1
2
คำนำ
รายงานผลการใช้หลักการบริหารจัดการแบบ “3L Model ขับเคลื่อนความรู้ คู่คุณธรรม”
เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อสรุปและรวบรวมผลการดำเนินงานจากการใช้หลักการบริหารจัดการแบบ “3L Model
ขับเคลือ่ นความรู้ คคู่ ณุ ธรรม” นวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี ประเภทผลงาน ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาที่ผู้รายงานได้
คิดและพัฒนาขึ้น เป็นรูปแบบการบริหารจัดการที่เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนในสังคมได้เข้ามามีบทบาทใน
การวางแผนการจัดการศึกษาร่วมกันให้ความสำคัญกับการทำงานเป็นทีมคุณภาพของงานเกิดจากการ
สร้างสรรค์จากภายในสู่ภายนอกกล่าวคือ คุณภาพของโรงเรียนต้องเกิดจากความร่วมมือของบุคลากรใน
โรงเรียน โดยมีบุคลากรภายนอกคอยให้การสนับสนุน เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินงานโดยครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา ผู้บริหาร ผู้ปกครองและชมุ ชนตอ้ งมีความตระหนักในการพัฒนานักเรยี นให้มีคุณธรรม
ภายใต้แนวคิด "ให้ทุกคนได้หันหน้าเข้าหากัน ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันสร้างสรรค์คนดี ตามคุณธรรม
อัตลักษณ์ของโรงเรียน (HAS ; Sufficiency : ความพอเพียง Honesty :ความซื่อสัตยส์ ุจรติ Accountability
: ความรบั ผิดชอบ) เพือ่ นำสถานศกึ ษาสโู่ รงเรียนคุณธรรม สพฐ. " โดยใชก้ ระบวนการบรหิ ารจัดการศึกษาด้วย
มิติการขับเคลื่อน EQI to SUK๒Model ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต ๒
โดยใชก้ ระบวนการ ๕A to S ในการดำเนนิ งาน และบรู ณาการสูก่ ารพัฒนาคณุ ธรรมดา้ นอน่ื ๆ ต่อไป
ผู้รายงานขอขอบคณุ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยทีม่ ีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาเพื่อพฒั นา
คุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์) ให้บรรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหวัง
คอื นกั เรยี นมีความรคู้ ูค่ ณุ ธรรม และรว่ มกัน สร้างคนดใี ห้สงั คม
รชั ศาล คุ้มครอง
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสามหลงั (ประชารงั สรรค)์
สารบญั 3
๑. ความสำคัญของผลงานนวตั กรรม หนา้
๒. จดุ ประสงค์และเป้าหมายของผลงานนวัตกรรม ๑
๓. กระบวนการผลิตผลงานหรอื ขั้นตอนการดำเนินงาน ๒
๔. ผลการดำเนนิ งาน / ผลสมั ฤทธ์ิ / ประโยชน์ที่ไดร้ บั ๒
๕. ปจั จยั ความสำเร็จ ๖
๖. บทเรยี นทีไ่ ด้รบั ๙
๗. การเผยแพร่ / การไดร้ ับการยอมรับ / รางวลั ทไี่ ด้รบั ๙
๘. เง่ือนไขความสำเรจ็ ๙
๑๐
- เอกสารอ้างอิง
- ภาคผนวก
๑
รปู แบบการนำเสนอผลงานนวัตกรรม
ชื่อผลงานนวตั กรรม....................3L MODEL ขับเคลื่อนความรู้คคู่ ุณธรรม……………………………………………………..
ชอ่ื เจ้าของผลงานนวตั กรรม................นายรชั ศาล คุ้มครอง..........................................................................
โรงเรียน...................บา้ นสามหลัง(ประชารังสรรค)์ ...........................................................................
สังกดั สพป........................................สพป.สุโขทยั เขต ๒...............................................................
โทรศัพท.์ ............-..................................................โทรสาร...............-...............................................
ประเภทผลงาน ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
ครู
สอดคลอ้ งกบั คุณลกั ษณะโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.
