
2559 มีอัตราเพิม่ ตามธรรมชาติ -0.35 ซง่ึ ตา่ กวา่ ระดบั ประเทศ

31

(1.2.4) อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดของจังหวัดชัยนาท ในปี 2558 เพศชายมีอายุคาดเฉล่ีย
เมื่อแรกเกิดเท่ากับ 71.53 ปี เพศหญิงมีอายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด เท่ากับ 77.80 ปี ซ่ึงสูงกว่าเพศชาย อายุคาด
เฉลยี่ เมอื่ แรกเกิดของจังหวัดชยั นาทตา่ กวา่ ระดับประเทศเล็กนอ้ ย

(1.2.5) สาเหตุการตายของประชาชนของจังหวัดชัยนาทที่สาคัญ ในปี 2559 ได้แก่ มะเร็ง
ทุกชนิด โดยมีอัตราตาย 124.56 ต่อประชากรแสนคน (สูงสุดได้แก่ มะเร็งตับ รองลงมามะเร็งปอด, มะเร็งเต้านม,
มะเร็งลาไส้ และมะเร็งมดลูก) รองลงมาได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง, ปอดบวม, โรคติดเชื้อและปรสิต, และโรคหัวใจ
ขาดเลอื ดฯ คิดเป็นอัตรา 87.68, 81.33, 70.14 และ 47.16 ตอ่ ประชากรแสนคน ตามลาดับ

(1.3) ประเด็นปญั หำตำมลำดับควำมสำคัญ
จังหวัดชยั นาทได้ระดมความคิดจากผูเ้ ก่ียวขอ้ ง ผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสีย และภาคเี ครือข่ายร่วมประชุม
สะท้อนข้อมูลปัญหา วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ และร่วมหาแนวทางการแก้ไขปัญหา จากการวิเคราะห์ข้อมูลตาม 4 H
ได้แก่ ความรุนแรงของโรคท่ีทาให้เสียชีวิตมากท่ีสุด (High risk), การป่วยด้วยโรคที่มีผู้เข้ารับบริการในสถานพยาบาล
เป็นจานวนมาก (High Volume), การเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง (High cost) และความสอดคล้องของโรคท่ี
เป็นปัญหากับนโยบายในแต่ละระดับ ได้แก่ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ระดับเขต และระดับจังหวัด (High policy)
เม่ือมีการถ่วงน้าหนักคะแนน ในแต่ละโรค และนามาจัดลาดับความสาคัญของปัญหา (Priority setting) พบว่าโรค
และภาวะที่เป็นปัญหาสุขภาพท่ีสาคัญของจังหวัดชัยนาท 10 อันดับแรก ได้แก่ โรคมะเร็งทุกชนิด,หลอดเลือดสมอง
(Stroke) ,หลอดเลือดสมอง (Stroke) หัวใจขาดเลือด (STEMI) ,ความดันโลหิตสูง ,เบาหวาน ,วัณโรค ,อุบัติเหตุจากการขนส่ง,
ไข้เลอื ดออก, ปอดบวม และไตวายเรื้อรัง ตามลาดับ โดยในชว่ ง 5 ปที ่ีผ่านมา (พ.ศ. 2555 - 2559) ข้อมูลจากกอง
ยุทธศาสตร์และแผนงาน ( กยผ.) กระทรวงสาธารณสุข อัตราการตายด้วยโรคและภาวะท่ีเป็นปัญหาสาคัญของ
ประชาชนในจงั หวัดต่อประชากรแสนคน ของ 10 อันดบั ดังกลา่ วมแี นวโน้ม ดังน้ี

1. โรคมะเร็งทุกชนิด

ปี จำนวนผู้ทไี่ ดร้ ับ จำนวนประชำกร อตั รำปว่ ยตำย อัตรำกำรตำย
งบประมำณ กำรวินิจฉัยวำ่ ตำย ของจังหวดั ต่อประชำกรแสนคน ทีเ่ พิม่ ข้นึ

พ.ศ. ดว้ ยโรค 333,256 ของจังหวัด - 38.30
389 332,737 116.73 -0.9
2555 370 332,313 78.43
425 331,614 77.53 +45.50
2556 408 330,754 123.03 +1.53
412 330,010 124.56 -43.35
2557 268 81.21
2558

2559

2560
(ณ 31 ส.ค.

