The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by titleaudit03, 2022-09-21 02:59:36

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ปี 2565

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ปี 2565

Keywords: รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ปี 2565

ปี ๒565

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวัดชยั นาท
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

สำนกั งำนพฒั นำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์จงั หวัดชัยนำท

Chainat Provincial Social Development and Human Security Office

กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์



คำนำ

สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาทมีภารกิจจัดทำนโยบายและ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมทั้งรายงานสถานการณ์ทางสังคม
และเสนอแนะแนวทางแก้ไข และประสานและจัดทำแผนงาน โครงการและกิจกรรมด้านการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำเนินงานกับองค์กร
เครอื ขา่ ยในจังหวดั ท้ังภาครฐั และภาคเอกชน รวมท้ังการช่วยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคม ตลอดจนเป็นศูนย์
ข้อมลู ดา้ นการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ในระดบั จงั หวัด

การจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ได้รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆท่ีเก่ียวข้อง มีวัตถุประสงค์ เพ่ือสำรวจและรวบรวมข้อมูลผู้ประสบปัญหา
ทางสังคมจังหวัดชัยนาท หัวหน้าครัวเรือน และผู้ประสบปัญหาในครัวเรือน ท่ีมีความต้องการความช่วยเหลือ
ครอบครัวท่ีประสบปัญหาทางสังคมและสวัสดิการท่ีเคยได้รับ รวมทั้งเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง ชัดเจน และ
ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ เป้าหมาย และสามารถนำขอ้ มูลไปใช้ในการกำหนดแผนงาน/โครงการเพ่อื สง่ เสริมการพฒั นา
การสงเคราะห์ การคุ้มครอง การปอ้ งกัน การแก้ไข และการบำบัดฟืน้ ฟู เป็นต้น เพ่ือแกไ้ ขปัญหาสังคมท่ีเกิดขึ้น
เป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ในการแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจำเป็นต้องมีข้อมูลของ
ผู้ด้อยโอกาส และสภาพปัญหาทางสังคมในพ้ืนที่มาสนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อให้การแก้ไขปัญหาสังคม
สอดคล้องกับสภาพปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นในจงั หวัด โดยมีการรวบรวมข้อมูลทุตยิ ภูมิของหน่วยงานต่างๆใน
จังหวัด และพื้นที่ จำนวน 8 อำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 59 แห่ง นำมาวิเคราะห์และจัดทำเป็น
รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นถึงสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท
ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายที่พึงได้รับความช่วยเหลือ เพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน สร้างสถาบันครอบครัวและ
ชุมชนเข้มแข็ง เพ่ือให้บรรลุภารกิจหลักของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทั้งในปัจจุบัน
และในอนาคต

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงาน
สถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท จะเป็นข้อมูลท่ีสำคัญ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคม
ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้นำไปใช้ในการกำหนดแผนงาน โครงการต่างๆ รวมทั้ง
แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนชัยนาท และขอขอบคุณทุกหน่วยงาน องค์กรภาคีเครือข่ายที่
สนับสนุนข้อมูลทำให้การจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ประสบความสำเร็จ อันจะ
กอ่ ให้เกิดประโยชน์ในการพฒั นาสังคมของจงั หวัดชัยนาท ตอ่ ไป

สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวัดชยั นาท

30 มถิ นุ ายน 2565

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕



บทสรุปผู้บริหาร

กระทรวงการพัฒ นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นองค์กรหลักในการขับเคลื่อน
การพัฒนาสังคม นำไปสู่สังคมที่ดีงามและอยู่เย็นเป็นสุข โดยมียุทธศาสตร์ในการพัฒนาสวัสดิการสังคมและ
สร้างความม่ันคงในการดำรงชีวิต ส่งเสรมิ การขับเคล่ือนการพัฒนาป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมเสริมพลัง
และสร้างการมีส่วนร่วม รวมท้ัง ส่งเสริมระบบการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล จึงได้มอบหมายให้
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท จัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด
เป็นประจำทุกปี โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 รัฐบาลได้ให้ความสำคัญของข้อมูลด้านการพัฒนาสังคม
เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสะท้อน
ถึงปัญหา และเห็นภาพรวมของสังคมเพ่ือร่วมกันหาแนวทางในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดข้ึน
ในจังหวดั ชัยนาท

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูล
สถานการณ์ทางสังคมจังหวัด (สคจ) เป็นประจำทุกปี โดยใช้แบบจัดเก็บข้อมูล เพ่ือแก้ไขปัญหาให้กับผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมในพื้นท่ีตามกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน สตรีและครอบครัว ผู้สูงอายุ คนพิการ
คนเร่ร่อน คนไร้ที่พึ่งและผู้แสดงความสามารถ ค้ามนุษย์ และท่ีอยู่อาศัยชุมชนผู้มีรายได้น้อยให้ ครอบคลุม
กลุ่มเป้าหมายตามภารกิจของกระทรวงฯ ซ่ึงจังหวัดชัยนาท มีจำนวนประชากร จำนวน 320,432 ราย
เป็นชาย 153,962 ราย เป็นหญิง 166,470 ราย (ข้อมูลปกครองจังหวัดชัยนาท เดือนธันวาคม 2564)
โดยมีผู้ลงทะเบียนโครงการเพ่ือสวัสดิการแห่งรัฐ จากกระทรวงการคลัง จำนวน 65,9 01 ราย จำนวน
ครัวเรือน ๘9,139 ครัวเรือน เด็กอายุต่ำกว่า ๑๘ ปีบริบูรณ์ จำนวน 55,384 คน ร้อยละ 17.28
เยาวชนอายุ ๑8 ปี ถึง ๒๕ ปี จำนวน 29,426 คน ร้อยละ 9.18 ประชากรอายุ ๒6 ปี ถึง 59 ปี
จำนวน 157,991 คน ร้อยละ 49.30 ผู้สูงอายุ ๖0 ปีขึ้นไป จำนวน 77,631 คน ร้อยละ 24.22
(ท่มี า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564)

ค น พิ ก า รจั งห วั ด ชั ย น า ท จ ำน ว น 1 3 ,8 9 6 ค น ร้ อ ย ล ะ 4 .3 3 แ ย ก เป็ น เพ ศ ช า ย
จำนวน 6,714 คน ร้อยละ 48.31 เพศหญิง จำนวน 7,182 คน ร้อยละ 51.68 คนพิการแยกประเภท
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 พิการทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหว 7,770 คน ร้อยละ 55.91
พิการทางการได้ยิน/ส่ือความหมาย 3,069 คน ร้อยละ 22.08 พิการทางการเห็น 889 คน ร้อยละ 6.39
พิการทางจิตใจและพฤติกรรม 815 คน ร้อยละ 5.86 พิการทางสติปัญญา 804 คน ร้อยละ 5.78
พิการซ้ำซ้อน จำนวน 450 คน ร้อยละ 3.23 พิการออทิสติก 56 คน ร้อยละ 0.40 พิการทางการเรียนรู้
43 คน ร้อยละ 0.30 (ที่มา : ศนู ยบ์ ริการคนพกิ ารจงั หวดั ชัยนาท ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2565)

การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามภารกิจของ พม. ในการดูแล และพัฒนาคน ตลอดทุกช่วงวัย
เป็นภารกิจที่มีความเชื่อมโยงกันหลายๆหน่วยงานหรือหลายกระทรวงในหลากหลายมิติ ซึ่งไม่สามารถจะ
ดำเนินการได้เพียงหน่วยงานเดียว จึงจำเป็นต้องมีการบูรณาการ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องใน
การประสานงานการทำงานร่วมกัน เพ่ือผลักดันภารกิจในการพัฒนาคนและสังคม ให้มุ่งไปสู่เป้าหมาย
ของความอยู่ดมี สี ุขอยา่ งย่งั ยนื สืบไป

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัดชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

ค หน้า
1
สารบัญ 2
2
ส่วนท่ี ๑ บทนำ 2
๑.๑ หลกั การและเหตุผล
๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์ 3
๑.๓ วิธีดำเนินงาน 3
๑.๔ ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 3-4
4
สว่ นท่ี ๒ ขอ้ มลู พ้นื ฐานในพนื้ ทรี่ ับผดิ ชอบของจังหวดั ชัยนาท 4-5
๒.๑ ทต่ี ง้ั และอาณาเขต 5-7
๒.๒ ลักษณะภมู ปิ ระเทศ 7-8
๒.๓ ลกั ษณะภมู ิอากาศ 9-10
๒.๔ ดา้ นการปกครอง 11-12
๒.๕ ดา้ นประชากร 13
๒.๖ ด้านศาสนา ประเพณี วฒั นธรรมและชาติพันธ์ุ 14-15
๒.๗ ดา้ นสาธารณสุข 16
๒.๘ ดา้ นการศึกษา
๒.๙ ด้านแรงงาน 17
๒.๑๐ ด้านท่อี ยอู่ าศัย 18
๒.๑๑ ด้านเศรษฐกจิ 18
๒.๑๒ ดา้ นภาคีเครือขา่ ย 19
19
ส่วนท่ี ๓ สถานการณ์กลุม่ เปา้ หมายทางสังคมระดบั จงั หวัดชัยนาท 20
๓.๑ กลุ่มเด็ก 21
๓.๒ กลุ่มเยาวชน
๓.๓ กลมุ่ สตรี 22-23
๓.๔ กลมุ่ ครอบครวั 23-24
๓.๕ กลมุ่ ผู้สงู อายุ
๓.๖ กล่มุ คนพิการ
๓.๗ กลมุ่ ผูด้ อ้ ยโอกาส

ส่วนที่ ๔ สถานการณ์เชงิ ประเดน็ ทางสังคมในระดบั จงั หวัดชัยนาท
๔.๑ สถานการณ์กลมุ่ เปราะบางรายครวั เรือน
๔.๒ สถานการณ์ภายใต้การระบาดของ COVID-19

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั ชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

ง 25-26

สารบัญ (ตอ่ ) 27
28
ส่วนที่ ๕ การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั ชยั นาท 28
สว่ นท่ี ๖ บทสรปุ และข้อเสนอแนะ

๖.๑ บทสรปุ
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
๖.๓ ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัตริ ะดับจงั หวัดชยั นาท

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕



สารบญั ตาราง

ตารางที่ ๒.๑ แสดงทต่ี ั้งและอาณาเขตพื้นที่จงั หวัดชยั นาท 3
ตารางท่ี ๒.2 แสดงจำนวนเขตการปกครองพื้นทจี่ ังหวดั ชัยนาท 4
ตารางท่ี ๒.๓ แสดงจำนวนประชากรแยกตามชว่ งอายุ จำแนกตามเพศ และจังหวดั 4
ตารางท่ี ๒.4 แสดงจำนวนหนว่ ยบริการสาธารณสุขภาครฐั และภาคเอกชนจังหวดั ชยั นาท 7
ตารางท่ี ๒.5 แสดงจำนวนประชากรต่อแพทย์รายจังหวัดชยั นาท 8
ตารางที่ ๒.6 แสดงสาเหตุการตาย ๕ อันดบั แรกจากโรคต่างๆ จงั หวัดชัยนาท 8
ตารางที่ 2.7 จำนวนนกั เรียนนักศกึ ษาในระบบจำแนกตามระดับช้ัน ปี พ.ศ. ๒๕๖4 9
ตารางท่ี 2.8 สถานการณ์ศกึ ษาในระบบนอกระบบจำแนกรายสงั กัดจงั หวดั ชยั นาทปีการศกึ ษา2564 9
ตารางท่ี 2.9 ภาวสถานการณม์ งี านทำของประชากรในจงั หวดั ชยั นาท ไตรมาส 1 (มกราคม - มีนาคม 2565) 11
ตารางท่ี 2.10 แสดงจำนวนชุมชนผ้มู ีรายไดข้ องจงั หวัดชัยนาท พ.ศ. 2565 13
ตารางที่ 2.11 แสดงการขยายตัวของผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ชัยนาท 14
ตารางที่ 2.12 แสดงจำนวนองค์กรภาคเี ครือข่าย
ตารางท่ี 3.๑ แสดงสถานการณ์เด็กจำแนกตามจังหวัด 16
ตารางที่ 3.๒ แสดงสถานการณเ์ ยาวชนจำแนกตามจังหวดั
ตารางที่ 3.๓ แสดงสถานการณก์ ลุ่มสตรจี ำแนกตามจังหวัดชัยนาท 17
ตารางที่ 3.๔ แสดงสถานการณ์กลุม่ ครอบครวั จำแนกตามจังหวดั ชัยนาท 18
ตารางที่ 3.๕ แสดงสถานการณผ์ ู้สงู อายุจำแนกตามจังหวัด 18
ตารางท่ี 3.๖ แสดงสถานการณค์ นพิการจำแนกตามจังหวัด 19
ตารางท่ี 3.๗ แสดงสถานการณก์ ลุม่ ผดู้ ้อยโอกาสจำแนกตามจงั หวัดชยั นาท 19
ตารางท่ี 4.1 สถานการณ์กลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น 20
ตารางท่ี 4.2 สถานการณภ์ ายใตก้ ารแพร่ระบาดของเชอื้ COVID -19 21
22
23

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕



สารบญั แผนภมู ิ

แผนภมู ทิ ี่ แสดงจำนวนประชากรในเขตพนื้ ท่ีจังหวดั ชัยนาท แยกตามอายุ 5
แผนภูมิ แสดงหน้สี ินเฉล่ียตอ่ ครวั เรือนจำแนกตามวตั ถุประสงคข์ องการกยู้ ืม พ.ศ. ๒๕๖4 15