ความพอเพียง
ความกตญั ญู
ความซอื่ สตั ย์สจุ รติ
ความรบั ผิดชอบ
อุดมการณค์ ุณธรรม
คุณธรรมอตั ลักษณ์
รายละเอยี ดเอกสารการนำเสนอผลงานนวัตกรรม
๑. ความสำคญั ของผลงานนวตั กรรมทน่ี ำเสนอ
การปฏิรูปการศึกษามุ่งให้เกิดคุณภาพ ทั้งในด้านผลผลิตกระบวนการจัดการและปัจจัยต่าง ๆ
โดยมุ่งหวังให้การจัดการศึกษาพัฒนาทั้งระบบ (Whole School Approach : WSA) บุคคลที่มีความสำคัญ
อย่างยิ่งที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวได้ก็คือ ผู้บริหารสถานศึกษา เพราะต้องเป็นผู้นำและ
ผู้ประสานความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่มีความสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการเรียนการสอนและ
การเรียนรู้รวมทั้งประสานสัมพันธ์ ระดมและจัดทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สุพล วังสินธ์.๒๕๔๕:๒๙)
ผู้บริหารโรงเรียนจึงเปรียบได้ว่าเป็นจอมทัพสำคัญ ที่จะนำพาโรงเรียนให้ก้าวไปในกระแสแห่งการปฏิรูปได้
อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรีสามารถขับเคลื่อนโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนคุณธรรม ดังพระราชดำรัสของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานพิธีทูลเกล้าถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต
กิตตมิ ศกั ดขิ์ อง ๕ สถาบัน วนั ท่ี ๓ ตลุ าคม ๒๕๕๑ (http://www.mcp.ac.th, ออนไลนว์ นั ที่ ๒๖ ก.ค.๒๕๖๓)
ความว่า “นอกจากจะสอนใหค้ นเกง่ แลว้ จำเป็นอยา่ งย่งิ ทจ่ี ะต้องอบรมให้มีความพร้อมไปด้วย ประเทศของเรา
จึงจะได้คนที่มีคุณภาพพร้อมคือ ทั้งเก่งทั้งดี มาเป็นกำลังบ้านเมือง กล่าวคือ เป็นปัจจัยและพลังสำหรับ
การสร้างสรรค์ ให้ความดีเป็นปัจจัยและพลังประคับประคองหนุนนำความเก่งให้เป็นไปในทางที่ถูกที่ควร
ท่อี ำนวยผลเป็นประโยชน์
โรงเรียนคุณธรรมหมายถึง สถานศกึ ษาทผ่ี ู้บริหาร ครู นักเรยี น ผู้ปกครอง ชมุ ชนและผู้มสี ่วนเกี่ยวข้อง
มีส่วนร่วมในกระบวนการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมความดีในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
สถานศึกษาซึ่งนำไปสู่การพัฒนาและปรับเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้อย่างยั่งยืนและนำไป
ขยายเครือข่ายได้ การดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรมจะต้องคำนึงถึงหลักความสมัครใจ และเป็นการใช้
กระบวนการมีส่วนรว่ ม มีการติดตามและประเมินผลอยา่ งสมำ่ เสมอ และใชโ้ ครงงานคุณธรรมโดยมหี ัวใจสำคัญ
ของการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม คอื “การแปลงคณุ ธรรมให้เปน็ จรยิ ธรรม หรือพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงค์
(http://www.anantasook .com ออนไลนว์ ันที๒่ ๖ ก.ค.๒๕๖๓)
๒
โรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์) เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาขนาดกลาง มีจำนวน
นักเรียน 331 คนและมีนักเรียนเรียนร่วมจากโรงเรียนบ้านแสงสว่าง 11 คน ที่มีพื้นฐานมาจากครอบครัวที่
แตกต่างกันจึงถือเป็นหน้าที่โดยตรงของผู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาเพ่ือ
สร้างให้นักเรียนมีคุณธรรมนำความรู้ ผู้บริหารจึงต้องมีเทคนิคหรือวิธีการบริหารเพื่อ “ให้ทุกคนได้หันหน้า
เข้าหากัน ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันสร้างสรรค์คนดี ตามคุณธรรมเป้าหมายมีความซื่อสัตย์สุจริต
มคี วามรับผิดชอบ มคี วามพอเพียงเพอ่ื นำสถานศกึ ษาสู่โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.”