60)

32

2. หลอดเลือดสมอง (Stroke) อตั รำปว่ ยตำย อัตรำกำรตำย
ตอ่ ประชำกรแสนคน ทเี่ พิม่ ขน้ึ
ปี จำนวนผูท้ ่ีได้รับ จำนวนประชำกร
งบประมำณ กำรวินจิ ฉยั วำ่ ตำย ของจังหวดั ของจังหวดั -2.59
+8.81
พ.ศ. ดว้ ยโรค 73.22 +9.52
70.63 -1.28
2555 244 333,256 79.44 -48.89
88.96
2556 235 332,737 87.68
38.79
2557 264 332,313

2558 295 331,614

2559 290 330,754

2560 128 330,010
(ณ 31 ส.ค.

60)

3. หัวใจขำดเลือด (STEMI)

ปี จำนวนผูท้ ี่ไดร้ บั จำนวนประชำกร อตั รำป่วยตำย อตั รำกำรตำย
งบประมำณ กำรวินจิ ฉยั ว่ำตำย ของจังหวดั ตอ่ ประชำกรแสนคน ที่เพิ่มขน้ึ

พ.ศ. ดว้ ยโรค 333,256 ของจังหวดั +8.16
102 332,737 30.61 +3.96
2555 129 332,313 38.77 +1.60
142 331,614 42.73 +2.83
2556 147 330,754 44.33 -8.89
330,010 47.16
2557 156 38.18 อตั รำกำรตำย
126 ท่ีเพมิ่ ขึน้
2558 อัตรำปว่ ยตำย
ตอ่ ประชำกรแสนคน +13.83
2559 -3.59
ของจังหวัด -3.60
2560 1.5 -2.70
(ณ 31 ส.ค. 15.33 +3.65
11.74
60) 8.14
5.44
4. ควำมดันโลหิตสูง จำนวนประชำกร 9.09
ปี จำนวนผู้ที่ได้รบั ของจังหวัด
งบประมำณ กำรวนิ จิ ฉยั ว่ำตำย
พ.ศ. ดว้ ยโรค 333,256
332,737
2555 5 332,313
331,614
2556 51 330,754
330,010
2557 39

2558 27

2559 18

2560 30
(ณ 31 ส.ค.

60)

5. เบำหวำน 33 อตั รำปว่ ยตำย อัตรำกำรตำย
ปี จำนวนผทู้ ี่ได้รับ ตอ่ ประชำกรแสนคน ทีเ่ พม่ิ ข้ึน
งบประมำณ กำรวนิ จิ ฉยั ว่ำตำย จำนวนประชำกร +12.94
พ.ศ. ดว้ ยโรค ของจังหวัด ของจังหวดั -7.19
2555 32 333,256 9.60 -1.18
2556 75 332,737 22.54 -4.2
2557 51 332,313 15.35 -3.61
2558 47 331,614 14.17
2559 33 330,754 9.97 อัตรำกำรตำย
2560 21 330,010 6.36 ท่เี พ่ิมขน้ึ
(ณ 31 ส.ค. +0.32
60) -2.70
+2.43
6. วัณโรค จำนวนประชำกร อตั รำปว่ ยตำย +1.23
ปี จำนวนผ้ทู ่ีไดร้ บั ของจังหวดั ตอ่ ประชำกรแสนคน -4.21
งบประมำณ กำรวินิจฉยั ว่ำตำย 333,256
พ.ศ. ดว้ ยโรค 332,737 ของจังหวัด อัตรำกำรตำย
2555 32 332,313 9.60 ท่ีเพมิ่ ขึ้น
2556 33 331,614 9.92 -0.85
2557 24 330,754 7.22 -2.36
2558 32 330,010 9.65 -2.65
2559 36 10.88 -3.59
2560 22 6.67 -9.03
(ณ 31 ส.ค.
60)

7. อบุ ัติเหตจุ ำกกำรขนสง่
ปี จำนวนผทู้ ไ่ี ดร้ บั จำนวนประชำกร อัตรำป่วยตำย
งบประมำณ กำรวนิ จิ ฉยั วำ่ ตำย ของจังหวัด ต่อประชำกรแสนคน
พ.ศ. ดว้ ยโรค
2555 115 333,256 ของจังหวัด
2556 112 332,737 34.51
2557 104 332,313 33.66
2558 95 331,614 31.30
2559 83 330,754 28.65
2560 53 330,010 25.09
(ณ 31 ส.ค. 16.06

60)