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕



สว่ นท่ี ๑

บทนำ

๑.๑ หลักการและเหตุผล
ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖

มีสาระสำคัญเกี่ยวข้องกับการบูรณาการ โดยกำหนดว่า “ในกรณีท่ีภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วน
ราชการหรอื เป็นภารกจิ ที่ใกล้เคียงหรอื ต่อเนื่องกัน ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวขอ้ งนั้นกำหนดแนวทางปฏิบตั ิราชการ
เพ่ือให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ”
(มาตรา 10 วรรค 1) ในทางปฏิบัติแม้ว่าจะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจที่มี
ความสำคัญหลายเร่ือง แต่ยังเกิดปัญหาความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติในหลายๆ ภารกิจ เป็นผลให้เป็นการ
สน้ิ เปลืองทรัพยากรเปน็ อย่างมาก การปฏิรูปงบประมาณประเทศจาก “ระบบงานงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์”
สู่ “ระบบงบประมาณเชิงพื้นท่ี” (Arae-Based Budgeting : ABB) ซ่ึงเป็นแนวคิดของการทำงบประมาณ
แบบมีส่วนร่วม (Participatory Budgeting) โดยมีการฟังเสียงประชาชนในพ้ืนที่ มีกระบวนการทำแผนพัฒนา
จากล่างข้ึนบนตั้งแต่แผนชุมชนจนถึงแผนจังหวัด และให้หน่วยงานทั้งภูมิภาคและท้องถ่ินร่วมกันกล่ันกรอง
ทำให้งบประมาณสามารถใช้ให้ตรงกับปัญหาความต้องการของคนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ซง่ึ เป็นท้ังกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลการใช้งบประมาณแผ่นดิน การมีส่วนร่วมของประชาชนใน
การบริหารจัดการตนเอง การสร้างความโปร่งใสและธรรมาภิบาล การควบคุมพฤติกรรมนักการเมืองโดย
ประชาชนในพ้ืนท่ีและการบูรณาการการทำงานของหน่วย Function และหน่วย Area ที่อยู่ในพื้นที่ร่วมกัน
ซงึ่ ตามแผนปฏริ ูปกำหนดให้เริม่ ต้ังแตป่ ีงบประมาณ ๒๕๔๘

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาทในฐานะหน่วยงานด้านสังคม
ที่สำคัญในการขับเคลื่อนงานด้านสังคม พิทักษ์และคุ้มครองสิทธิแก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น เด็ก เยาวชน สตรี
คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส เป็นต้น เพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการด้านสังคมจากหน่วยงานรัฐ และ
ภาคเอกชน และสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิศรีรวมทั้งผลักดันให้เกิดการป้องกันและแก้ไขปัญหา
สังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อมุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพ้ืนฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ชัยนาท จึงได้จัดทำรายงานสถานการณ์
ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ประจำปี 256๕ ข้ึน เพื่อรวบรวม วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลด้านสังคม
ในจังหวัดประกอบด้วยสถิติการให้บริการท่ีเป็นปัจจุบัน ทันต่อสถานการณ์ ครอบคลุมทั้งข้อมูล
เชิงกลมุ่ เป้าหมาย ขอ้ มูลเชงิ ประเด็น ขอ้ มูลจากระบบสารสนเทศของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคง
ของมนุษย์ข้อมูลด้านสังคมจากหน่วยงานแวดล้อมกระบวนงาน ข้อมูลท่ีบ่งช้ีถึงสถานการณ์ทางสังคมตัวชี้วัด
ท่ีเป็นสากล รวมท้ังสถานการณ์ทางสังคมอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง และข้อเสนอแนะในการป้องกัน แก้ไขปัญหา
ทัง้ ในเชงิ นโยบายและปฏบิ ตั ิอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล



๑.๒ วัตถุประสงค์
๑.๒.๑ เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้น ในเขตพื้นท่ี

รบั ผดิ ชอบของจังหวัดชัยนาท
๑.๒.๒ เพ่ือคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของจังหวัด

ชยั นาท
๑.๒.๓ เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาทางสงั คมในเขตพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบของจังหวดั ชัยนาท

๑.๓ วิธกี ารดำเนนิ งาน
1.3.1 มีหนังสือชี้แจงแนวทางและกำหนดรูปแบบการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมในระดับ
จังหวัด ประจำปี ๒๕๖๕
1.3.2 สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ งั หวัด ดำเนนิ การจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสงั คม
จงั หวดั
1.3.3 นำเสนอรายงานฯ ให้สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ – ๑๑ เพื่อนำข้อมูลไปจัดทำรายงาน
สถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดและขับเคล่ือนโครงการระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด รวมถึง
นำเสนอรายงานฯ ให้กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เพื่อนำข้อมูลไปจัดทำรายงาน
สถานการณท์ างสงั คมระดบั ประเทศ
1.3.4 ประชมุ ถอดบทเรยี นการจัดทำรายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัด ประจำปี ๒๕๖๕
1.3.5 เผยแพร่และประชาสมั พันธ์การนำไปใช้ประโยชนผ์ ่านช่องทางต่าง ๆ
๑.๔ ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับ
1.4.1 มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับพ้ืนที่ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถใช้ประโยชน์
ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาสงั คม
1.4.2 หน่วยงานระดับท้องถิ่นและระดับจังหวัด สามารถนำข้อมูลในพ้ืนท่ีไปใช้ในการกำหนดนโยบาย
แผนงาน โครงการ ในการคุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางสังคมในระดับพื้นท่ี และหน่วยงานระดับ
กระทรวง สามารถนำข้อมูลในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาทางสังคมท่ีสำคัญและ
กำหนดนโยบาย แผนงานในการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาสงั คมภาพรวมต่อไป

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕



สว่ นท่ี ๒

ขอ้ มูลพน้ื ฐานในพ้นื ทีจ่ งั หวัดชยั นาท

๒.๑ ทต่ี ัง้ และอาณาเขต

ตาราง แสดงที่ตง้ั และอาณาเขตพน้ื ทจี่ งั หวดั ชัยนาท

จังหวดั พนื้ ที่ ไร่ จำนวนประชากร ความหนาแน่น
ตารางกโิ ลเมตร (คน) ของประชากร
(ตร.กม./คน)
ชัยนาท 2,469.746 1,543,591 320,432
1 : 131

รวม

ทีม่ า ..กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.....ข้อมูล ณ วันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔

๒.๒ ลักษณะภูมิประเทศ

จังหวัดชัยนาทมีลักษณะภูมิประเทศ โดยท่ัวไปเป็นพื้นที่ราบลุ่มมีพ้ืนที่ประมาณ 99.06 ของพ้ืนท่ี
ท้งั หมด ได้แก่ พ้นื ทตี่ อนกลางตอนใตแ้ ละตะวนั ออกของจังหวัดมีลักษณะเป็นท่ีราบจนถึงพื้นทีล่ ูกคล่นื ลอนลาด
มแี มน่ ำ้ เจา้ พระยา แม่นำ้ ทา่ จนี แมน่ ำ้ น้อย ไหลผา่ นพ้ืนทต่ี ่าง ๆ ท่ัวทุกอำเภอ เช่น

• แม่นำ้ เจา้ พระยา ไหลผา่ นอำเภอมโนรมย์ วัดสงิ ห์ เมืองชัยนาท และสรรพยา
• แมน่ ำ้ ท่าจีน หรือแม่นำ้ มะขามเฒา่ ไหลผา่ นอำเภอวัดสิงห์ และหนั คา
• แม่น้ำน้อย ไหลผา่ นอำเภอสรรคบรุ ี
• คลองชลประทาน ซ่ึงมีหลายสายไหลผ่านพ้ืนที่ต่าง ๆ ได้แก่ คลองอนุศาสนนันท์ คลองมหาราช

คลองพลเทพ เปน็ ตน้ ลว้ นเป็นแหลง่ น้ำสำคญั สำหรบั การเกษตรกรรมตามพื้นทตี่ ่าง ๆ ท่ัวไป
นอกจากลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นท่ีราบแล้ว ยังมีเนินเขาเล็ก ๆ ขนาดประมาณ 1 – 3 กิโลเมตร
กระจ่ายอยู่ทั่วไปทีส่ ำคัญได้แก่ เขาธรรมามลู ซ่งึ ถือเปน็ สัญลักษณส์ ำคญั ของจังหวดั ชัยนาท เขาพลอง เขาขยาย
เขากระด่ี เขาใหญ่เขารัก เขาดิน เขาหลัก เขาไก่ห้อย เขาสารพัดดี เขาราวเทียน เขาสรรพยา และเขาแก้ว
เปน็ ต้น

๒.๓ ลกั ษณะภูมิอากาศ

พ้ื น ที่ จั งห วั ด ชั ย น าท อ ยู่ ภ าย ใต้ อิ ท ธิพ ล ข อ งม รสุ ม 2 ช นิ ด คื อ ม รสุ ม ต ะ วัน อ อ ก เฉี ย งเห นื อ
ซงึ่ พัดจากทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือปกคลุมในช่วงฤดูหนาว ทำให้จงั หวดั ชยั นาทประสบกับสภาวะหนาวเย็นและ
แหง่ กับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใตท้ มี่ าจากบรเิ วณมหาสมทุ รอินเดีย ซ่ึงพัดปกคลุมในช่วงฤดู
ฝนทำใหม้ ีฝนและอากาศชุ่มชื้น จงั หวดั ชัยนาทสามารถแบ่งฤดูกาลออกได้ 3 ฤดู คือ

1) ฤดูหนาว เรม่ิ ตัง้ แต่กลางเดือนตลุ าคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูมรสุมะวันออกเฉยี งเหนือ
บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนท่ีมีคุณสมบัติเย็นและแห่งจะแผ่ลงมาปกคลุม
ประเทศไทยในช่วงนี้ แต่เน่ืองจากจังหวัดชัยนาทอยู่ในภาคกลางอิทธิพลของบริเวณความกดอากาศสูงจาก
ประเทศจีนท่ีแผ่ลงมาปกคลุมในช่วงฤดูหนาวจะช้ากว่าภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้มีอากาศ
หนาวเย็นช้ากว่าสองภาคดังกล่าวโดยเร่ิมมีอากาศหนาวเย็นประมาณกลางเดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไป ซ่ึง
อากาศหนาวท่สี ดุ จะอยรู่ ะหวา่ งเดอื นธนั วาคม และ มกราคม

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕



2) ฤดูร้อน เร่ิมเมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือส้ินสุดลงคือประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึง
กลางเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นช่วงว่างจากลมมรสุม ลมที่พัดปกคลุมจะเปล่ียนเป็นลมตกหรือลมตะวันออกเฉียง
ใต้ และจะมีหยอ่ มความกดอากาศตำ่ เนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบนทำใหม้ ีอากาศรอ้ นอบอ้าว
ทว่ั ไป โดยมอี ากาศร้อนจดั ในเดอื นเมษายน

3) ฤดฝู น เร่มิ ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดอื นตลุ าคม เปน็ ชว่ งท่ีมรสุมตะวนั ตกเฉียง
ใต้พัดปกคลุมประเทศไทย รอ่ งความกดอากาศต่ำหรือร่องฝนท่พี าดผา่ นบริเวณภาคใตข้ องประเทศไทยจะเลื่อน
ข้ึนมาพาดผ่านบริเวณภาคกลางและภาคเหนือเป็นลำดับในระยะน้ีทำให้มีฝนตกชุกขึ้นต้ังแต่กลางเดือน
พฤษภาคมเป็นตน้ ไป เดือนกนั ยายน เป็นเดอื นทีม่ ฝี นตกชุกมากทีส่ ดุ ในรอบปีและเปน็ ช่วงท่ีมีความชื้นสูง

๒.๔ ข้อมูลการปกครอง

ตาราง แสดงจำนวนเขตการปกครองพน้ื ท่ีจังหวัดชยั นาท

(หนว่ ย:แห่ง)

จังหวดั อำเภอ ตำบล หม่บู า้ น อบจ. เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต.
นคร เมือง ตำบล
ชยั นาท 8 51 505 1 20
รวม - 1 38

ทมี่ า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, วันท่.ี ..๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔

แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 อําเภอ 51 ตําบล 505 หมูบ้าน 39 เทศบาล (1 เทศบาลเมือง
38 เทศบาลตาํ บล) และ 20 องคก์ ารบรหิ ารสวนตาํ บล

๒.๕ ด้านประชากร

ตาราง แสดงจำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จำแนกตามเพศ จังหวดั ชัยนาท

(หน่วย : คน)

อายุ ๐-๑๗ ปี อายุ ๑๘ – ๒๕ ปี อายุ ๒๖ – ๕๙ ปี อายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไป

จังหวดั ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม

ชยั นาท 28,536 26,848 55,384 14,770 14,656 29,426 77,677 80,314 157,991 32,979 44,652 77,631

รวม

ทม่ี า: ระบบสถติ ิทางทะเบียน กรมการปกครอง ขอ้ มูล ณ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔

ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2551 - 2564 พบว่า มีจํานวนประชากรโดยเฉลี่ย 320,432 คน
เพศชาย ร้อยละ 48.04 เพศหญิง ร้อยละ 51.95 ผลต่างประชากรเพศชายน้อยกว่าเพศหญิง โดยเฉลี่ย
จํานวน 12,288 คน ประชากรมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยอย่างต่อเนื่อง สบื เนื่องมาจากการเกิดน้อยลงการย้าย
ออก มีแนวโน้มมากขึ้น ขนาดของประชากรต่อพื้นท่ี พบว่า อําเภอสรรคบุรี มีประชากรหนาแน่นมากที่สุด
อตั ราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 173 คน รองลงมาคืออําเภอสรรพยา อัตราส่วน 1 ตารางกโิ ลเมตร
ต่อ ประชากร 136 คน และอําเภอมโนรมย์ อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 106 คน อําเภอที่มี
ประชากรหนาแน่นน้อยทสี่ ดุ คอื อาํ เภอเนินขาม อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 40 คน

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั ชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕



รองลงมา คืออําเภอหนองมะโมง อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 44 คนและอําเภอวัดสิงห์
อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 70 คนเทศบาลที่มีประชากรต่อพื้นที่หนาแน่นมากที่สดุ คือเทศบาล
ตําบลหันคา อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 2,195 คนรองลงมาคือเทศบาลโพธิ์พิทักษ์
อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 2,068 คนและเทศบาลเมืองชัยนาท อัตราส่วน1 ตารางกิโลเมตร
ต่อประชากร 1,900 คน เทศบาลที่มีประชากรหนาแน่นน้อยท่ีสุดคือเทศบาลตําบลเนินขาม อัตราส่วน 1
ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 47 คน รองลงมาคือเทศบาลตําบลวังตะเคียน อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตร
ต่อประชากร 69 คนและเทศบาลตาํ บลหนองแซง อตั ราสว่ น 1 ตารางกโิ ลเมตรต่อประชากร 69 คน