ผู้รายงานจึงได้นำหลักการบริหารจัดการแบบ “3L model ขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม”มาใช้
ในการบริหารงานและจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในการส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สร้างคนดีในโรงเรียนเพ่ือ
สนองพระราชประสงค์ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร
เพือ่ โรงเรยี นเปน็ สถานทสี่ ร้างคนดใี หบ้ ้านเมือง
๒. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย
๑. เพื่อสรา้ งและพฒั นานวัตกรรมการบรหิ ารเพอ่ื นำสถานศึกษาสโู่ รงเรยี นคณุ ธรรม
๒. เพื่อพัฒนานักเรียน ใหม้ ีคุณธรรมตามคุณธรรมเปา้ หมายของโรงเรยี นบ้านสามหลัง
(ประชารังสรรค์) ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ซง่ึ อยู่ในเกณฑร์ ะดับดีขน้ึ ไป
๓. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครู ผู้ปกครอง และนักเรียนโรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์)
ที่มีต่อการใช้หลักการบริหารจัดการแบบ “3L model ขับเคลื่อนความรู้ คู่คุณธรรม” ในการพัฒนานักเรียน
ใหม้ คี ุณธรรมตามคุณธรรมเปา้ หมายของโรงเรียนบ้านสามหลงั (ประชารังสรรค์)
๓. กระบวนการผลติ ผลงาน
“3L model ขับเคลื่อนความรู้ คู่คุณธรรม” เป็นเทคนิคที่ใช้ในการบริหารงานเพื่อพัฒนาโรงเรียน
ให้เป็นโรงเรยี นคุณธรรม โดยใช้กระบวนการบริหารจัดการศกึ ษาด้วยมิติการขับเคลื่อน EQI to SUK๒Model
ของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทยั เขต ๒ โดยใชก้ ระบวนการ ๕A to S ดังนี้
3L model คือเทคนิคหรือวิธีการบริหารที่ข้าพเจ้านำมาประยุกต์ใช้ในการขับเคลื่อนโรงเรียนบ้าน
สามหลงั (ประชารงั สรรค)์ มีดงั นี้
L1: Learning Culture หมายถึง วัฒนธรรมการเรียนรู้ไม่รู้จบหรอื การไม่หยดุ ที่จะเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองทำใหต้ นเองเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน พร้อมทง้ั มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมในตนเอง
L2: Learning by Doing หมายถึง การสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ ซ่ึงเปน็ กระบวนการร่วมกันพัฒนา
กิจกรรมการสร้างการเรียนรู้ของกลุ่มครู มุ่งสู่การจัดกิจกรรมที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญควบคู่ไปกับคุณธรรม
เพื่อใหน้ ักเรียนเกิดการเรยี นรู้ทยี่ ่ังยืน
L3: No one left behind หมายถงึ ไมม่ ีใครโดนท้งิ ไวข้ า้ งหลงั เปน็ การจดั กจิ กรรมด้วยความร่วมมือ
ร่วมใจจากทุกภาคส่วน การมีส่วนร่วมในสถานศึกษา และมุ่งเน้นให้ทุกคนเกิดการปรับเปลี่ยน พัฒนา และ
สามารถที่จะทำงานร่วมกันได้อย่างเป็นทีมและมีความสุขในการปฏิบัติงานและจุดมุ่งหมายที่สำคัญของการ
พัฒนาคือ “นกั เรยี นมคี วามร้คู ่คู ณุ ธรรม” อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
๓
แผนภาพท่ี ๑ ภาพแสดง “3L model ขับเคลือ่ นความร้คู ู่คุณธรรม”
การดำเนินงานขับเคล่ือนนนวัตกรรม“3L model ขบั เคลื่อนความรคู้ ู่คุณธรรม” โดยใช้กระบวนการ ๕A to S
ดงั นี้
A1: Awareness สร้างความตระหนกั รู้