8. ไข้เลอื ดออก 34 อัตรำปว่ ยตำย อตั รำกำรตำย
ปี จำนวนผูท้ ไ่ี ดร้ บั จำนวนประชำกร ต่อประชำกรแสนคน ท่เี พมิ่ ขึ้น
งบประมำณ กำรวินิจฉยั ว่ำตำย -
พ.ศ. ด้วยโรค ของจังหวดั ของจังหวดั -0.30
2555 1 333,256 0.30 0
2556 0 332,737 0 +0.17
2557 0 332,313 0 0
2558 1 331,614 0.17 0
2559 0 330,754 0
2560 0 330,010 0
(ณ 31 ส.ค.
60)

9. ปอดบวม จานวนประชากร อตั ราป่วยตาย อัตราการตาย
ปี จานวนผู้ทไี่ ด้รับ ของจงั หวัด ต่อประชากรแสนคน ทเ่ี พม่ิ ข้นึ
งบประมาณ การวินิจฉยั วา่ ตาย
พ.ศ. ด้วยโรค 333,256 ของจังหวัด +5.47
2555 132 332,737 39.61 +6.38
2556 150 332,313 45.08 +12.17
2557 171 331,614 51.46 +17.70
2558 211 330,754 63.63 -34.66
2559 269 330,010 81.33
2560 154 46.67 อตั รำกำรตำย
(ณ 31 ส.ค. จำนวนประชำกร ทเ่ี พม่ิ ขนึ้
60) ของจังหวัด อตั รำปว่ ยตำย
ตอ่ ประชำกรแสนคน -3.88
10. ไตวำยเรอ้ื รัง 333,256 +0.92
332,737 ของจังหวดั +4.85
ปี จำนวนผทู้ ีไ่ ดร้ บั 332,313 15.30 +3.70
งบประมำณ กำรวินิจฉัยวำ่ ตำย 331,614 11.42 -9.65
330,754 12.34
พ.ศ. ดว้ ยโรค 330,010 17.19
51 20.86
2555 38 11.21
41
2556 57
2557 69
37
2558

2559

2560
(ณ 31 ส.ค.

60)

35

(2) ผสู้ งู อำยุ

(2.1) สถำนกำรณป์ จั จบุ ันและแนวโนม้
จังหวัดชัยนาท เป็น สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2537 และมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ปี 2557 -
2559 ร้อยละ 18.8 19.5 และ 20.1 ตามลาดับ (กรมการปกครอง, 2557 - 2559) ซึ่งสูงกว่าค่าร้อยละของ
ประเทศไทย (ประชากรกลางปี พ.ศ. 2560ของประเทศ ผู้สูงอายุ 11.313 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.125
ของประชากรรวม) และก้าวสู่สังคมผู้สูงอย่างสมบูรณ์ รวมท้ังจากการคานวณของสานักคณะกรรมการพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ, 2555 ผลการคาดประมาณประชากรไทย พ.ศ 2553 - 2583 จงั หวัดทม่ี ีดัชนีการสูง
วัยมากท่ีสุด 10 อันดับแรก พ.ศ.2557 พบว่าจังหวัดชัยนาทติดอันดับท่ี 6 ของประเทศ และจากข้อมูลสถาบันวิจัย
ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ.2557 พบว่า ดัชนีการสูงวัยของจังหวัดชัยนาทสูงกว่าประเทศ
และจงั หวดั ในเขตสุขภาพที่ 3 เม่อื แบง่ ผ้สู ูงอายตุ ามชว่ งอายุ พบวา่ ในปี 2559 วัยตน้ วัยกลาง วัยปลาย คิดเป็นร้อย
ละ 54.76, 29.98 และร้อยละ 15.27 ตามลาดับ ซ่ึงวัยปลายมีแนวโน้มสูงข้ึน เม่ือพิจารณารายอาเภอ พบว่าทุก
อาเภอมีประชากรสูงอายุสูงเกินค่าร้อยละของประเทศ โดยเฉพาะอาเภอมโนรมย์ อาเภอวัดสิงห์อาเภอสรรพยา และ
อาเภอสรรคบุรีเข้าสู่สงั คมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ อาเภอมโนรมย์เป็นอาเภอที่มผี ู้สูงอายุวัยปลาย ร้อยละสูงสุด (ร้อยละ
17.03) ดงั ตาราง