แผนภมู ิที่ แสดงจำนวนประชากรในเขตพน้ื ที่จังหวดั ชยั นาท แยกตามอายุ

อายุ 60 ปีขนึ้ ไป 44,652

32,979

อายุ 26 - 59 ปี 80,314
77,677

อายุ 18- 25 ปี 14,656
14,770

อายุ 0- 17 ปี 26,848
0 28,536

10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 90,000 100,000
หญิง ชาย

๒.๖ ดา้ นศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม และข้อมูลชาติพันธ์

เมืองชัยนาทเป็นเมืองโบราณ ตัวเมืองเดิมต้ังอยู่ตรงทางแยกฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยาท่ีปากน้ำ
เมืองสรรค์ (ปากคลองแพรกศรีราชาใต้ปากลําน้ำเก่า) เมืองนี้ต้ังขึ้นภายหลังเมืองพันธุมวดี (สุพรรณบุรี)
เป็นเมือง หน้าด่านของกรุงสุโขทัยจากศิลาจารึกสมัยพ่อขุนรามคําแหงมีแตชื่อเมืองแพรก สวนเมืองชัยนาท
เพ่ิงมาปรากฏใน รัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 1890 ซึ่งเป็นที่พระเจ้าเลอไทสวรรคต
กรุงสุโขทัยเกิดการแย่งชิงราช สมบัติสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ทรงเห็นเป็นโอกาสเหมาะ จึงยกกองทัพเข้ายึด
เมืองชัยนาท หลังจากพระยาลิไท ข้ึนครองราชย์ ทางกรุงศรีอยุธยาซ่ึงสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 ได้สถาปนาให้
เป็นราชธานีมีกําลังเข้มแข็งมาก จึงได้ โปรดให้ขุนหลวงพะง่ัวซ่ึงครองเมืองสุพรรณบุรียกทัพมาตีเมืองชัยนาท
ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านของกรุงสุโขทัย เมือง ชัยนาทจึงตกเป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา โดยมีขุนหลวงพะง่ัว
เป็นผู้รักษาเมือง เม่ือกรุงสุโขทัยสงบแล้วพระยา ลิไทได้ส่งทูตมากรุงศรีอยุธยา เพื่อเจรจาขอเมืองชัยนาทคืน
ให้แก่กรุงสุโขทัย โดยจะยอมให้เป็นอิสระและ มีสัมพันธไมตรีต่อกัน กล่าวคือ ต่างฝ่ายต่างก็มีอิสระต่อกัน
ในที่สุดกรุงศรีอยุธยาได้คืนเมืองชัยนาทให้แก่ กรุงสุโขทัย นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าการท่ีแคว้นกัมพุช
(ลพบุรี) เข้าร่วมมือในการรบ ประกอบกับกรงุ ศรี อยุธยากาํ ลังสถาปนาไดไ้ ม่นาน ถ้ามีศึกขนาบสองดา้ นจะสร้าง
ปัญหาให้ไม่น้อย ด้วยเหตุผลน้ีเองท่ีทําให้กรุงศรี อยุธยาคืนเมืองชัยนาทแก่กรุงสุโขทัยโดยดี อยางไรก็ตาม
ปัญหาเรื่องเมืองชัยนาท ระหว่างกรงุ สุโขทัยกบั กรงุ ศรีอยุธยาก็หาได้ยุตไิ ม่ เพราะใน ปี พ.ศ. 1912 สมเดจ็ พระ
รามาธิบดีที่ 1 เสด็จสวรรคตทําให้สถานการณ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับกรุงสุโขทัยกลับตึงเครียดข้ึนอีก

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕



เม่ือขุนหลวงพะง่ัวขึ้นครองราชย์แล้วได้เสด็จยกทัพมาโจมตีกรุงสุโขทัย ในปี พ.ศ. 1914 แต่ไม่มี
ฝ่ายใดเป็นฝ่ายชนะสงครามยืดเยื้อกันมาเป็นเวลานานจนขุนหลวงพะง่ัวเสด็จสวรรคต นักประวัติศาสตร์
เขา้ ใจว่า เมอื งชัยนาทกลับเป็นเมืองขน้ึ ของกรุงศรีอยุธยาอกี คร้ัง เพราะจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พอสรุป
ได้ว่า เมือง ชัยนาทแต่เดิมเป็นเมืองลูกหลวงสมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระนครินทราธิราช
โอรสองค์ท่ี 5 ของ ขุนหลวงพระง่ัว พระองค์เข้าพระทัยว่าในการข้างหน้ากรุงสุโขทัยจะต้องไม่มีเช้ือพระวงศ์
สุโขทัยปกครองอีกตอไป เพื่อที่จะให้ราชโอรสท้ัง 3 ของพระองค์ได้ครอบครองหัวเมืองฝ่ายเหนือ และคุ้นเคย
กับการปกครองบ้านเมือง จึงโปรดให้โอรสองค์ใหญ่ ซึ่งทรงพระนามว่าเจ้าอ้ายพระยาไปครองเมืองสุพรรณบุรี
เจ้ายี่พระยา โอรสองค์ที่ 2 ไปครองเมือง แพรก หรือ ตรัยตรึงษ์ (อําเภอสรรคบุรีในปัจจุบันน้ี) เจ้าสามพระยา
โอรสองค์ที่ 3 ไปครองเมืองชยั นาท

ต่อมาเมื่อสมเด็จพระนครินทราธิราชเสด็จสวรรคต ความทราบถึงเจ้าย่ีพระยาก่อนจึงได้ เตรียมการที่
จะข้ึนครองกรุงศรีอยุธยาสืบแทนต่อจากพระราชบิดา ฝ่ายเจ้าอ้ายพระยาเม่ือสืบทราบว่า พระราช อนุชายก
กองทัพไปกรุงศรีอยุธยาเพ่ือต้องการจะครอบครองราชย์สมบัติ จึงรีบยกกองทัพไปบ้าง ประสงค์จะข้ึน
ครองราชย์สมบัติเช่นกัน กองทัพทั้งสองพบกันท่ีตําบลปาถาน แขวงกรุงศรีอยุธยา จึงเกิดรบพุงกัน ในที่สุดก็
ส้ินพระชนม์ลงท้ังสองพระองค์พร้อมกันด้วยการกระทํายุทธหัตถี ฝ่ายเจ้าสามพระยา ซึ่งขณะนั้นครองเมือง
ชัยนาทอยู่ เม่ือสมเด็จพระเชษฐาส้ินพระชนม์ท้ังสอง พระองค์แล้ว จึงได้ข้ึนเสวยราชย์ครองกรุงศรีอยุธยาสืบ
แทนพระราชบิดาทรงพระนามว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 พ.ศ. 1994 พระเจ้าติโลกราช ครองเมือง
เชียงใหม่ยกทัพมาตีเมืองกําแพงเพชรได้แล้ว ส่งกําลัง เข้ามากวาดต้อนผู้คนถึงเมืองชัยนาท เข้าใจว่าเมือง
ชัยนาทจะถูกทิ้งให้เป็นเมืองร้างในคราวนั้นเอง ข้อมูลทั่วไป 2 เวลาได้ล่วงมาได้ประมาณ 100
ปีเศษ ถงึ รัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดคิ รองกรงุ ศรอี ยุธยา ทรงสะสมอาวธุ ยุทธภัณฑ์ เพื่อเตรยี มตอ่ สกู้ ับพม-
า จึงเสด็จข้ึนไปกระทําพระราชพิธีมัธยมกรรมท่ีตําบลชัยนาทบุรี แล้วต้ังเมืองชัยนาทขึ้นใหม่ทาง
ฝ่ังตะวันออกของแมน้ำเจ้าพระยา ฝ่ังตรงข้ามกับตัวเมืองเดิม พ.ศ. 2127 พระเจ้าเชียงใหม่ (มังนรธาชอ)
ได้ยกกองทัพหลวงมาตั้งที่เมืองชัยนาท คร้ันทัพหน้าที่เข้า มาต้ังที่ปากคลองบางพุทราถูกพระราชมนูตีถอย
กลับไปแล้ว พระเจ้าเชียงใหม่ก็ถอยทัพไปตั้งท่ีกําแพงเพชร ตามหลักฐานของกรมศิลปากร จังหวัดชัยนาทเป็น
เมอื งสาํ คัญเมืองหน่งึ ในสมยั กรงุ ธนบุรี

เม่ือปี พ.ศ. 2319 ตรงกับวันเสาร์ เดือน 9 ข้ึน 12 ค่ำ (วันท่ี 28 กรกฎาคม 2319) พระเจ้ากรุง
ธนบุรี ได้ยกกองทัพขึ้นมา ขับไล่ ซึ่งกําลังรบติดพันกับไทยท่ีนครสวรรค์ เม่ือพระเจ้ากรุงธนบุรีเสด็จมาถึงเมือง
ชัยนาทแลว้ ทพั พมาได้ขา่ ว ก็ตกใจเกรงกลัวจึงละท้ิงค่ายทน่ี ครสวรรค์แตกหนีไปทางเมืองอุทยั ธานี พระเจ้ากรุง
ธนบุรี ทรงยกกองทัพติดตาม ข้าศึก จนถึงบ้านเดิมบางนางบวช แขวงเมืองสุพรรณบุรี และเข้าโจมตีข้าศึกจน
แตกยับเยิน ด้วยเหตุน้ีทางจังหวัด ชัยนาทจึงถือว่าวันท่ี 28 กรกฎาคม เป็นวัน “สถาปนาจังหวัด” โดยที่เมือง
ชยั นาทตงั้ อยู่ทางตอนเหนือของภาคกลางตง้ั อยู่ระหว่างกรงุ สุโขทัยกบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ในยามใดท่ีกรุงสุโขทัยเรือง
อํานาจ ยึดเอาเมืองชัยนาทเป็นเมืองหน้าด่าน แต่ยามใดที่กรุงสุโขทัยเส่ือมอํานาจและกรุงศรีอยุธยา
เจริญรุ่งเรือง เมอื งชัยนาทเป็นเมอื งสะสมอาวุธยุทธภัณฑข์ องกรุงศรอี ยธุ ยาแม้แต่ในสมยั กรุงธนบุรี เมืองชัยนาท
ยังเป็นทีต่ งั้ ทัพหลวงในการทําศึกกบั พม่า ด้วยเหตนุ เ้ี มืองชัยนาทจึงไดร้ ับความกระทบกระเทือนจาก
สงครามอย่างมากเป็นเวลานับร้อยปี ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ได้สร้างศาลากลางจังหวัดขึ้นท่ีตําบลบ้านกล้วย
คร้ันถึงรัชกาลท่ี 5 ได้ ทรงตั้งกองทหารราบที่ 16 ขึ้นที่เมืองชัยนาท ซึ่งเป็นบริเวณที่ต้ังศาลากลางจังหวัด
ปัจจุบัน และเมือ่ กองทหารราบ ที่ 16 ได้ย้ายไปท่ีนครสวรรค์ จึงย้ายศาลากลางไปตัง้ ในบริเวณท่ีเปน็ กองทหาร
ราบท่ี 16 สําหรับเมืองชัยนาทน้ี ได้นามมาแต่เม่ือใดไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่นอน ถ้าแปลความหมายของ
“ชัยนาท” ได้ความว่า เมืองท่ีมีช่ือเสียงในทางความ ‘มีชัย’ เป็นท่ีน่าสันนิษฐานว่าช่ือเมืองชัยนาทนี้คงจะได้
ตั้งข้ึน ภายหลังจาก พ.ศ. 1702 แต่คงไม่ถึง พ.ศ. 1946 กล่าวคือ ขุนเสือ ขวัญฟ้า หรือเจ้าคําฟ้า กษัตริย์
เมืองเมาเข้าทํา สงครามกับอาณาจักรโยนกเจ้าเมืองฟังคํา ซ่ึงเป็นเมืองหน่ึงในอาณาจักรโยนก หลังจากฟังคํา
แตก เจ้าเมอื งฟงั คาํ จึง อพยพผ้คู นลงมาทเ่ี มอื งแปบ (กาํ แพงเพชร)

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวัดชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕



แล้วสร้างเมืองตรยั ตรึงษ์ ที่ตําบลแพรก (ต.แพรกศรีราชาในปัจจุบัน) หลังจากน้ันคงจะได้สร้างเมืองชัยนาทขึ้น
และเหตุที่ตั้งชื่อชัยนาทคงเนื่องจากการรบชนะเจ้าของท้องถ่ินเดิม ส่วนที่ กล่าวว่านามชัยนาทคงจะได้มาก่อน
พ.ศ. 1946 นั้น เน่ืองจากสมเด็จพระนครินทราธิราชได้โปรดให้เจ้าสาม พระยาไปครองเมืองชัยนาท ตาม
ความในประวัติศาสตร์ พอจะเป็นส่ิงที่สันนิษฐานกันได้ว่า คําว่าชัยนาท คงจะได้ ชื่อมาก่อนปี พ.ศ.1946
อย่างไรก็ตาม คําว่า “ชัยนาท” ก็เป็นนามท่ีเป็นสิริมงคลมาแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบัน เพราะชัยนาทก็ยัง
บันลือไปด้วยชัยชนะต่อความอดอยากหิวโหย ยังความผาสุกให้แก่ชาวชัยนาทและจังหวัด ใกล้เคียงตลอดลุ่-
มแม่น้ำเจ้าพระยา แม่นำ้ ทาจีน และแมน่ ้ำน้อย จนถึงปัจจุบนั

๒.๗ ด้านสาธารณสุข

ตาราง แสดงจำนวนหนว่ ยบริการสาธารณสุข ภาครัฐและภาคเอกชน จังหวดั ชัยนาท (หนว่ ย:แหง่ )

จงั หวัด โรงพยาบาลสังกัดภาครัฐ (แห่ง) โรงพยาบาลสงั กัดเอกชน (แห่ง)
รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อน่ื ๆ