ความตระหนกั เป็นสิ่งสาํ คัญซึ่งการทาํ ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา มคี วามตระหนักในคุณภาพทํา
ให้ผู้ปฏิบัติรู้ถึงลักษณะเฉพาะที่สําคัญของคุณภาพทุกโครงการ กิจกรรม และรวมถึงวิธีทํางาน และมุ่งมั่นใน
การปฏิบัติหน้าที่ที่มีคุณภาพเท่านั้น ซึ่งมีหลายวิธีในการสร้างให้เกิดความตระหนักในคุณภาพ ความตระหนัก
ในการปฏิบัตติ ามมาตรฐานการปฏบิ ัติงานอยา่ งถูกต้องและปรบั ปรุงงาน เพื่อใหบ้ รรลุตามวัตถุประสงค์ของงาน
ที่กําหนดหลักการสร้างความตระหนักจึงต้องให้บุคลากรทุกคนมีความเข้าใจสถานะปัจจุบันอย่างถูกต้อง ซ่ึง
อาจกระทําได้ด้วยวิธีการที่หลากหลายไม่ว่า โดยจัดประชุมเป็นประจํา เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่าทุกคนทราบ
ให้บุคลากรมีสว่ นร่วมในการหาวิธีปอ้ งกันหรือลดปญั หาด้านคุณภาพ มีกิจกรรมส่งเสริมความตระหนักในเรื่อง
คุณภาพเสมอสถานศึกษาต้องตระหนักในภารกจิ หลักโดยมุ่งกาํ หนดเป้าหมายวางแผน และดาํ เนินการสู่
ความสําเร็จ ในการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจําปีจําเป็นต้องศึกษารายละเอียดกับ
การจัดทาํ โครงการ/งาน ใหส้ อดคล้องกบั นโยบาย/แนวทางการปฏิรูปการศึกษาในโรงเรียนสังกัดสาํ นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (การบริหารโรงเรียนตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา) มาตรฐานการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และประเด็นพิจารณาของสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษ าขั้น
พืน้ ฐานและของสถานศกึ ษา วิสยั ทศั น์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ กลยุทธข์ องโรงเรยี น สาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
ประถมศกึ ษาสุโขทยั เขต 2 และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
๔
A2: Agreement ทาํ MOU รว่ มกนั
การทาํ MOU : Memorandum of Understanding เป็นรปู แบบการจัดทําหนงั สือที่แสดงความ
ประสงคข์ องบุคคลหรอื นิติบคุ คลสองฝา่ ยหรอื มากกว่าน้ัน ทีจ่ ะทาํ ความร่วมมือกัน โดยเต็มใจทจ่ี ะปฏบิ ัตติ าม
เงอื่ นไขท่รี ะบุ มีการวางแผน ทาํ กจิ กรรมร่วมกันในภาพกว้าง โดยไม่ถือวา่ เป็นสญั ญาผกู มัดใด ๆ (non-legally
binding agreement) เนอื่ งจากไมม่ ีสภาพบังคับหากไมป่ ฏบิ ตั ิตามเปน็ เพยี งการแสดงเจตนาที่แนว่ แน่ของผู้ลง
นามว่าจะปฏิบัติตามเนื้อหาที่ระบุไว้ใน MOU ซึ่งปกติใช้สําหรับความตกลงที่มีขอบเขตจํากัด หรือมิได้มี
ลักษณะเป็นการถาวร มักจะมีการเรียกชอื่ อีกอย่างวา่ “บันทึกความเขา้ ใจความรว่ มมือ” เป็นหลักฐานยืนยันถึง
การสนับสนุนการทํางานร่วมกัน การให้ความช่วยเหลือด้านทรัพยากร องค์ความรู้ และบุคลากร ระหว่าง
หน่วยงาน
A3: Action มงุ่ ส่คู วามสําเร็จตามฝัน
การทํางานที่มีประสิทธิภาพ ควรมีทักษะในการทํางานของตนเอง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ บุคลากรควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้
1) มคี วามฉบั ไว เปน็ การใช้เวลาได้อยา่ งดที ส่ี ดุ รวดเรว็ ไม่ทํางานลา่ ช้า แบบเช้าชามเยน็ ชาม น่นั คอื