ตำรำง : จำนวนและร้อยละของประชำกรสูงอำยุจังหวดั ชยั นำท

ประเทศ/จงั หวดั จำนวนประชำกรทงั้ หมด จำนวนประชำกรผสู้ งู อำยุ รอ้ ยละของประชำกรผสู้ ูงอำยุ
14.35
ไทย 65,729,098 คน 9,429,610 คน 20.11

จังหวดั ชยั นำท 330,754 คน 66,507 คน

ท่มี า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ ธันวาคม 2558

ตำรำง : ดัชนกี ำรสงู วัยของประชำกรเขตสุข ำพท่ี 3

ประเทศ/จังหวัด รอ้ ยละ

ไทย 83.10

จังหวัดชยั นาท 124.3

จงั หวดั นครสวรรค์ 112.7

จังหวัดพิจิตร 110.4

จังหวัดอทุ ัยธานี 104.90

จังหวัดกาแพงเพชร 87.1

ที่มา: สถาบันวิจัยประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล ในปี พ.ศ.2557

36

ตำรำง : จำนวนและร้อยละประชำกรสูงอำยุ กำรแบ่งช่วงอำยุผู้สูงอำยุ รำยอำเ อจังหวัดชัยนำท

อำเ อ ประชำกร ผูส้ งู อำยุ วยั ต้น ชว่ งอำยผุ สู้ ูงอำยุ* วัยปลำย
เมอื ง ทุกกลมุ่ (60 ปขี ้ึนไป) (60-69 ป)ี วยั กลำง (อำยุ 80 ปขี น้ึ ไป)
อำยุ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
จำนวน รอ้ ยละ (70-79 ปี)
70,983 13,337 18.79 7,675 57.55 จำนวน รอ้ ยละ 1,838 13.78
3,824 28.67

มโนรมย์ 32,873 6,917 21.04 3,683 53.25 2,056 29.72 1,178 17.03

วดั สงิ ห์ 25,869 5,233 20.23 2,841 54.29 1,585 30.29 807 15.42

สรรพยา 42,813 9,437 22.04 4,993 52.91 2,872 30.43 1,572 16.66

สรรคบรุ ี 65,831 14,222 21.60 7,557 53.14 4,404 30.97 2,261 15.90

หนั คา 55,614 10,549 18.97 6,024 57.10 3,012 28.55 1,513 14.34

หนองมะ 19,659 3,498 17.79 1,891 54.06 1,111 31.76 496 14.18
โมง 17,112 3,314 19.367 1,754 52.93 1,072 32.35 488 14.73

เนนิ ขาม

รวม 330,754 66,507 20.11 36,418 54.76 19,936 29.98 10,153 15.27

ที่มา : ศนู ยบ์ รหิ ารการทะเบยี น ภาค 1 สาขาจงั หวดั ชยั นาท ข้อมูลประชากรกลางปี ณ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
* จาแนกตาม พ.ร.บ.ผสู้ งู อายปุ ี 2546

ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุจังหวัดชัยนาท จากการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง 3 ปี ย้อนหลัง ตั้งแต่
ปี 2558 - 2560 พบ ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน (Activity of Daily Living : ADL)
มีแนวโน้มเป็นกลุ่มติดสังคมมากขึ้น คือร้อยละ 92.1 94.3 และ 95.1 ตามลาดับ โดยกลุ่มติดบ้านมีแนวโน้ม
ลดลงคือร้อยละ 6.5,4.7 และ 4.0 ตามลาดับ และกลุ่มติดเตียงมีแนวโน้มลดลง คือร้อยละ 1.4 ,1.1 และ
1.0 ตามลาดับ โรคที่เป็นปัญหาสาคัญและพบบ่อยในผู้สูงอายุ 3 อันดับแรก คือ โรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ
24.5 18.5 และ 54.0 ตามลาดับ) โรคเบาหวาน (ร้อยละ 18.4 12.1 และ 26.6 ตามลาดับ) และภาวะสุขภาพทางตา
(ร้อยละ 40.3 20.0 และ 20.0 ตามลาดับ) ภาวะเส่ือม (Geriatric Syndromes) 3 อันดับแรกคือ ข้อเข่าเส่ือม (ร้อยละ
46.2 27.2 และ 28.29 ตามลาดับ) รองลงมาภาวะหกล้ม (ร้อยละ 15.9 18.6 และ 13.2 ตามลาดับ) และภาวะสมอง
เส่อื ม (ร้อยละ 16.1,6.7 และ 8.o ตามลาดับ) สาหรบั สาเหตุการตายและการปว่ ยการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด
ของผู้สูงอายมุ ีแนวโน้มเพิ่มขน้ึ เร่อื ยๆ สาเหตุของโรคกลุ่มนีเ้ กดิ จากวิถีชีวิตและพฤตกิ รรมสุขภาพท่ีไมถ่ ูกต้องเหมาะสม
ได้แก่ การรับประทานที่มากเกินพอดี ไม่สมดุล รับประทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้น้อย
ใช้เครื่องอานวยความสะดวกมากขึ้น มีกิจกรรมทางกายน้อยลง ไม่ออกกาลังกาย เครียด และพักผ่อนไม่เพียงพอ
ประกอบกับการสูบบุหร่ี และการด่ืมเคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรมสุขภาพดังกล่าวส่งผลให้
เกิดภาวะนา้ หนักเกิน อ้วน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และนาไปสกู่ ารเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
จึงตอ้ งดาเนินการเฝ้าระวงั และดาเนนิ การปรบั พฤติกรรมของผูส้ งู อายุด้านการดูแลสขุ ภาพอยา่ งต่อเนอื่ งในปตี ่อไป