ชัยนาท 1 1 7 72 2 1

รวม

ท่มี า HDC Report กระทรวงสาธารณสุข ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2565

หมายเหตุ. รพศ.=โรงพยาบาลศูนย์
รพท. = โรงพยาบาลทว่ั ไป
รพ.สต. = โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล
รพช. = โรงพยาบาลชุมชน อื่น ๆ

1) ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ โรงพยาบาลทั่วไป (รพ.ชัยนาทนเรนทร) ขนาด 348 เตียง
1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 60 เตยี ง 1 แห่ง - โรงพยาบาลสรรคบรุ ี โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตยี ง
1 แห่ง – โรงพยาบาลมโนรมย์ – โรงพยาบาลวัดสงิ ห์ - โรงพยาบาลสรรพยา - โรงพยาบาลหนั คา โรงพยาบาล
ชุมชน ขนาด 10 เตียง 1 แห่ง - โรงพยาบาลหนองมะโมง (เปิดให้บริการผู้ป่วยใน เมื่อวันท่ี 2 เมษายน
2561) โรงพยาบาลชุมชน เปิดบริการเฉพาะผู้ป่วยนอก 1 แห่ง - โรงพยาบาลเนินขาม สถานบริการ
สาธารณสุขของเทศบาล 2 แห่ง - ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองชัยนาท - ศูนย์บริการสาธารณสุข
เทศบาลตาํ บลวดั สิงห์ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตําบล 72 แห่ง

2) หน่วยงานสาธารณสุขที่สังกัดส่วนกลาง - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท 1 แห่ง
3) สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ภาคเอกชน – โรงพยาบาลรวมแพทย์ชัยนาท 1 แห่ง

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั ชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕



ตาราง แสดงจำนวนประชากรตอ่ แพทย์จังหวัดชยั นาท ประชากร ประชากรต่อแพทย์
320,432 220
(หนว่ ย : คน)

จงั หวดั แพทย์
ชยั นาท 1,453
รวม

ทม่ี า : ฐานข้อมลู สารสนเทศ กระทรวงสาธารณสขุ https://hdcservice.moph.go.th/ ขอ้ มูล ณ วันที่ 31 มนี าคม 2565

สัดส่วนประชากรจังหวัดชัยนาท ต่อบุคลากรในสายวชิ าชีพหลักแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล
วชิ าชพี และนักวชิ าการสาธารณสขุ และเจา้ พนกั งานสาธารณสขุ ชุมชน สัดส่วนของจาํ นวนบคุ ลากรสาธารณสุข
ของจังหวัดชัยนาท ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564 พบว่าใน ภาพรวมจังหวัดชัยนาทมีสัดส่วนแพทย์ 1 คน ต่อ
ประชากร 2,519 คน, ทนั ตแพทย์ 1 คน ตอ่ ประชากร 7,097 คน, เภสัชกร 1 คน ตอ่ ประชากร 5,848 คน
พยาบาลวชิ าชีพ 1 คน ต่อประชากร 476 คน และ นวก.สธ./จพ.สธ. 1 คน ต่อ ประชากร 1,244 คน

ตาราง แสดงสาเหตกุ ารตาย ๕ อันดับแรกจากโรคต่างๆ จังหวดั ในเขตพืน้ ท่ีจงั หวัดชัยนาท

(หนว่ ย:คน) โรควัยชรา โรคการติดเชื้อ โรคหวั ใจลม้ เหลว โรคความดนั โรคเสอื่ มของ
22,487 ในกระแสเลอื ด 6,677 โลหิตสูง สมองในวยั ชรา
จงั หวัด
6,860 5,691 3,925
ชยั นาท

รวม

ทีม่ า : ฐานข้อมลู สารสนเทศ กระทรวงสาธารณสุข https://hdcservice.moph.go.th/ ข้อมลู ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2565

สาเหตุการตายจากโรคท่ีสําคัญของจังหวัดชัยนาท ในปี พ.ศ. 2565 ลําดับแรก ได้แก่ โรควัยชรา
โดยมีอัตราตาย จำนวน 22,487 คน รองลงมา ได้แก่ โรคการติดเชื้อในกระแสเลือด, โรคหัวใจล้มเหลว,
โรคความดันโลหิตสูง และโรคเสื่อมของสมองในวัยชรา โดยมีอัตราตาย 6,860, 6,677, 5,691 และ 3,925 คน
ตามลาํ ดับ

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั ชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕



๒.๘ ดา้ นการศกึ ษา

ตารางท่ี 1 สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกัด จังหวัดชัยนาท ปีการศึกษา 256๔

(หน่วย:จำนวน:แห่ง)

รายการสถานศกึ ษา (แหง่ )

จังหวัด ในระบบ นอกระบบ รวม
อาชีวศกึ ษา อุดมศกึ ษา สำนักพุทธ ฯ กศน.
สพฐ. เอกชน ทอ้ งถิน่

ชยั นาท 178 9 4 1 8 1 8 209

รวม

ที่มา : สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ข้อมูล ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2565

จํานวนหนว่ ยงานทางการศกึ ษาในจังหวัดชัยนาท จะพบวา่ สถานศกึ ษาสังกัด สพฐ. มีจาํ นวนมาก และ
มีมากในเขตอําเภอหันคา ซึ่งอาจเน่ืองจากเป็นอําเภอใหญ่ มีพ้ืนท่ี และประชากรมาก ส่วนหน่วยงานทางการ
ศึกษาสงั กัดอ่นื จะมีในเขตอําเภอเมอื งชัยนาทเปน็ ส่วนใหญ่

ตารางที่ 2 จำนวนนักเรียนนกั ศึกษาในระบบ จำแนกตามระดับช้นั ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

(หน่วย:คน)

จังหวดั อนุบาล ประถม ระดบั การศกึ ษา (คน) ป.ตรี รวม
ม.ตน้ ม.ปลาย ปวช. ปวส. 958 43,962

ชัยนาท 6,191 18,925 9,544 4,202 3,188 2,173

ทีม่ า : ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2565

จํานวนนักเรียนรายอําเภอ ของหน่วยงานทางการศึกษาจังหวัดชัยนาท ต้ังแต่ระดับช้ัน
ก่อน ประถมศึกษา จนถึงระดับปริญญาตรี จะเห็นว่า ในเขตอําเภอเมืองชัยนาท มีจํานวนนักเรียนมากกว่า
อําเภออ่ืน อาจเน่ืองจากเป็นอําเภอท่ีอยู่ในเมืองและมีขนาดใหญ่ โดยเฉพาะระดับช้ันประถมศึกษา
จํานวนนักเรียนจะสูงใน อําเภอเมืองชัยนาท ซึ่งอาจเป็นเพราะค่านิยมของนักเรียนและผู้ปกครองที่คิดว่า
โรงเรียนในเมืองจะมีคุณภาพดีกว่า และมีสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาท่ีรองรับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา
ตอนตน้ ได้

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๐

ตาราง จำนวนผ้เู รียนนอกระบบโรงเรียน จำแนกตามระดับการศกึ ษา ปีการศึกษา 2560 - 2564

จงั หวดั ปีการศกึ ษา
ชัยนาท
2560 2561 2562 2563 2564

5,792 5,504 5,504 5,504 4,977

รวม

ท่ีมา : ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2565

จำนวนผู้เรียนนอกระบบโรงเรียน ปีการศึกษา 2560 – 2564 จากปีการศกึ ษา 2561 ลดลงจาก
ปกี ารศกึ ษา 2560 และจำนวนผู้เรียนคงทีจนถงึ ปกี ารศกึ ษา 2563 จากนัน้ ได้มผี ู้เรียนนอกระบบโรงเรียน ใน
ปกี ารศกึ ษา 2564 จากปกี ารศึกษา 2563 ลดลง

ตาราง จำนวนนักเรียนออกกลางคันระดับประถมศึกษา - มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปกี ารศึกษา 2560 - 2564

จงั หวดั ปีการศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564

ชยั นาท 252 505 785 439 327

รวม

ท่มี า : ศูนยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขอ้ มูล ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2565

จำนวนนักเรียนออกกลางคันระดับประถมศึกษา - มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2560 – 2564 พบว่าในปีการศึกษา 2560 ถึง ปี
การศึกษา 2562 เพิ่มขน้ึ และในปีการศกึ ษา 2563 ถึง ปีการศึกษา 2564 ลดลง

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๑

๒.๙ ดา้ นแรงงาน

ตารางท่ี 1 ภาวการณม์ ีงานทำของประชากรในจังหวดั ชัยนาท ไตรมาส 1 (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๕)

(หนว่ ย:คน)

จงั หวดั กำลงั แรงงานในปัจจบุ ัน กำลงั แรงงานทีร่ อ ผไู้ มอ่ ยู่ในกำลังแรงงาน
ชัยนาท
ผู้มีงานทำ ผวู้ า่ งงาน ฤดกู าล ทำงานบา้ น เรียนหนงั สอื อ่ืนๆ

164,492 4,777 110 19,198 16,991 39,954

รวม

ท่ีมา : สำนกั งานสถติ ิแห่งชาติ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2565

กําลงั แรงงานและการมีงานทาํ
จากการสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากรในจังหวัดชัยนาท ของสำนักงานสถิติจังหวัดชัยนาท
พบว่า ประชากรวัยแรงงาน ไตรมาส 1 ปี 2565 จังหวัดชัยนาท มีประชากรท่ีอยู่ในวัยแรงงานหรือผู้ท่ีมี
อายุ 15 ปีข้ึนไป จำนวน 245,521 คน เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงาน 169,379 คน ประกอบด้วย ผู้มีงานทำ
164,492 คน และผู้ว่างงาน 4,777 คน และเป็นผู้อยู่นอกกำลังแรงงาน 76,142 คน การมีงานทำ
ผมู้ งี านทำในจงั หวัดชัยนาท จำนวน 164,492 คน (รอ้ ยละ 97.18) ของผู้อยู่ใน กำลงั แรงงาน เป็นผู้มีงานทำ
ในภาคเกษตร จำนวน 56,400 คน (ร้อยละ 33.29) เป็นผทู้ ำงานนอกภาค เกษตร โดยทำงานสาขาการขาย
ส่ง การขายปลีก ซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ จำนวน 31,165 คน (ร้อยละ 28.83) รองลงมาคือ
การผลิต จำนวน 19,776 คน (ร้อยละ 18.30) และผมู้ ีงานทำส่วนใหญ่ มีการศึกษาระดับอุดมศึกษา จำนวน
39,293 คน (ร้อยละ 23.88) การว่างงาน จังหวัดชัยนาทมีผู้ว่างงาน 4,777 คน หรือมีอัตราการว่างงาน
ร้อยละ 2.82 โดยเป็น เพศชาย จำนวน 2,856 คน (ร้อยละ 59.79) และเพศหญิง จำนวน 1,921 คน
(ร้อยละ 40.21) ของผู้ว่างงานทั้งหมดในจังหวัด แรงงานนอกระบบ จากข้อมูลเบื้องต้น ปี 2564 มีแรงงาน
นอกระบบ จำนวน 115,110 คน ของ ประชากรท่ีมีงานทำโดยส่วนใหญ่จะทำงานในภาคเกษตร จำนวน
58,592 คน (ร้อยละ 50.90) นอกภาคเกษตร จำนวน 56,518 คน (ร้อยละ 49.10) อุตสาหกรรมที่มี
แรงงานนอกระบบสูงสุด คือ เกษตรกรรม จำนวน 58,592 คน (ร้อยละ 50.90) รองลงมา คือ การขายส่ง
การขายปลีก จำนวน 24,463 คน (ร้อยละ 21.25) ส่วนอาชีพท่ีมีการทำงานนอกระบบสูงสุด คือ
ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือด้านเกษตรและประมง จำนวน 51,924 คน (ร้อยละ 45.10) สำหรับด้านการศึกษา
แรงงานนอกระบบสว่ นใหญ่มีการศกึ ษาในระดบั ต่ำกว่า ประถมศกึ ษา จำนวน 39,019 คน (รอ้ ยละ 33.90)

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๒

ตารางท่ี 2 จำนวนคนต่างด้าวที่ไดร้ บั อนญุ าตทำงานคงเหลือ พ.ศ.256๐-256๔ ของจังหวดั ชยั นาท

(หน่วย: คน)

จังหวัด 2560 2561 256๒ 256๓ 2564

ชัยนาท 1,080 745 1,822 1,517 1,633

รวม

ที่มา : สำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 256๔

การใช้แรงงานต่างด้าว จำนวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงาน คงเหลือ จำนวน 1,390 คน
จำแนกเปน็ กลมุ่ ต่าง ๆ ดงั น้ี

1) มาตรา 59 ประเภททั่วไป เป็นแรงงานต่างด้าวเข้าเมืองถูกต้องตามกฎหมายที่ได้รับอนุญาตให้
อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราว ได้แก่ ครู อาจารย์ ผู้เช่ียวชาญ กรรมการผู้จัดการผู้ประสานงาน
ตา่ งประเทศ ล่าม จำนวน 50 คน (ร้อยละ 3.60)

2) ตามมติ ครม. วันที่ 13 กรกฎาคม 2564 จำนวน 1,064 คน (ร้อยละ 76.55)
3) ตามมติครม. เมือ่ วันท่ี 29 ธันวาคม 2564 จำนวน 127 คน (ร้อยละ 9.14)
4) ตามมติ ครม. เมื่อวนั ท่ี 28 กันยายน 2564 จำนวน 130 คน (ร้อยละ 9.35)
5) กลุ่มชาติพันธ์ุจำนวน 19 คน (ร้อยละ 1.37) มติ ครม. คนต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว
กัมพูชา) จดทะเบียน แรงงานต่างด้าว ณ ศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว (One Stop Service:OSS)
จังหวัดชัยนาท จำนวนท้ังสิ้น 1,321 คน จำแนกเป็นแรงงานต่างด้าวสัญชาติเมียนมา จำนวน 926 คน
กมั พชู า จำนวน 288 คน และลาว จำนวน 107 คน

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัดชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๓