คนที่มีประสิทธิภาพถ้านายมอบหมายงานให้ทําภายในเวลา 10 นาที ก็ควรทําให้เสร็จตามกําหนด ไม่ควรใช้
เวลาถึงครึ่งชั่วโมง หรืองานบริการ ผู้รับบริการย่อมต้องการความรวดเร็ว ดังนั้นผู้ให้บริการจะต้องสร้าง
วฒั นธรรมการให้บรกิ ารแบบเบ็ดเสรจ็ จดุ เดยี ว (One Stop Service)
2) มีความถกู ต้องแม่นยํา เปน็ การผิดพลาดในงานน้อย ตลอดจนมคี วามแม่นยําในกฎระเบียบ ขอ้ มลู
ตัวเลข หรือสถิติต่าง ๆ ตลอดจนไม่ควรประมาทเลินเล่อจนทําให้เกิดความเสียหายแก่องค์กร และต้อง
ตรวจทานงานกอ่ นเสนอผบู้ รหิ ารเสมอ
3) ความรู้ คือองคค์ วามร้ใู นงานดี ร้จู ักศึกษาหาความรู้ในเร่ืองงานทก่ี ําลงั ทําอย่ตู ลอดเวลา แต่คนที่มี
ประสิทธิภาพจะเป็นผู้ที่แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ทั้งการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จากองค์กร เรียนรู้จาก
ผอู้ ืน่ เรียนรู้จากอนิ เทอรเ์ น็ต นําความรนู้ ั้นมาปรับปรงุ การทาํ งานให้ดขี ้ึน
4) ประสบการณ์ เป็นการรอบรู้ หรือรู้รอบด้าน จากการการได้เห็น ได้สัมผัส ได้ลงมือปฏิบัติบ่อย ๆ
มิใชม่ ีความรดู้ ้านวิชาการแตเ่ พียงอย่างเดียว ผูม้ ปี ระสบการณ์สูง จะทาํ งานผดิ พลาดน้อย
5) ความคดิ สร้างสรรค์ เปน็ การคิดริเรม่ิ สิง่ ใหม่ ๆ มุมมองแปลกใหมเ่ รียกวา่ นวตั กรรม (Innovation)
มาใช้ในองค์กร เช่น คิดระบบการให้บริการใหม่ ๆ ที่ลดขั้นตอน คิดระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานแบบ
ใหมค่ ดิ วิธีการบริหารงานแบบเชิงรุกดังน้ันคนท่ีทาํ งานมีประสิทธภิ าพจึงเปน็ คนทชี่ อบคิด หรือเกง่ คิด หรือมอง
ไปขา้ งหนา้ ตลอดเวลาทเ่ี ราเรียกวา่ มี วสิ ัยทศั น์ (Vision) ไมใ่ ชพ่ วกท่ชี อบทาํ งานตามคาํ สั่ง และจะตอ้ งไม่ทาํ งาน
ประจําวันเหมือนกับหุ่นยนต์ การพิจารณาความมีประสิทธิภาพของบุคลากรในองค์กรที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น แต่ก็สามารถนํามาใช้เป็นกรอบหรือทิศทางในการประเมินบุคคลในการปฏิบัติงาน
เพื่อพิจารณาความดคี วามชอบ หรอื เลอื่ นชน้ั เลอ่ื นตําแหนง่ ได้เปน็ อย่างดี
๕
A4: Advice พัฒนาร่วมกนั ด้วยการนิเทศ
การนิเทศเป็นการเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงการดําเนินงานและปฏิบัติงานการสนับสนุนติดตามและ
ประเมนิ ผลการส่งเสริมความร่วมมือของบุคลากรใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์รวมท้ังการรับฟงั ความคิดเห็น เพ่ือการ
แลกเปลยี่ นเรยี นรเู้ พื่อใหเ้ กิดการพัฒนาบุคคลส่งผลใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นการสรา้ งการประสาน
สัมพันธ์ ระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ ซึ่งเป็นผลมาจากการทํางานร่วมกัน รับผิดชอบร่วมกันมีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อสร้างขวัญและกําลังใจมุ่งให้กําลังใจแก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา
หลังจากเราเร่มิ ลงมือปฏิบัตไิ ปไดส้ ักระยะ ตอ้ งเร่ิมทําการตรวจสอบความคืบหน้าของสิ่งที่เราได้ลงมือปฏิบัติไป
นั้นว่าเป็นไปตามแผนงานหรือไม่ ซึ่งสิ่งที่จะบ่งบอกได้ก็คือตัวชี้วัดที่เรากําหนดไว้ถ้าจุดที่เราตรวจสอบได้ผล