ในด้านการดาเนินงานส่งเสริมและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุยังมีปัญหาด้านโอกาส หรือความสามารถในการ
เข้าถึงระบบบริการน้ันๆ ในแต่ละระดับจนถึงชุมชนของผู้สูงอายุ คือมีชมรมผู้สูงอายุ 425 ชมรม ยังดาเนินกิจกรรม
จานวน 384 แหง่ (รอ้ ยละ 90.35) ผ่านเกณฑช์ มรมผู้สูงอายุคุณภาพเพียง จานวน 127 ชมรม (รอ้ ยละ 33.07)

37

ตาบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จานวน 53 ตาบล ผ่านเกณฑ์และยังไมห่ มดอายุการรับรอง
คุณภาพ จานวน 40 ตาบล (รอ้ ยละ 75.4) อาเภอ 80 ปี ยังแจ๋ว จานวน 2 อาเภอ (ร้อยละ 25.00) คลินิกผู้สูงอายุ
คุณ ภ า พ ท ุก โ ร ง พ ย า บ า ล ผ่า น เก ณ ฑ ์ แ ละผ่าน เกณ ฑ์ ระดับ ดี เลิศ จาน วน 3 แห่ ง (ร้อยล ะ 37.5)
มีอาสาสมัครผู้ดูแล/หมอน้อย หลักสูตร 1 - 3 วัน จานวน 4,012 คน ผู้ดูแล (Care Giver) หลักสูตร 70 ช่ัวโมง
จานวน 533 คน ผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager) จานวน 92 คน มีวัด จานวน 272 แห่ง ผ่านเกณฑ์วัด
สง่ เสรมิ สุขภาพขั้นพ้นื ฐาน จานวน 50 วดั (ร้อยละ 18.53)

(2.2) ประเดน็ ปัญหำตำมลำดับควำมสำคัญ
(2.2.1) การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์และรองรับกลุ่ม

ติดสังคมที่มีแนวโน้มเพิ่มข้ึน
(2.2.2) โรคทมี่ ีผลจากความเสอื่ มถอยของอวยั วะในผสู้ ูงอายุเพ่ิมมากขึ้น
(2.2.3) ผู้สูงอายทุ ี่มโี รคเร้ือรังจาเป็นต้องได้รบั การดูแลระยะยาว
(2.2.4) ผสู้ ูงอายุเจ็บป่วย ติดเตียง และพิการเขา้ ถึงบรกิ ารสุขภาพน้อย
(2.2.5) ระบบบริการ/บรหิ ารจดั การดูแลระยะยาวยังไมเ่ อื้อ
(2.2.6) คนอ้วน/โรคอ้วนผู้สูงอายมุ พี ฤตกิ รรมสุขภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ร้อยละ 33.74

(ออกกาลงั กายอย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 3 วัน ครั้งละ 15- 30 นาที เปน็ ประจา (รอ้ ยละ 49.7)
(2.2.7) การจัดสภาพสิ่งแวดลอ้ มยงั ไม่เอ้ือ