๒.๑๐ ดา้ นทอี่ ย่อู าศยั

ตารางท่ี ๒.๑๔ แสดงจำนวนชุมชนผมู้ รี ายได้น้อยของจังหวัดชยั นาท พ.ศ. 2565

(หน่วย:แห่ง:คน)

จังหวดั จำนวน ชุมชนแออัด ชุมชนเมอื ง ชุมชนชานเมอื ง จำนวน จำนวน จำนวน
ชมุ ชน ชุมชน ครวั เรอื น ชมุ ชน ครัวเรอื น ชมุ ชน ครวั เรือน บ้าน ครวั เรอื น ประชากร

ชัยนาท 4 4 143 0 0 0 0 111 143 572

รวม

ท่ีมา : กองยุทธศาสตร์และสารสนเทศท่อี ย่อู าศัย ฝ่ายวิชาการพฒั นาทอ่ี ยูอ่ าศยั การเคหะแห่งชาติ ข้อมูล ณ 31 มนี าคม 2565

ขนาดของประชากรต่อพื้นที่ พบว่า อําเภอสรรคบุรี มีประชากรหนาแน่นมากที่สุด
คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 173 คน รองลงมาคืออําเภอสรรพยา คิดเป็นอัตราส่วน
1 ตารางกิโลเมตรต่อ ประชากร 136 คน และอําเภอมโนรมย์ คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อ
ประชากร 106 คน อําเภอที่มี ประชากรหนาแน่นน้อยที่สุดคืออําเภอเนินขาม คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตาราง
กิโลเมตรต่อประชากร 40 คน รองลงมา คืออําเภอหนองมะโมง คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อ
ประชากร 44 คน และอําเภอวัดสิงห์ คิดเป็น อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร 70 คน เทศบาลท่ีมี
ประชากรต่อพ้ืนท่ีหนาแน่นมากท่ีสุดคือ เทศบาล ตําบลหันคา คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อ
ประชากร 2,195 คน รองลงมาคือเทศบาลโพธ์ิพิทักษ์ คิดเป็น อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร
2,068 คน และเทศบาลเมอื งชัยนาท คดิ เป็นอตั ราส่วน 1 ตารางกิโลเมตร ต่อประชากร 1,900 คน เทศบาล
ท่ีมีประชากรหนาแน่นน้อยที่สุดคือเทศบาลตําบลเนินขาม คิดเป็นอัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรต่อประชากร
47 คน รองลงมาคือเทศบาลตําบลวังตะเคียน คิดเปน็ อัตราส่วน 1 ตารางกิโลเมตรตอ่ ประชากร 69 คน และ
เทศบาลตําบลหนองแซง คิดเปน็ อตั ราสว่ น 1 ตารางกโิ ลเมตรต่อประชากร 69 คน

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๔

๒.๑๑ ดา้ นเศรษฐกิจและรายได้

ผลิตภัณฑ์มวลรวม

ตาราง แสดงการขยายตัวของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดชยั นาท

(หนว่ ย:ร้อยละ)

จงั หวดั อตั ราการขยายตัว GPP (ร้อยละ)

ปี ๒๕๖2 ปี ๒๕๖3 ปี ๒๕๖4
4.2
ชัยนาท 4.2 4.2

ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2565

ตารางท่ี แสดงผลติ ภัณฑจ์ งั หวัดตอ่ หวั (GPP per capita) ปี ๒๕๖๔

จงั หวัด บาทต่อปี

ชยั นาท 271,360

ทมี่ า: ผลติ ภัณฑ์ภาคและจงั หวดั แบบปริมาณลกู โซ่ ฉบบั พ.ศ. 256๔ สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ปี 2563 มลู ค่าสูงสุด 10 อนั ดับแรกส่วนใหญ่อยใู่ นพ้ืนท่ี
ภาคตะวันออก เขตกรุงเทพฯและปริมณฑล และภาคกลาง ยกเว้นจังหวัดภูเก็ตซ่ึงอยู่ในภาคใต้ โดยส่วนใหญ่
เป็นจังหวัดที่มีการผลิตจากภาคนอกเกษตรเป็นหลัก ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการขายส่งและการขาย
ปลกี ฯ สาขากิจกรรมทางการเงินและการประกนั ภยั สาขาทีพ่ ักแรมและบริการด้านอาหาร และสาขาการขนส่ง
และ สถานที่เก็บสินค้า โดยจังหวัดท่ีมีมูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ระยอง
กรุงเทพมหานคร ชลบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา พระนครศรีอยุธยา ภูเก็ต สมุทรสาคร สมุทรปราการ และ
สระบุรี โดยจังหวัดระยองเป็นจังหวัดที่มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสูงที่สุดที่ 988,748 บาทต่อปี ส่วนใหญ่มา
จาก กิจกรรมการผลิตในสาขาอุตสาหกรรม เช่น การผลิตถ่านโค้ก และผลิตภัณฑ์จากการกล่ันปิโตรเลียม
การผลิต เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี การผลติ ผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก เป็นต้น รวมทั้ง สาขาการทำเหมือง
แรแ่ ละ เหมืองหิน ได้แก่ การผลิตน้ำมนั ดิบและก๊าซธรรมชาต

ตาราง แสดงรายไดโ้ ดยเฉลยี่ ตอ่ เดอื นต่อครวั เรือนของจงั หวัดชัยนาท พ.ศ.๒๕๖๐ –๒๕๖๔

(หน่วย:บาท)

จังหวดั ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ ๒๕๖๔

ชัยนาท 26,385.66 23,203.61 21.248.92

ทมี่ า สำนักงานสถติ แิ หง่ ชาติ

รายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือนของจังหวัดชัยนาท พ.ศ. ๒๕60 – ๒๕๖4 จากข้อมูลในปี 2560 มี
จำนวน 26,385.66 บาท ลดลงในอกี 2 ปี เป็นจำนวน 23,203.61 บาท ละไดข้ ยบั ตวั ลดลงภายในอีก 2 ปี
ในปี 2564 เปน็ จำนวน 21,248.92 บาท

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๕

ตาราง แสดงหน้ีสนิ เฉล่ยี ต่อครวั เรอื น จำแนกตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการกยู้ ืม พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

(หนว่ ย:บาท)

จังหวัด วตั ถุประสงค์ของการกยู้ ืม ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ ๒๕๖๔

หน้สี นิ ทัง้ สน้ิ 286,887.83 200,562.23 198,423.13

เพอื่ ใชจ้ า่ ยในครัวเรือน 71,591.75 67,926.57 56,821.15

เพื่อใช้ทำธรุ กิจท่ีไม่ใช่ 54,689.27 35,034.99 33,427.76
การเกษตร

เพื่อใช้ทำการเกษตร 78,729.62 62,158.92 53,244.28

เพ่ือใช้ในการศึกษา 8,971.31 3,251.53 2,152.73

เพ่อื ใช้ซ้ือ/เช่าซื้อบ้านและทด่ี ิน 72,905.89 30,680.52 29,762.33

อืน่ ๆ - 1,509.79 873.02

ทม่ี า สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ
หมายเหต:ุ หนี้อน่ื ๆ ได้แก่ หนจ้ี ากการคำ้ ประกนั บคุ คลอืน่ หนี้ค่าปรบั หรือจา่ ยชดเชยคา่ เสียหายเป็นตน้

แผนภูมิ แสดงหนีส้ ินเฉลี่ยต่อครวั เรือนจำแนกตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการก้ยู ืม พ.ศ. ๒๕๖4

วตั ถปุ ระสงค์ของการกูย้ มื

2,152.73 873.02 เพื่อใช้จ่ายในครัวเรือน
29,762.33 เพ่ือใชท้ าํ ธรุ กิจทไี่ ม่ใชก่ ารเกษตร
เพอ่ื ใชท้ ําการเกษตร
56,821.15 เพ่อื ใชใ้ นการศึกษา
เพอ่ื ใช้ซื้อ/เชา่ ชอื้ บ้านและทีด่ ิน
53,244.28 อ่ืนๆ

33,427.76

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๖

๒.๑๒ ดา้ นภาคเี ครือขา่ ย

ตาราง แสดงจำนวนองค์กรภาคเี ครือข่าย

(หนว่ ย : แห่ง)

องค์กร จำนวน
132
องคก์ รสาธารณประโยชน์ ตาม พ.ร.บ. สง่ เสริมการจดั สวัสดกิ ารสงั คม 75
59
องคก์ รสวสั ดกิ ารชมุ ชน ตาม พ.ร.บ. ส่งเสรมิ การจัดสวสั ดกิ ารสงั คม 68
7
กองทนุ สวัสดกิ ารสังคม 5
15
สภาเดก็ และเยาวชน 59
59
สภาองค์กรคนพกิ าร

ศูนยบ์ ริการคนพกิ ารท่วั ไป

ศนู ย์พัฒนาคุณภาพชีวติ และส่งเสริมอาชีพของผู้สูงอายุ (ศพอส.)

ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)

ศูนย์ชว่ ยเหลือสังคมตำบล (ศชส.ต.)

ทม่ี า สำนักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวัด ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2565

ด้านภาคีเครอื ขา่ ย องค์กรสาธารณประโยชน์ตามพ.ร.บ.ส่งเสรมิ การจัดสวสั ดิการสังคม มีจำนวน
132 แห่ง องค์กรสวัสดิการชุมชนตามพ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม จำนวน 75 แห่ง
กองทุนสวัสดิการสังคม จำนวน 59 แห่ง สภาเด็กและเยาวชน จำนวน 68 คน สภาองค์กรคนพิการ จำนวน
7 แห่ง ศูนย์บริการคนพิการท่ัวไป จำนวน 5 แห่ง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพของผู้สูงอายุ
(ศพอส.) จำนวน 15 แห่ง ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) จำนวน 59 แห่ง ศูนย์ช่วยเหลอื สังคมตำบล
จำนวน 59 แห่ง

ตาราง แสดงจำนวนองคก์ รภาคเี ครอื ข่าย จำนวน
1609
(หน่วย : คน)
400
องค์กร

อาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ (อพม.)

ขอ้ มูลคลงั ปญั ญาผสู้ งู อายุ

ท่มี า สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวดั ข้อมลู ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565

จำนวนองค์กรภาคีเครือข่าย อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.)

จำนวน 1,609 คน ข้อมูลคลงั ปัญญาผูส้ งู อายุ จำนวน 400 คน

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๗

ส่วนท่ี ๓

สถานการณ์กลมุ่ เปา้ หมายทางสงั คมระดับจงั หวดั ชยั นาท

๓.๑ กล่มุ เดก็ (อายตุ ่ำกว่า ๑๘ ปี บรบิ ูรณ)์

ตารางท่ี 3.๑ แสดงสถานการณเ์ ด็ก จังหวัดชยั นาท

(หนว่ ย:คน)

จังหวัด จำนวน (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗)

กลมุ่ เปา้ เดก็ ที่ *เด็กท่ีมี เด็กท่ีถกู เดก็ ทอ่ี ยู่ เด็กที่ ** ***เดก็

หมาย ไดร้ ับเงิน พฤติกรร ทารณุ กรรม ในครอบ ต้งั ครรภ์ เดก็ นอก ไร้

ทง้ั หมด อุดหนุน มไม่ ทางร่างกาย ครัวเลีย้ ง ก่อนวัย ระบบ สัญชาติ

เพื่อการ เหมาะสม จติ ใจและ เดี่ยว อนั ควร

เลย้ี งดู ทางเพศท่มี ี

เด็กแรก การ

เกิด ดำเนินคดี

ชัยนาท 55,137 11,005 11,482 11 0 0 327 0

รวม

หมายเหตุ *เด็กที่มพี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสม หมายถึง
1) ด่ืมเครื่องดม่ื ทีม่ ีแอลกอฮอล์ สบู บหุ รี่และตดิ สารเสพตดิ รา้ ยแรง เชน่ ยาบ้า ยาอี สารระเหย กัญชา เป็นต้น
2) ม่ัวสมุ และทําความรำคาญให้กบั ชาวบ้าน
3) ตดิ เกมส์ และเล่นการพนนั ต่าง ๆ
4) มีพฤติกรรมทางเพศ
5) อน่ื ๆ (ระบ)ุ ..............................................

**เด็กนอกระบบ หมายถึง เด็กท่ีมีอายุอยู่ในช่วงที่ต้องเข้าเรียนในสถานศึกษา แต่ไม่มีโอกาสเข้าเรียนหรือเคยเข้าเรียนแล้ว มี
เหตตุ อ้ งออกจากสถานศึกษาไปกลางคนั และไมไ่ ดก้ ลับเขา้ มาเรยี นอีก (UNESCO, 2019)
***เด็กไร้สัญชาติ หมายถึง เด็กที่ไม่มีสัญชาติใดเลย (ไม่วา่ จะเป็นสัญชาติไทยหรือสญั ชาติรัฐใดๆ) แต่อาจไดร้ ับการระบุตัวตน
ทางกฎหมายในรูปแบบใดรูปแบบหนง่ึ เชน่ ไดร้ ับการจดทะเบียนการเกดิ ได้ขนึ้ ทะเบียนเปน็ บุคคลไรส้ ญั ชาตใิ นกล่มุ ตา่ ง ๆ
แหลง่ ท่มี าของข้อมลู ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2565
(๑) เด็กทไ่ี ดร้ ับเงนิ อดุ หนนุ เพือ่ การเล้ยี งดูเด็กแรกเกดิ ขอ้ มูลจากสำนกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวัด .
(๒) เด็กทมี่ พี ฤติกรรมไมเ่ หมาะสม ข้อมูลจากสำนักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวดั .
(๓) เด็กที่ถูกทารุณกรรมทางรา่ งกายจิตใจและทางเพศที่มกี ารดำเนินคดี ข้อมลู จากสำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์จงั หวดั .
(๔) เดก็ ทอ่ี ยูใ่ นครอบครวั เลยี้ งเดีย่ ว ข้อมูลจากสำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด .
(๕) เด็กที่ตง้ั ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควรและไม่พร้อมในการเลี้ยงดู ทีม่ าจากสำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั

(๖) เด็กนอกระบบ ข้อมลู จากสำนักงานสำนักงานศึกษาธิการจงั หวัด

(๗) เด็กไร้สญั ชาติ ข้อมลู จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

สถานการณเ์ ด็ก จงั หวดั ชัยนาท โดยมีเด็กอายุต่ำว่า 18 ปี บริบูรณ์ จำนวนทัง้ หมด 55,137
คน โดยแยกเป็นสถานการณ์ดังน้ี เด็กท่ีได้รบั เงินอุดหนุนเพ่ือการเลย้ี งดูเด็กแรกเกิด จำนวน 11,005 คน เด็ก
ที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวน 11,482 คน เด็กที่ถูกทารุณกรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศที่มีการ
ดำเนนิ คดี จำนวน 11 คน

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๘

๓.๒ กลมุ่ เยาวชน (อายุ ๑๘-๒๕ ป)ี

ตารางท่ี 3.๒ แสดงสถานการณเ์ ยาวชน จงั หวดั ชยั นาท

(หน่วย:คน)

จังหวดั จำนวนกลมุ่ เป้าหมาย (๑) (๒)
ชยั นาท ทงั้ หมด **เยาวชนท่มี พี ฤตกิ รรม เยาวชนท่ีถกู ทารุณกรรม
ทางร่างกายจิตใจและทางเพศ
29,367 ไมเ่ หมาะสม
0
130

รวม

หมายเหตุ *เยาวชนทม่ี พี ฤติกรรมไม่เหมาะสม หมายถึง
1) ด่มื เครอ่ื งด่ืมท่ีมแี อลกอฮอล์ สูบบุหรี่และติดสารเสพตดิ รา้ ยแรง เชน่ ยาบ้า ยาอี สารระเหย กัญชา เป็นตน้
2) มว่ั สุมและทําความรำคาญให้กบั ชาวบา้ น
3) ติดเกมส์ และเล่นการพนันตา่ ง ๆ
4) มพี ฤติกรรมทางเพศ
5) อน่ื ๆ (ระบ)ุ ..............................................