ลพั ธ์ตามตัวชีว้ ดั ที่เราตัง้ ไวห้ รือดกี วา่ แสดงวา่ วิธีการที่เราเลือกใชน้ ้ันยังคงถูกต้อง
A5: Award ประสบความสําเร็จมอบรางวลั
การให้รางวลั และสร้างระบบการใหผ้ ลตอบแทนเปน็ กลยุทธท์ ีส่ าํ คญั มาก รางวลั จะเปน็ ตวั กระตุ้นและ
เป็นแรงผลักดนั ให้บคุ ลากรสรา้ งผลงานออกมา การที่จะทําให้ผู้ปฏบิ ัติงานในองค์การมีความมุ่งมั่น มีแรงจูงใจ
ในการทํางาน ระบบการให้รางวัลเป็นปัจจัยที่จะส่งเสริมผลการปฏิบัติงาน เป็นการจูงใจที่มีประสิทธิภาพ แต่
การให้รางวัลนั้น ไม่จําเป็นต้องได้รับเป็นสิ่งของเงินทองเสมอไป อาจเป็นการให้รางวัลโดยการยอมรับ ดังน้ัน
ในฐานะผ้บู ริหาร หวั หน้างานจึงควรทราบเพื่อจะไดน้ าํ ไปใช้ในการบริหารทีมงาน นอกจากนี้รวมถงึ งานเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์เพื่อช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของหน่วยงานไห้ดีขึ้น สร้างความรู้สึกประทับใจที่บุคคลหลาย ๆ
กลมุ่ ทีม่ ีตอ่ หนว่ ยงาน โดยเผยแพรช่ แ้ี จงข่าวสารใหป้ ระชาชนเหน็ คณุ ความดีให้เกิดความเลอ่ื มใสและสร้างความ
ผกู พนั ทางใจ ทําให้เกดิ ความร่วมมือกบั หน่วยงานและฝา่ ยบริหาร
(to S) Success =ความสำเรจ็ ที่มปี ระสิทธิภาพ คณุ ภาพ และภาพลกั ษณท์ ีด่ ี
๖
๔. ผลการดำเนนิ งาน/ผลสมั ฤทธ์/ิ ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั
ผลทเ่ี กิดตามจุดประสงค์
๑. โรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์) มีนวัตกรรมการบริหารคือนวัตกรรม “3L model
ขับเคลือ่ นความรูค้ ู่คณุ ธรรม” ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เพื่อพฒั นาสถานศึกษาสโู่ รงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
๒. นักเรียนมีคุณธรรมตามอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์) คิดเป็นร้อยละ
๙๓.๕๐ ตามตารางที่ 2
ตารางท่ี ๒ ตารางแสดงผลการประเมนิ คุณธรรมอตั ลักษณข์ องนักเรยี นโรงเรยี นบา้ นสามหลงั (ประชารังสรรค์)
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕
ุคณธรรมเ ้ปาหมาย พฤติกรรมบ่งช้ีเชิงบวก ปกี ารศึกษา 2564 ผ่านเกณฑ์
้รอยละ
ผ่านเกณฑ์
้รอยละ
ปีการศึกษา 2565
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม
ความพอเ ีพยง 1. รู้จกั การอดออมเงนิ 172 161 333 254 76.28 169 162 331 270 81.57
และเข้าร่วมโครงการ
ธนาคารโรงเรยี น 172 161 333 312 93.70 169 162 331 331 100
ความ ัรบผิดชอบ ความ ่ืซอ ัสต ์ย 2. ใช้อุปกรณ์การเรยี น 172 161 333 297 89.72 169 162 331 305 92.14
อย่างประหยดั คุ้มค่า
ปดิ ไฟ ปดิ พดั ลมเม่อื
ไมใ่ ชง้ าน
1. เกบ็ ของหรือเงินได้
นำมาสง่ ครู
1. นกั เรียนมคี วาม 172 161 333 320 96.10 169 162 331 327 98.79
รับผิดชอบในหนา้ ท่ขี อง 172 161 333 333 100 169 162 331 331 100
ตนเอง
2. มคี วามสามคั คี มี
ความเปน็ ระเบยี บวนิ ยั
๗
๓. ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนโรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์) มีความพึงพอใจต่อการใช้
หลักการบริหารจัดการ “3L Model ขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม”ในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมตาม
คณุ ธรรมเป้าหมายของโรงเรียนบา้ นสามหลงั (ประชารังสรรค์) อยใู่ นระดับพอใจมากขึ้นไป รอ้ ยละ ๘๕
ดงั ตารางที่ 3
ตารางท่ี 3 แสดงความพงึ พอใจในการบรหิ ารโรงเรียนบ้านสามหลงั ประชารงั สรรคด์ ้วย 3L โมเดลขับเคลอ่ื นความรู้
ค่คู ุณธรรม
ผลสัมฤทธขิ์ องงาน
การใช้หลักการบริหารจัดการแบบ “3L Model ขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม”ส่งผลให้ผู้ร่วมงาน
ทุกฝ่ายรวมทั้งนักเรยี นมีความรู้คูค่ ุณธรรมตามคุณธรรมเป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดี
ข้ึนอันเปน็ ผลพลอยไดท้ ี่ตามมาซึง่ เป็นไปตามจดุ มุ่งหมายท่สี ังคมต้องการนั่นก็คือเป็นคนดี และมีความสุขจาก
การดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงงานและโครงการต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับแนวทางของโครงการโรงเรียน
คุณธรรม สพฐ. จะเห็นได้ว่าโรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์)ได้รับการยอมรับจากทุกฝ่ายท้ัง
สถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและนักเรียน มีผลการปฏิบัติงานที่ดี ซึ่งส่งผลให้ผู้ปกครองไว้วางใจส่งบุตรหลาน
เขา้ มาเรยี นในโรงเรยี นเพ่ิมชึน้
ด้านโรงเรียน
๘
ดา้ นผู้บริหาร
ดา้ นครู
๙
ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั
โรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์) มีนวัตกรรมที่เป็นหลักการบริหารจัดการแบบ
“3L Model ขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม” เป็นกระบวนการในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เพอื่ ให้นกั เรียนมคี วามรคู้ ูค่ ณุ ธรรมอยู่ในสงั คมอย่างมีความสขุ
๕. ปจั จยั สูค่ วามสำเรจ็
๑. หลักการบริหารจัดการแบบ “3L Model ขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม” เป็นหลักการบริหาร
จัดการที่เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีบทบาทในการวางแผนการจัดการศึกษาร่วมกัน
ให้ความสำคัญกับการทำงานเป็นทีม คุณภาพของงานเกิดจากการสร้างสรรค์จากภายในสู่ภายนอก กล่าวคือ
คุณภาพของโรงเรียนต้องเกิดจากฝีมือของบุคลากรในโรงเรียน โดยมีบุคลากรภายนอกคอยให้การสนับสนุน
เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินงาน โดยบุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหาร ผู้ปกครองและชุมชน
ต้องมีความตระหนักในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมตามคุณธรรม เป้าหมายของโรงเรียนได้แก่
ความซื่อสตั ย์สจุ รติ ความรบั ผิดชอบ และความพอเพียง และบูรณาการสู่การพัฒนาคณุ ธรรมดา้ นอนื่ ๆ ต่อไป
๒. หลักการบริหารจัดการแบบ “3L Model ขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม” เป็นหลักการบริหารท่ี
สอดคล้อง กับบริบทของโรงเรียนที่ได้จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และประสบการณ์ในการบริหารโรงเรียน
นวัตกรรมหลักการบริหารโรงเรียนที่สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน ภายใต้
แนวคิด “ให้ทุกคนได้หันหน้าเข้าหากัน ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันสร้างสรรค์คนดี” ตามคุณธรรม