(3) คณุ แมว่ ยั ใส

(3.1) สถำนกำรณ์ปจั จุบันและแนวโน้ม
สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปล่ียนแปลงการดารงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยาย
กลายเป็นครอบครัวเด่ียว อีกทั้งสภาพเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนไปทาให้พ่อแม่ใช้เวลาในการประกอบอาชีพมากขึ้น ทาให้
มีเวลาในการดูแลเด็กและเยาวชนน้อยลง ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคเครือข่ายไร้สาย และ
วัฒนธรรมข้ามชาติ ทาให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้ามากมาย นับเป็นวิกฤตในช่วงพัฒนาการของชีวิตวัยรุ่นที่ต้องเผชิญ
ดงั จะเห็นได้จากแนวโน้มของสถานการณ์ปัญหาท่พี บในวัยรุ่นท้ังปญั หาสุขภาพ พฤติกรรมเสยี่ งทางเพศ การต้ังครรภใ์ น
วัยรนุ่ ตลอดจนพฤตกิ รรมเสี่ยงอน่ื ๆ เชน่ การด่ืมเหล้า สูบบหุ ร่ี และสารเสพตดิ ภาวะสมาธิสั้น การติดเกม และอนิ เตอรเ์ น็ต
เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ อาจส่งผลให้เกิดการต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น ตามมาด้วย
ปัญหาขาดการดูแลเอาใจใส่ในระหว่างต้ังครรภ์ ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของเด็กที่เกิดมาโดยเฉพาะเร่ือง
พัฒนาการทางสตปิ ัญญาและอารมณ์ เมอื่ เตบิ โตเป็นวัยร่นุ ก็เส่ียงต่อการเขา้ สู่วงจรของการตง้ั ครรภ์ไม่พึงประสงค์อีก
จังหวัดชัยนาทได้ดาเนินงานป้องกันการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น โดยบูรณาการกับภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้อง โดยในระดับอาเภอได้ดาเนินงานอาเภออนามัยการเจริญพันธุ์ซึ่งขับเคลื่อนภายใต้ District Health
System โดยเชอ่ื มโยงกับองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ โรงเรียนและชุมชน สาหรับในสถานบริการสาธารณสุขไดจ้ ัดให้
มีระบบบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสาหรับวัยรุ่นและเยาวชน (คลินิกวัยรุ่น) จากผลการดาเนินงานด้านอนามัยแม่ และ
เด็ก ปี 2553 – 2560 พบว่า มีมารดาคลอดอายุ 15-19 ปี คิดเป็นอัตรา 57.37, 56.92, 56.07, 53.83,
52.84, 47.37, 39.5, และ 24.4 ต่อประชากรหญิงอายุ 15- 19 ปีพันคน ตามลาดับ (เป้าหมาย<42) ตั้งครรภ์
ซ้า ร้อยละ 14.34 และจากการสารวจพฤตกิ รรมทส่ี ัมพันธ์กบั การติดเชือ้ เอชไอวีในนักเรียน พบว่า อัตราการใชถ้ ุงยาง
อนามัยในนกั เรยี น ช้ัน ม.5 และ ปวช. 2 ปี 2554- 2558 คิดเปน็ ร้อยละ 61.45, 61.67, 62.77, 69.67 และ
7 8 .4 9 ตามลาดับ พ บ ผู้ป่ วยโรคติดต่อท างเพ ศสัมพั น ธ์ 5 โรคห ลักใน กลุ่มวัยรุ่น อายุ 1 5 -2 4 ปี
ปี 2553-2559 คิดเปน็ อัตราป่วย 11.18, 20.12, 9.1, 16.11, 18.38,32.41 และ 81.82 ต่อประชากรอายุ
15-24 ปีแสนคน ตามลาดบั

38

ตำรำง : อตั รำมำรดำคลอดอำยุน้อยกว่ำ 20 ปี ปี 2553-2560

ปงี บประมำณ จำนวนมำรดำคลอด จำนวนหญงิ อำยุ อตั รำคลอดต่อหญงิ อำยุ
อำยุ อำยุ อำยุ 15-19 ปี 15-19 ปี พันคน
2553 < 20 ปี < 15 ปี 15-19 ปี (3*1,000/4)
2554
2555 641 - 641 11,173 57.37
2556
2557 636 - 636 11,173 56.92
2558
2559 622 - 622 11,094 56.07
2560
570 8 562 10,440 53.83

562 21 541 10,238 52.84

499 14 485 10,238 47.37

399 12 387 9,788 39.5

237 8 229 9,377 24.4

ที่มา : รายงานอนามัยแมแ่ ละเด็ก ปี 2553-2560

39

แผน มู ิแสดง อัตรำมำรดำคลอดอำยุ 15-19 ปี ต่อประชำกรหญงิ อำยุ 15-19 ปีพันคน ปี 2553-2560