แหลง่ ทมี่ าของขอ้ มูล ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565
(๑) เยาวชนที่มพี ฤติกรรมไมเ่ หมาะสม ข้อมลู จากสำนักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวดั

(๒) เยาวชนทถ่ี กู ทารณุ กรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศ ขอ้ มูลจากสำนักงานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั

สถานการณ์ด้านเยาวชน อายุต้ังแต่ 18 – 25 ปี โดยมจี ำนวนทั้งหมด จำนวน 29,367 คน โดย
แยกเปน็ สถานการณ์ ดงั น้ี เยาวชนท่ีมพี ฤติกรรมไม่เหมาะสม จำนวน 130 คน

๓.๓ กล่มุ สตรี (หญงิ ท่มี อี ายุ ๒๕ปี-๕๙ปี)

ตารางที่ 3.๓ แสดงสถานการณ์กลุม่ สตรี จงั หวดั ชยั นาท

(หนว่ ย:คน)

จังหวดั จำนวน (๑) (๒) (๓) (๔)
ชัยนาท กลุ่มเปา้ หมา สตรที ่ีถกู ละเมดิ สตรีทถ่ี กู ทาํ แม่เลีย้ งเด่ยี ว สตรที ่ถี ูกเลิก
ยทั้งหมด รายรา่ งกาย ฐานะยากจน จ้าง/ตกงาน
ทางเพศ
82,110 จติ ใจ 3 79
0
7

รวม

หมายเหตุ แหล่งที่มาของขอ้ มูล ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2565
(๑) สตรีที่ถูกละเมดิ ทางเพศ ทม่ี าจาก OSCC

(๒) สตรที ถ่ี กู ทาํ ร้ายรา่ งกาย จติ ใจ ท่มี าจาก OSCC

(๓) แม่เลย้ี งเดีย่ วฐานะยากจนทีต่ ้องเลยี้ งดบู ตุ รเพียงลําพงั ทม่ี าจาก ข้อมลู เดก็ แรกเกดิ

(๔) สตรีทถ่ี ูกเลิกจ้าง/ตกงาน ท่มี าจาก จดั หางานจงั หวดั ชัยนาท

สถานการณ์ด้านกลุ่มสตรี อายุตั้งแต่ 25 – 59 ปี โดยมีจำนวนท้ังหมด จำนวน 82,110 คน
โดยแยกเป็นสถานการณ์ ดังน้ี สตรีที่ถูกระเมิดทางเพศ จำนวน 0 คน สตรีท่ีถูกทำร้ายร่างกายและจิตใจ
จำนวน 7 คน แมเ่ ล้ยี งเด่ยี วที่มีฐานะยากจน จำนวน 3 คน สตรีท่ีถกู เลกิ จ้าง / ตกงาน จำนวน 79 คน

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั ชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๑๙

๓.๔ กล่มุ ครอบครัว

ตารางท่ี 3.๔ แสดงสถานการณก์ ลุม่ ครอบครวั จงั หวดั ชัยนาท

(หนว่ ย:ครอบครัว)

จังหวดั จำนวน (๑) (๒) (๓) (๔)
กล่มุ เปา้ หมาย ครอบครัวท่ีจด ครอบครัวหยา่ ครอบครัวท่ีมีคนใน ครอบครัว
ทะเบียนสมรส ครอบครวั กระทํา ยากจน
ทั้งหมด รา้ ง ความรนุ แรงต่อกัน

ชัยนาท 89,351 51,019 520 18 3,852

รวม

หมายเหตุ แหล่งทมี่ าของขอ้ มลู ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565
(๑) ครอบครัวทีจ่ ดทะเบียนสมรส ท่มี าจาก กรมการปกครอง
(๒) ครอบครวั หยา่ รา้ ง ทม่ี าจาก กรมการปกครอง
(๓) ครอบครวั ทมี่ ีคนในครอบครวั กระทําความรุนแรงตอ่ กัน ทมี่ าจาก OSCC
(๔) ครอบครัวยากจน ทมี่ าจาก TPMAP

สถานการณ์ด้านกลุ่มครอบครัว โดยมีจำนวนครัวเรือนท้ังจังหวัด จำนวน 89,351 ครัวเรือน

โดยแยกเป็นสถานการณ์ ดังนี้ ครอบครัวที่จดทะเบียนสมรส จำนวน 51,019 ครัวเรือน ครอบครัวหย่าร้าง

จำนวน 520 ครัวเรือน ครอบครัวที่มีคนในครอบครัวกระทำความรุนแรงต่อกัน จำนวน 18 ครัวเรือน
ครอบครวั ยากจน จำนวน 3,852 ครัวเรือน

๓.๕ กลุม่ ผู้สงู อายุ (อายุ ๖๐ปีขน้ึ ไป)

ตารางท่ี 3.๕ แสดงสถานการณผ์ ู้สงู อายุ จงั หวัดชยั นาท

(หนว่ ย:คน)

จงั หวดั จำนวน (๑) (๒) (๓) (๔) (๕)
ชัยนาท กลุ่มเป้าหมาย ผสู้ งู อายุ ผูส้ ูงอายุจำแนกตามความสามารถในการ ผ้สู งู อายทุ ี่ ผูส้ ูงอายุ ผูส้ งู อายุ
ท่ไี ดรบั ต้องดำรง มีทีอ่ ยู่ ทบ่ี ริจาค
ทง้ั หมด ทำกจิ วัตรประจำวัน (ADL) ชพี ด้วย อาศยั ไม่ เบ้ียยังชีพ
เบ้ีย การเร่ร่อน เหมาะสม
77,631 ยังชีพ ตดิ บา้ น ติดสังคม ช่วยเหลอื ขอทาน 0
ตัวเองไมได้ 86
63,278 (ติดเตียง) 0

9,622 9,281 341

รวม

หมายเหตุ แหล่งท่มี าของข้อมลู ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2565
(๑) ผู้สูงอายทุ ไี่ ดร้ บั เบีย้ ยังชพี ท่ีมาจาก สนง.พฒั นาสงั คมฯ
(๒) ผสู้ ูงอายุจำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวนั (ADL) ท่มี าจาก สาธารณสุขจงั หวดั
(๓) ผู้สูงอายทุ ต่ี อ้ งดำรงชพี ด้วยการเร่ร่อน ขอทาน ท่ีมาจาก ศนู ยค์ ุม้ ครองคนไรท้ ่ีพ่งึ
(๔) ผู้สงู อายุมีทอ่ี ยู่อาศัยไมเ่ หมาะสม ทมี่ าจาก สนง.พัฒนาสงั คมฯ
(๕) ผสู้ งู อายทุ บี่ รจิ าคเบี้ยยงั ชพี ทีม่ าจาก กรมกิจการผู้สูงอายุ

สถานการณ์ด้านกลุ่มผู้สูงอายุ โดยมีจำนวนท้ังหมด จำนวน 77,631 คน โดยแยกเป็น
สถานการณ์ ดังน้ี ผู้สูงอายทุ ี่ได้รับเบี้ยยังชีพ จำนวน 63,278 คน ผ้สู ูงอายุจำแนกตามความสามารถในการทำ

กิจวัตรประจำวัน ติดบ้าน จำนวน 9,622 คน ติดสังคม จำนวน 9,281 คน และช่วยเหลือตนเองไม่ได้

จำนวน 341 คน ผสู้ งู อายทุ มี่ ที อ่ี ยู่อาศยั ไมเ่ หมาะสม จำนวน 86 คน

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๐

๓.๖ กลุ่มคนพกิ าร คนพิการท่ีได้รับเบีย้ ยังชีพ

ตารางท่ี 3.๖.๑ แสดงสถานการณ์คนพกิ าร จงั หวดั ชยั นาท เบ้ยี ยงั ชีพ เบ้ียยงั ชีพ
คนพกิ าร ผสู้ งู อายุ
(หนว่ ย:คน)
11,068 2,563
คนพกิ ารทม่ี บี ตั ร
จังหวดั จำนวน ประจำตัวคนพกิ าร

ชัยนาท 13,890 13,890
รวม

ทม่ี า ขอ้ มลู จากศนู ยบ์ ริการคนพกิ ารจงั หวัดชัยนาท ณ วนั ท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕

สถานการณ์ด้านกลุ่มคนพิการ โดยมีจำนวนทั้งหมด จำนวน 13,890 คน โดยแยกเป็น
สถานการณ์ ดังน้ี คนพิการท่ีมีบัตรประจำตัวคนพิการ จำนวน 13,890 คน คนพิการที่ได้รับเบ้ียยังชีพ
คนพิการ จำนวน 11,068 คน และเบย้ี ยังชีพผ้สู งู อายุ จำนวน 2,563 คน

ตารางที่ 3.๖.๒ แสดงจำนวนคนพิการจำแนกตามสาเหตคุ วามพิการ จงั หวดั ชยั นาท

(หนว่ ย:คน)

จงั หวดั สาเหตุความพกิ าร ไม่ทราบ มากกว่า 1 รวม
ชยั นาท สาเหตุ สาเหตุ
พันธกุ รรม โรคตดิ เช้ือ อุบตั เิ หตุ โรคอนื่ ๆ
51 204 969 3,063 9,609 0 13,896

รวม

ท่มี า ขอ้ มูลจากศนู ย์บรกิ ารคนพิการจังหวดั ชัยนาท ณ วันท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕

คนพิการจำแนกตามสาเหตุความพิการ จังหวัด ชัยนาท ดังน้ี คนพิการไม่ทราบสาเหตุ
จำนวน 9,609 คน อันดับแรก รองลงมาสาเหตุอ่ืนๆ จำนวน 3,063 คน อุบัติเหตุ จำนวน 969 คน โรคติด
เชอื้ จำนวน 204 และพันธุกรรม จำนวน 51 คน ตามลำดบั

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั ชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๑

ตารางที่ 3.๖.๓ แสดงจำนวนคนพกิ ารจำแนกตามประเภทความพกิ าร จงั หวดั ชัยนาท

(หน่วย:คน)

ความพิการ

พกิ าร พกิ าร พกิ าร พิการทาง พิการทาง พกิ าร ออทิ พิการ

จังหวดั ทางการ ทางการได้ ทางการ จิตใจหรอื สตปิ ญั ญา ทางการ สติก มากกว่า
เห็น ยนิ หรือสอื่ เคลื่อนไหว พฤตกิ รรม เรยี นรู้ 1 ประเภท
ความหมาย หรอื

ทางรา่ งกาย

ชยั นาท 889 3,069 7,770 815 804 43 56 450

รวม

ทีม่ า ข้อมูลจากศูนยบ์ ริการคนพิการจังหวัดชยั นาท ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕

จำนวนคนพกิ ารจำแนกตามประเภทความพิการ จงั หวดั ชัยนาท ดังน้ี ประเภทความพิการอันดับ
แรก ได้แก่ พิการทางการเคล่ือนไหวหรือร่างกาย จำนวน 7,770 คน รองลงมา พิการทางการได้ยินหรือส่ือ
ความหมาย จำนวน 3,069 คน พิการทางการมองเห็น จำนวน 889 คน พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม
จำนวน 815 คน พิการทางสติปัญญา จำนวน 804 คน ออทิสติก จำนวน 56 คน และพิการทางการเรียนรู้
จำนวน 43 คน ตามลำดบั โดยมคี วามพิการมากกว่า 1 ประเภท จำนวน 450 คน

๓.๗ กลุ่มผ้ดู อ้ ยโอกาส

ตารางท่ี 3.๗ แสดงสถานการณ์กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาส จงั หวดั ชยั นาท

(หนว่ ย:คน)

จงั หวัด คนยากจน คนเรร่ ่อน/ไร้ทอี่ ยู่ ไม่มีสถานะทาง ผพู้ น้ โทษ ผตู้ ดิ เชือ้ HIV
อาศยั ทะเบยี นราษฎร 109 2,341

ชัยนาท 10,453 55 4
รวม

ที่มาข้อมูลจากศนู ยค์ มุ้ ครองคนไร้ทีพ่ ่งึ จงั หวัดชยั นาท และ TPMAP ณ วนั ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕

หมายเหตุ นิยาม ผู้ด้อยโอกาส หมายถึง ผู้ท่ีประสบปัญหาความเดือดร้อน และได้รับผลกระทบในด้านเศรษฐกิจสังคม
การศึกษา สาธารณสขุ การเมอื ง กฎหมาย วฒั นธรรม ภัยธรรมชาตแิ ละภัยสงคราม รวมถึงผูท้ ีข่ าดโอกาสทีจ่ ะเข้าถงึ บรกิ ารข้ัน
พนื้ ฐานของรฐั ตลอดจนผู้ประสบปญั หาที่ยงั ไม่มีองคก์ รหลักรบั ผดิ ชอบอนั จะส่งผลใหไ้ ม่สามารถดำรงชีวติ ได้เทา่ เทียมกับผอู้ ื่น”
โดย กรมพฒั นาสังคมและสวสั ดิการ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ (พม.)