เป้าหมายมีความซอื่ สตั ย์สุจรติ มีความรบั ผดิ ชอบ มคี วามพอเพยี ง เพอ่ื นำสถานศึกษาสู่โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
ทใี่ ช้กระบวนการ “3L model” ในการดำเนนิ งานและสามารถนำไปประยุกต์และขบั เคล่ือนได้กับทุกกิจกรรม
ทุกโครงการ ของโรงเรียนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
๖. บทเรียนท่ีได้รับ
หลักการบริหารจัดการแบบ “3L Model ขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม” เป็นรูปแบบการบริหาร
จัดการที่สามารถพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมตามเป้าหมายของโรงเรียนบ้านสามหลัง(ประชารังสรรค์)
ให้ประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับ และมีความพึงพอใจของบุคคลที่มีส่วนได้เสียขององค์กร ซึ่งเหมาะที่
จะขับเคล่อื นโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. และบรู ณาการสู่การพัฒนาคณุ ธรรมดา้ นอ่ืน ๆ ต่อไป
๗. การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรบั
การเผยแพร่
ผู้รายงานได้มีการเผยแพร่นวัตกรรมหลักการบริหารจัดการแบบ 3L Model ขับเคลื่อนความรู้
คูค่ ณุ ธรรมดงั นี้
๑๐
๘. เง่อื นไขความสำเร็จ
หลักการบริหารจัดการแบบ “3L Model ขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม”โรงเรียนอื่น ๆ จะนำไป
ประยุกต์ใช้ข้อควรระวังคือ เริ่มจากในแต่ละโรงเรียนย่อมมีบุคลากรที่มีลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน หาก
ผู้ร่วมงานโดยส่วนใหญ่มีศักยภาพและมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน โมเดลขับเคลื่อนความรู้คู่คุณธรรม
โรงเรียนอื่น ๆ จะนำไปประยุกต์ใช้ ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำอย่างสูง แล้วต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ในการ
บริหารงานเพ่ือขับเคล่ือนสถานศึกษาให้ประสบความสำเรจ็ นอกจากน้ี ผบู้ ริหารจำเป็นต้องมีการพัฒนาตนเอง
อยู่สม่ำเสมอ เพื่อนำองค์ความรู้ต่าง ๆ มาพัฒนาต่อยอดการบริหารสถานศึกษาต่อไป และต้องมีการประเมิน
ตนเอง วิเคราะห์องค์กร ตามหลัก swot Analysis เพ่อื เหน็ จุดแขง็ และจุดออ่ น จะได้มกี ารพฒั นาสถานศึกษา
ใหม้ ีประสิทธิภาพเป็นทย่ี อมรับของชมุ ชน
๑๑
เอกสารอ้างองิ
สุพล วังสินธ์.๒๕๔๕ , “การพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบเพื่อปฎิรูปกระบวนการเรียนรู้”วารสาร
ประกันคณุ ภาพ. ๕ (กรกฎาคม),๑๒-๑๔
พระราชดำรสั พระบรมราโชวาทเกยี่ วกบั ครู (ออนไลน์),แหลง่ ที่มา :
http://www.mcp.ac.th วนั ท่ี ๒๖ ก.ค.๒๕๖๓
๑๒
ภาคผนวก
เกียรติบัตร การตรวจสอบคุณภาพและยกระดบั คุณภาพโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ ๒ ดาว สำนกั งาน
พนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสโุ ขทัย เขต ๒
๑๓
สำเนาคำส่ังโรงเรยี นบา้ นสามหลงั (ประชารงั สรรค)์ ท่ี ๐๑๓/๒๔๖๔ ลงวนั ที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔
๑๔
สำเนาคำส่ังโรงเรยี นบา้ นสามหลงั (ประชารงั สรรค)์ ท่ี ๐๓๗/๒๔๖๔ ลงวนั ที่ ๒๘ มถิ ุนายน ๒๕๖๕
๑๕