(เป้ำหม 6554433221105050505050 47.37
ำย
<50) (3.2) ประเด็นปญั หำตำมลำดับควำมสำคัญ
อตั ราคลอดตอ่ หญงิ อายุ 15-19 ปพี นั คน

2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ตำรำง : กำรจดั ลำดบั ควำมสำคญั ของปัญหำวยั รนุ่ จังหวัดชยั นำท

เกณฑ์ทใี่ ช้ในกำรพจิ ำรณำ

ขนำดของปญั หำ ควำมรนุ แรง ควำมเป็นไปได้

ปัญหำ (น้ำหนัก =2) (นำ้ หนัก = 5) (นำ้ หนัก = 3) รวม ลำดับ
คะแนน
น้ำหนกั คะแนน รวม น้ำหนัก คะแนน รวม น้ำหนกั คะแนน รวม
29 1
1. ยาเสพตดิ 2 3 6 5 4 20 3 1 3
27 3
2. มารดาคลอดอายุ 2 3 6 5 3 15 3 2 6
23 5
นอ้ ยกว่า 20 ปี 20 6

3. โรคติดต่อทาง 2 2 4 5 2 10 3 3 9 28 2
23 5
เพศสมั พันธ์ 23 5
25 4
4. โรคเอดส์ 2 2 4 5 2 10 3 2 6
2 2 4 5 3 15 3 3 9
5. การใช้ถงุ ยาง
อนามัย

6. การสูบบหุ ร่ี 2 2 4 5 2 10 3 3 9

7. การดื่มสรุ า 2 2 4 5 2 10 3 3 9

8. โรคอ้วน 2 2 4 5 3 15 3 2 6

40

3.1 สถำนกำรณด์ ้ำนควำมยำกจน

41

42

43

44

5. ลักษณะทำงสงั คม
จงั หวดั ชัยนาท เปน็ เมอื งเล็ก ๆ วิถีชวี ิตของประชาชนค่อนข้างเรยี บงา่ ย โดยประชาชนส่วนใหญ่

ประกอบอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 80

(1) กำรศึกษำ

จังหวัดชัยนาท มสี ถานศกึ ษา แยกตามสังกดั ปกี ารศึกษา 2559 มดี ังน้ี
ตำรำง : แสดงสถำนศกึ ษำแยกตำมสังกัด จงั หวดั ชยั นำท

สังกัด สถำนศึกษำ จำนวนครู จำนวนนกั เรียน
32,423
1. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 194 2,107 22,827
9,596
- สพป. 178 1,454 3,565
3,565
- สพม.5 13 653
3,738
2. สานกั บริหารงานการศึกษาเอกชน 10 184 406

- สายสามัญ 10 184 1,550
325
- อดุ มศึกษา (วทิ ยาลัยเทคโนโลยชี ัยนาท) 298
469
3. กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถิน่ 8 201 324
260
- โรงเรยี นองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดชยั นาท 1 20 106
1,043
- โรงเรยี นเทศบาลบา้ นกล้วย 1 74 135
908
- โรงเรยี นเทศบาลเขาท่าพระ 1 27
28
- โรงเรยี นเทศบาลวัดหัวยาง 1 13 28
จำนวนนกั เรียน
- โรงเรยี นเทศบาลวัดสงิ หส์ ถิต 1 46 4,184
3,343
- โรงเรียนเทศบาลหางนา้ สาคร 1 14 402
275
- โรงเรยี นเทศบาลตาบลสรรพยา 15 412
271
- อนุบาลเทศบาลตาบลหนั คา 12 5,504

4. สานักบริหารการศกึ ษาพเิ ศษ 2 57

- ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดชยั นาท 1 17

- โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 46 1 40

5. กรมการศาสนา 1 13

- วัดโพธิง์ าม 1 13

สังกัด สถำนศึกษำ จำนวนครู

6. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 3 147

- วทิ ยาลยั เทคนิคชยั นาท 1 105

- วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชัยนาท 1 31

- วิทยาลยั การอาชพี เนนิ ขาม 1 11

7. วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท 1 44

8. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม ศูนยช์ ัยนาท 1 16

9. สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบฯ 1 113

ทมี่ า : สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาชยั นาท มิถุนายน 2560


Click to View FlipBook Version