สถานการณ์ด้านกลุ่มผู้ด้อยโอกาส โดยมีจำนวนคนจน จำนวน 10,453 คน คนเร่ร่อน/ไร้ท่ีอยู่
อาศัย จำนวน 55 คน ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร จำนวน 4 คน ผู้พ้นโทษ จำนวน 109 คน ผู้ติดเช้ือ
HIV จำนวน 2,341 คน

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๒

ส่วนท่ี ๔

สถานการณ์เชิงประเดน็ ทางสังคมในระดบั จงั หวัดชยั นาท

๔.๑ สถานการณก์ ล่มุ เปราะบางรายครวั เรือน

๔.๑.๑ ตาราง แสดงกลุ่มคนเป้าหมายตามฐานข้อมูลระบบการพัฒนาคนแบบชี้เป้า TP MAP แยกรายมิติ
จงั หวัดชัยนาท

(หน่วย:คน)

จังหวัด *จำนวนคน ด้านความ ด้าน ดา้ นสุขภาพ ด้านรายได้ ดา้ นการเขา้ ถึง
เปราะบาง เปน็ อยู่ การศึกษา บรกิ ารภาครฐั

ชัยนาท 50,406 533 23 206 1,533 1

รวม

ทม่ี า ฐานข้อมูลระบบการพฒั นาคนแบบชีเ้ ป้า TP MAP สำนักงานการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

หมายเหตุ กลุ่มคนเปราะบาง หมายถึง บุคคลท่ีต้องการได้รับการพึ่งพิงจากผู้อ่ืน ไม่สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ
หรือตดั สนิ ใจไดด้ ้วยตวั เอง โดยสามารถแบง่ กล่มุ คนเปราะบางได้ ดังนี้
1.กล่มุ ที่มีความเส่ยี งสูงกวา่ บุคคลทวั่ ไป อาทิ หญงิ ตง้ั ครรภ์ ผสู้ งู อายุ
2.กลมุ่ ทพุ พลภาพ อาทิ ผู้พิการ ผู้ปว่ ยจิตเวช ผู้ปว่ ยเด็ก ผปู้ ่วยสมองเสอ่ื ม
3. กล่มุ ที่ไมม่ อี สิ ระพอในการตดั สินใจ อาทิ นกั โทษ ทหารเกณฑ์

๔.๑.๒ ตาราง แสดงขอ้ มลู ครัวเรือนเปราะบาง จังหวดั ชยั นาท

(หน่วย:ครวั เรือน)

จังหวดั *จำนวน ครัวเรอื นที่อยู่ **ระดับความเปราะบางของครวั เรือน
ครัวเรอื น อาศัยไม่มั่นคง ระดับ 0 ระดบั ๑ ระดบั ๒ ระดบั ๓
เปราะบาง

ชยั นาท 29,858 1,400 27,909 384 1,361 204

รวม

ท่มี า กองตรวจราชการ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ ขอ้ มลู ณ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕

*นิยาม ครัวเรือน หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มคนท่ีอยู่ร่วมกันและกินอยู่ร่วมกันในสถานท่ีเดียวกันจำนวน 6 เดือน เป็นอย่าง
น้อย โดยจำแนกออกไดเ้ ปน็ 2 ชนิด คอื
1. ครัวเรือนคนเดียว ได้แก่ ครวั เรอื นซ่งึ ประกอบดว้ ยบุคคลคนเดียวโดยไมเ่ ก่ียวขอ้ งเป็นสมาชกิ ของครัวเรอื นอน่ื ใดทอี่ ยู่ในบ้าน
เดียวกันหรอื บคุ คลคนเดยี วอาศยั อยูต่ ามลำพังในบา้ นหลังหน่งึ
2. ครวั เรอื นที่ไมม่ ีความสมั พนั ธ์ทางเครอื ญาติ ไดแ้ ก่ ครัวเรอื นท่ีมบี คุ คลตั้งแต่ 2 คนขน้ึ ไป อยู่รวมกันในบ้านเดียวกัน หรือสว่ น
หนึ่งของบ้าน และร่วมกันในการจัดหาและใช้ส่ิงอุปโภค บริโภคอันจำเป็นแก่การครองชพี ของบคุ คลกลุ่มนั้น บุคคลเหล่านี้อาจ
เป็นญาติกัน หรอื ไมเ่ ปน็ ญาตกิ ันเลย

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๓

ครัวเรือนเปราะบาง ครัวเรือนที่มีรายได้น้อยและมีบุคคลที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงที่ต้องการได้รับความช่วยเหลือ เช่น ครอบครัว
ยากจนท่มี ีเด็กเล็ก แม่เล้ียงเด่ยี ว ผู้สูงอายุ คนพกิ าร สามารถแบ่งระดับความเปราะบางได้ ดงั นี้
ครัวเรือนระดบั ๐ หมายถงึ ครัวเรือนที่ไมต่ กมติ เิ ร่ืองรายได้และมบี คุ คลทม่ี ีภาวะพึ่งพงิ
ครัวเรือนระดับ 1 หมายถึงครวั เรอื นท่ีมรี ายได้น้อย ครวั เรือนทม่ี ีรายไดน้ อ้ ยและมีปัญหาทอี่ ย่อู าศัย
ครัวเรือนระดับ 2 หมายถงึ ครวั เรอื นทม่ี รี ายไดน้ อ้ ยและมีบุคคลทอี่ ยใู่ นภาวะพึง่ พิง 1 – 2 คน
ครัวเรอื นระดับ 3 หมายถงึ ครัวเรอื นท่ีมีรายได้น้อยและมบี ุคคลทอี่ ยใู่ นภาวะพึ่งพิงมากกว่า 2 คน
ครัวเรอื นท่ีมีรายไดน้ อ้ ย คอื ครวั เรอื นท่ีมีรายได้เฉลย่ี ต่อปไี ม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ ต่อคน ตอ่ ปี
ภาวะพ่งึ พงิ หมายถึง คนทตี่ ้องได้รบั การดูแล/ชว่ ยเหลอื จากคนอ่นื (อาทิ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ และผ้ปู ่วยติดเตียง เปน็
ต้น)

๔.๑.๓ ผลการขับเคลือ่ นโครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลุ่มเปราะบางรายครวั เรอื น

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง รายครัวเรือน (มิติสังคม) เกิดขึ้นเน่ืองมาผลของ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 รวมท้ังปัญหาการเขา้ ถึงบริการของภาครฐั สง่ ผลใหม้ ีผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมมากข้ึน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง ครอบครัวมีเด็กเล็ก ครอบครัวมีแม่เลี้ยงเดี่ยว ผู้สูงอายุ
คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียงท่ีอยู่ในภาวะยากลำบาก และผู้ประสบปัญหาด้านที่อยู่อาศัย ซึ่งแนวทางการพัฒนา
คุณ ภ าพ ชีวิตกลุ่มเป ราะบ างเห ล่าน้ี จำเป็ น อาศัยการแก้ปั ญ ห าอย่างรอบ ด้าน ใน ทุ กมิติทั้ ง
เศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และสภาพแวดล้อม และจำเป็นต้องบูรณาการความร่วมมือจากหลายภาค
ส่วน เพ่ือให้การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางดีข้ึนอย่างยั่งยืน สำนักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท จึงได้ดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตกลุ่มเปราะบาง
รายครัวเรือน (มิติสังคม) ขึ้นโดยบูรณาการหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่ม
เปราะบางในทุกมิติให้ครอบครัวมีความมั่นคง มีความสุข และสามารถพ่ึงพาตนเองได้ ซึ่งจากการตรวจสอบ
ฐาน ข้อมู ลพ บ ว่าจังห วัด ชัยน าท มี กลุ่ มเป ราะบ างที่ ผ่าน การคั ดกรองจากตำบ ลต่ างๆ รวม
ทั้ งสิ้น 1,949 ครัวเรือน กลุ่ม เป ราะบ างพ บ ม ากท่ี สุด ท่ี ต ำบ ล แพ รกศ รีราช า อำเภ อ สรรค
บรุ ี 1,131 ครวั เรือน 2,962 คน รองลงมาคอื ตำบลดงคอน อำเภอสรรคบุรี 884 ครวั เรือน ซ่ึงหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้องจะได้ดำเนินการลงพ้ืนท่ีร่วมวิเคราะห์ปัญหา ทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กลุ่มเปราะบาง
ก่อนที่จะบูรณาการหน่วยงานในการดำเนินการตามแผนเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลกลุ่มนี้ให้ดีข้ึน
อย่างย่ังยืนต่อไป

ทม่ี า กองตรวจราชการ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ ขอ้ มลู ณ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕

๔.๒ สถานการณภ์ ายใต้การแพรร่ ะบาดของเชือ้ COVID-19

ตาราง แสดงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 พ้นื ทจี่ งั หวัดชัยนาท

(หนว่ ย:คน)

จงั หวัด ติดเช้อื สะสม กำลังรักษา รกั ษาหาย เสยี ชวี ิต
ชยั นาท 7,155 5,007 1,500 47
รวม

ที่มา รายงานสถานการณ์ COVID-19 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด ข้อมลู ณ วนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม 256๕

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั ชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๔

ตาราง แสดงขอ้ มลู การได้รับวัคซนี ปอ้ งกนั โรค โควิด 19 ประชาชนในพน้ื ทีจ่ งั หวัดชยั นาท

(หน่วย:คน) เข็มที่ ๑ เข็มที่ ๒ กระต้นุ เข็มที่ ๓ กระต้นุ เข็มท่ี ๔

จงั หวดั

ชัยนาท 280,704 267,321 146,797 -

รวม

ท่มี า MOPH-Immunization Center (IC) กระทรวงวาธารณสขุ ข้อมลู ณ ขอ้ มลู ณ วนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม 256๕

ตาราง แสดงข้อมูลการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19
พ้ืนทจี่ งั หวดั ชยั นาท

จงั หวัด ผ้ปู ว่ ย COVID-19 ครอบครวั ผเู้ สยี ชีวิต ผไู้ ด้รับผลกระทบท่ี ครอบครัวผู้ไดร้ บั
(คน) จาก COVID-19 ได้รบั การช่วยเหลือ ผลกระทบทไี่ ด้รับ
การที่ช่วยเหลอื
(ครอบครัว) (คน)
(ครอบครวั )

ชยั นาท 38 3 293 124

รวม

ทีม่ า รายงานข้อมูลการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ขอ้ มูล ณ วันท่ี ๓๑ พฤษภาคม 256๕

รายงานผลการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์

1.จั ด ต้ั งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารบ ริห ารภ าว ะ วิก ฤ ติ โค วิด -19 เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ล างด้ าน ข้ อ มู ล
การช่วยเหลือ การสื่อสารสังคม การรายงานและติดตามผล โดยทำงานเชื่อมโยงกับศูนย์ช่ว ยเหลือสังคม
สายดว่ น พม. โทร. 1300 เพื่อประสานสง่ ต่อการชว่ ยเหลือกลมุ่ เปราะบางจนสิน้ สดุ กระบวนการ

2.จัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการบริหารภาวะวิกฤติโควิด- 19 โดยมีศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน พม.
โทร. 1300 รับแจง้ เหตุและปัญหาความเดือดร้อน รวมทง้ั ประสานการช่วยเหลือไปยังหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง

3.ว างแ ผ น ก ารช่ ว ย เห ลื อ ใน พ้ื น ที่ โด ย ให้ แ ย ก ผู้ ท่ี ได้ รับ ผ ล ก ระท บ จ าก โรค โค วิด -19
ให้ชดั เจน เพือ่ ใหเ้ หน็ กลมุ่ เป้าหมายท่ีช่วยเหลือแล้ว และยังไม่ไดร้ ับการชว่ ยเหลือ

4.จดั ทีม One Home ลงพ้นื ที่ช่วยเหลือเยยี วยาในพน้ื ท่ี
5.เตรียมแผนการรองรบั สำหรับคนเร่รอ่ นและคนไร้บา้ น

ท้ังนี้ ประชาชนสามารถโทรขอความช่วยเหลือได้ท่ี ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน พม. โทร. 1300
บริการ 24 ช่ัวโมง และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท หรือประสาน
ขอความชว่ ยเหลือผา่ น อพม. ในพืน้ ท่ี

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๕

ส่วนที่ ๕

การวิเคราะหส์ ถานการณ์ทางสังคมในพืน้ ทจ่ี งั หวัดชัยนาท

ด้านเศรษฐกิจ เน่ืองจากยังมีภาวะของผู้ยากจนในจังหวัดชัยนาท โดยมิติของความยากจนอยู่ที่
ภาคการเกษตร ยุทธศาสตร์เพ่ือแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจจึงเน้นไปท่ีการพัฒนาศักยภาพและโอกาส โดยการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ มีเป้าหมายเพื่อการเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
การแกป้ ัญหาในเร่อื งรายได้ การลดอัตราการการว่างงาน โดยการพัฒนาอาชีพและรายได้ของครอบครัวและ
ชุมชนการสนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปล่ียนอาชีพการเพาะปลูกพืชที่ไม่เหมาะสมไปยังอาชีพที่มีศักยภาพและ
มูลคา่ เพม่ิ ทสี่ งู กวา่ และการรวมกลุ่มเพอื่ การผลิต

ด้านสังคม สังคมของจังหวัดหวัดชัยนาทส่วนใหญ่เป็นสังคมชนบทมากกว่าชุมชนเมือง
ประชาชนมีความกลมกลืนในประเพณีวัฒนธรรม การดำรงชีวิตเป็นไปอย่างเรียบง่าย สังคมมีความ สงบสุข
ประชาชนมีคุณภาพชีวิตค่อนข้างดี แต่ยังมีปัญ หา/อุปสรรคด้านการขาดแหล่งเรียนรู้ชุมชนขาด
สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา สังคมภายนอกมีการเปลี่ยนแปลง ประชาชนจะต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
เข้าสู่สังคมแบบใหม่มากขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาด้านสังคม เพ่ือให้ประชาชน
ของจังหวัดชัยนาทมีความเข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้
การพัฒนาด้านสังคมมุ่งเน้นไปที่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยการเสริมสร้างและพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง
การเสริมสรา้ งและเปดิ โอกาสไปสู่สงั คมแหง่ การเรียนรู้ การสร้างสขุ ภาพ และการส่งเสรมิ กีฬา

ด้านความมั่นคง การดำเนินงานด้านความม่ันคงมีภารกิจหลักที่เน้นดำเนินการ 3 ด้าน ได้แก่
ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย และด้านการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภยั

- การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จากการท่ีรัฐบาลได้ดำเนินนโยบายปราบปราม
ยาเสพติดอย่างจริงจังอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ปี 2543 ถึงปัจจุบัน ทำให้สถานการณ์แพร่ระบาดของยาเสพติด
ในจังหวัดชัยนาทเบาบางลงมาก อย่างไรก็ตาม จังหวัดก็ได้ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แนวทางการดำเนินงานตาม ROADMAP ระยะที่ 3 ของสำนักงาน ปปส. ได้แก่การ
ดำรงความเข้มแข็งของพลังแผ่นดินในหมู่บ้านและชุมชนอย่างย่ังยืน มีเป้าหมายการเกิดความย่ังยืนในการ
แก้ปัญหายาเสพติดในทุกพื้นที เฝ้าระวังปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดด้วยกลไกทุกระดับ การแก้ไข
ปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด โดยการบำบัดฟื้นฟูพัฒนาให้สามารถใช้ชีวิตปกติและติดตามดูแลไม่ให้
กลับไปเสพซ้ำ ตลอดจนการป้องกันกลุ่มเส่ียงไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด โดยสร้างพลังแผ่นดิน
ชมุ ชนเข้มแข็งควบคุมปจั จัยเสยี่ ง โดยการแก้ไขปัญหาเชิงบรู ณาการกบั ทกุ ภาคส่วน

- การรักษาความสงบเรียบร้อย มีเป้าหมายเพ่ือการลดจำนวนคดีอาชญากรรม โดยพัฒนา
ระบบสายตรวจเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพสายตรวจและการข่าว การหาความร่วมมือจากประชาชน งานชุมชน
สัมพันธ์การเร่งรัดจับกุมผู้กระทำผิดอาญาให้ได้เพิ่มขึ้น และการปราบปรามผู้มีอิทธิพล โดยใช้วิธีการหาข่าว
และตรวจสอบพฤติการณ์บุคคลต้องสงสัย ทั้งโดยภาคราชการและประชาคมหมู่บ้าน /ชุมชน
ปราบปรามดำเนินคดีโดยเด็ดขาดเมือ่ ปรากฏหลักฐานว่ากระทำความผดิ กฎหมาย

- การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์จาก
การป้องกัน การบรรเทา การฟ้ืนฟูจากการที่ได้รับผลกระทบจากสาธารณภัยต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ท่ัวถึงและ
เป็นธรรม โดยการพัฒนาระบบการวางแผน ศึกษาสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพ้ืนท่ีเส่ียงภัย ในพื้นที่ต่าง ๆ
เร่งให้มีการเตรียมความพร้อมทั้งในด้านองค์กรเครือข่ายอาสาสมัครต่าง ๆ จัดเตรียมความพร้อมในด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเตือนภัยล่วงหน้า ให้มีการซักซ้อม ฝึกซ้อมแผน การประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้าง
ความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ และ ความใส่ใจในการมีส่วนร่วมป้องกันและลดผลกระทบจากภัยต่าง ๆ
ตลอดจนบูรณาการในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทั้งภาครฐั และเอกชน

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั ชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๖

ด้านการบริหารจัดการ การดำเนินการในการปรับปรุง และพัฒนาด้านการบริหารจัดการของจังหวัด
ชัยนาทในช่วงที่ผ่านมา ประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม การดำเนินการในเรื่องต่าง ๆท่ีจะส่งผล
ให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงและ
พัฒนาแก้ไขข้อปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของภาครัฐ และเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุด
ของประชาชนชาวชัยนาท ซึ่งเป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจ
การบ้านเมืองท่ี ดังน้ัน การดำเนินการด้านการบริหารจัดการของจังหวัดชัยนาทในปีพ.ศ. 2563 ยังคงเน้น
ในเรื่องของการอำนวยประโยชน์ประชาชน และการพัฒนาข้าราชการและพนักงานของรัฐ การป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น การพัฒนา IT เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพงาน และการการแก้ไขปัญหา
ความเดือดร้อนของประชาชน โดย

- การอำนวยประโยชน์ประชาชน และการพัฒนาข้าราชการและพนักงานของรัฐ เน้นไปท่ี
มิติด้านคุณภาพการให้บริการ โดยให้ทุกส่วนราชการ/หน่วยงานปรบั ปรุงแก้ไขการให้บริการในจังหวัดชัยนาท
โดยสร้างดุลยภาพมาตรฐานการให้บริการแก่ประชาชนให้เกิดความพึงพอใจในกระบวน การ ขั้นตอน
การให้บริการ เจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการ และการปรับปรุงสถานที่ให้บริการ การพัฒนาข้าราชการและพนักงาน
ของรัฐเพ่อื ความพร้อมในการใหบ้ ริการประชาชนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

- การป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรร์ ัปชั่น ได้มีการปรับยุทธศาสตร์ให้เหมาะสมยิง่ ขึ้น
และได้นำยุทธศาสตร์เสริมสร้างจิตสำนึกท่ีถูกต้อง มีคุณธรรมอันม่ันคงสำหรับสังคม ไทย นำเข้าเป็นส่วนหน่ึง
ของยทุ ธศาสตร์จงั หวัด

- การพฒั นาระบบฐานข้อมูลและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการดำเนินการปรับปรุง และ
พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบการเชื่อมโยงข้อมูล และการพัฒนาบุคลากรซึ่ง ต่อเนื่อง จากที่ได้
ดำเนินการไปแล้ว เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการแต่งตั้งคณะทำงานศึกษาการจัดทำระบบ
ฐานข้อมูลระดับจังหวัด การออกแบบฐานข้อมูล โดยได้กำหนดฐานข้อมูลไว้ จำนวน 45 ฐานข้อมูล เพอื่ ให้
สอดคล้องกับแนวทางการจดั ทำฐานขอ้ มลู ในศนู ยป์ ฏิบัติการจงั หวัด (POC) การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ปัจจุบนั และ
ข้อมูลย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี การประมวลผล Data เป็น Information และการเชื่อมโยงกับระบบ
สารสนเทศของนายกรัฐมนตรี (PMOC)

- การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เป็นการดำเนินการต่อเน่ืองจากท่ีได้ดำเนิน
ไปแล้วในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ซ่ึงได้มีการสำรวจปัญหาความเดือดร้อนท่ีมีผลกระทบต่อประชาชนจำนวนมาก
การกำหนดช่องทางการรับเรื่องราวร้องทุกข์ของประชาชน ข้ันตอนในการดำเนินการและ เจ้าหน้าที่
ผู้รับผิดชอบ การจัดทำทะเบียนไว้เพื่อการตรวจสอบ ตลอดการตั้งคณะทำงานช่วยเหลือประชาชน และ
เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการรายงานเหตุการณ์ โดยมีการปรับปรุงการจัดเก็บข้อมูล เรื่องร้องเรียนที่ในอดีต
ฐานข้อมูลต่างฝ่ายต่างเก็บทำให้ไม่สะดวกแก่การติดตามผล นอกจากน้ันยังได้กำหนดขั้นตอน และแนวทาง
การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนท่ีได้รับจากช่องทางอื่นๆ ได้แก่ การแจ้งทางหนังสือหรือโทรศัพท์
ผ่านศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด การร้องเรียนต่อผู้ว่าราชการจังหวัดโดยตรงทาง โทรศัพท์ ส่งหนังสือ
ทางไปรษณีย์ มอบโดยตรง หรือส่งที่ตู้รับเรื่องราวร้องทุกข์ แจ้งทาง Internet หรือเมื่อมีการจัดหน่วยบริการ
เคล่อื นทอ่ี อกไปเยยี่ มเยยี นประชาชน รวมทัง้ การดำเนินการกรณมี ีการรอ้ งเรยี นไปยงั ส่วนกลาง

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๗

สว่ นท่ี ๖

บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

๖.๑ บทสรุป

จากสถานการณ์ทางสังคมของจังหวัดชัยนาท พบว่ากลุ่มเป้าหมายตามภารกิจกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ทุกกลุ่มเป้าหมายยังคงประสบปัญหาทางสังคม ท้ังทางเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ
ดา้ นความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ ินและการดแู ลสมาชกิ ในครอบครวั

จังหวัดชัยนาทได้ระดมสรรพกำลังในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคม โดยอาศัยความร่วมแรง
ร่วมมือ ร่วมใจในหลายระดับ เช่น ปฏิบัติการ ONE HOME ความร่วมมือของภาคราชการ ภาคีเครือข่าย
ภาคเอกชน ภาคประชาชน องค์กรพัฒนาชุมชน รวมท้ังการบูรณาการ แผนงานโครงการ บุคลากร และ
งบประมาณ ตลอดจนการถ่ายทอดเชือ่ มโยงภารกิจ ในกลไกการปฏิบัติงานลักษณะประชารัฐ โดยมีโครงสร้าง
การดำเนินงาน ดงั น้ี

ผ้วู า่ ราชการจังหวดั ชัยนาท

ยทุ ธศาสตร์ภาค

ยุทธศาสตรจ์ ังหวดั ยุทธศาสตร์กระทรวง พม.

ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาสังคม ยุทธศาสตรก์ ารจัดสวัสดกิ ารสังคม

แผนปฏิบัตริ าชการ
แผนบรู ณาการหนว่ ยงาน ONE HOME

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัดชยั นาท ประจำปี ๒๕๖๕

๒๘

๖.๒ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย

นอกจากน้ียังมีภารกิจด้านสังคมท่ีขับเคลื่อนด้วยกลไกคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และ
คณะทำงานด้านต่างๆ ตามประเด็นงานและกลุม่ เป้าหมาย ดังนี้

- คณะกรรมการส่งเสรมิ การจัดสวัสดิการสงั คมจังหวดั
- คณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชพี จงั หวัดชัยนาท
- คณะอนกุ รรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพิการ
- คณะอนกุ รรมการรบั เด็กเปน็ บตุ รบุญธรรม
- คณะอนุกรรมการศนู ยป์ ฏบิ ัติการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์
- คณะอนุกรรมการสง่ เสรมิ การพฒั นาเด็กปฐมวัยระดบั จังหวัด
- คณะอนุกรรมการคุ้มครองคนไรท้ ่ีพง่ึ จงั หวัดชัยนาท
- คณะอนกุ รรมการควบคุมการขอทานจงั หวัด
ทั้งนี้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ยังมีกองทุนต่างๆ ที่สนับสนุนการดำเนิน
โครงการ การจดั กิจกรรมตา่ งๆ ดังน้ี
1. กองทนุ ส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพกิ าร
2. กองทนุ สง่ เสรมิ การจัดสวัสดกิ ารสงั คม
3. กองทนุ ผสู้ ูงอายุ
4. กองทุนคุ้มครองเดก็
5. กองทนุ เพ่อื ป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์
และยังมีกิจกรรมเพ่ือการรวบรวมข้อมูลด้านสังคมเพ่ือการส่งเสริมการพัฒนาสังคม เช่นการรณรงค์
เพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมในประเด็นต่างๆ
การจัดสมชั ชา สวัสดิการสังคม สมชั ชาผู้สงู อายุ สมชั ชาสตรี สมชั ชาเดก็ ฯลฯ
ทุนทางสังคมท่ีสำคัญในการขับเคล่ือนกระบวนการพัฒนาสังคม คือ อาสาสมัครพัฒนาสังคม และ
ความมั่นคงของมนุษย์ช่วยเหลือคนพิการ พลังจิตอาสาจากภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง เช่น จิตอาสาเราทำความดี
ดว้ ยหวั ใจ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหม่บู ้าน อาสาสมคั รแรงงาน เป็นต้น

๖.3 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบตั ริ ะดับจังหวัด

ในการปฏิบัติงานเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมและการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และการพัฒนาสังคมนั้น ต้องอาศัยพลังเพ่ือให้แรงผลักดัน
ในการชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนตอ่ ไป ดงั นัน้ จึงมขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี

1. การเพิ่มศักยภาพและสมรรถนะบุคลากรและระบบการบริการเพื่อการบริหารการพัฒนาสังคม
2. การมีข้อมูลที่ครบถ้วน ทันสมัย เพ่ือเป็นฐานในการวางนโยบายและการปฏิบัติในด้านกลุ่มเป้าหมาย
ประเดน็ ปญั หา พน้ื ทป่ี ระสบปัญหา
3. การวจิ ัยและพฒั นาเพ่อื สรา้ งองค์ความรู้เพอื่ การพัฒนาสังคม
4. การเพิ่มและพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย เครือข่ายทางสังคม ให้มีความรู้ ความเข้าใจ
แนวนโยบาย องคค์ วามรแู้ ละการปฏิบตั งิ าน ให้สามารถรว่ มงานกนั ได้อยา่ งมเี อกภาพ
5. เสริมสร้างความเข้มแขง็ ให้แกค่ รอบครัว กลุ่มองค์กร
6. รณรงคใ์ ห้สาธารณชนตระหนกั ในการรบั ผิดชอบดา้ นสงั คมร่วมกัน

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั ชัยนาท ประจำปี ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version