The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการอบรมหลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปี 2562 (2) - Copy

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูกวาง แก้วกาญจน์, 2019-09-19 01:50:08

รายงานการอบรมหลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปี 2562 (2) - Copy

รายงานการอบรมหลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปี 2562 (2) - Copy

รายงานโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร
ดว ยระบบออนไลน

หลักสตู ร “การลดความเสีย่ งภยั พิบตั ิธรรมชาติ
และการปรับตัวรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ”

รหสั หลักสตู ร 62037 ปก ารศึกษา 2562

\

+

ผรู ายงาน
นางสาวแกวกาญจน ซิบเข

ตําแหนง ครูชํานาญการ
โรงเรยี นวดั สํานักครอ

บนั ทึกขอความ

สว นราชการ โรงเรยี นวดั สาํ นกั ครอ

ท่ี 299/2562 วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2562

เร่อื ง รายงานและเผยแพรผ ลการอบรมหลกั สตู ร “การลดความเส่ยี งภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตแิ ละการปรับตวั รับการ

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ” รหสั หลักสูตร 62037 ปก ารศึกษา 2562

เรียน ผูอํานวยการโรงเรียนวัดสํานักครอ
ดวยขา พเจานางสาวแกว กาญจน ซบิ เข ไดเขารบั การอบรมโครงการพฒั นาครูรปู แบบครบวงจรดวย

ระบบออนไลน หลักสตู รหลักสูตร “การลดความเส่ยี งภัยพิบัติธรรมชาตแิ ละการปรับตวั รับการเปลีย่ นแปลง

สภาพภูมอิ ากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปก ารศกึ ษา 2562 ต้ังแตว ันที่ 1 -13 กนั ยายน 2562

ไดเ รยี นออนไลนและทาํ แบบทดสอบผา นครบจาํ นวน 4 บทเรียน เปนทีเ่ รียบรอ ยแลว

บัดนี้การอบรมดังกลา วไดเ สรจ็ สิน้ แลว ขา พเจาขอรายงานการอบรมตามเอกสารดงั แนบ

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ

ลงชอื่ ................................................

(นางสาวแกว กาญจน ซบิ เข)
ครูโรงเรียนวัดสาํ นกั ครอ

ความคิดเห็นของผูบริหาร

…………..............................................................................……………………………………………

ลงชอื่ .....................................................
( นายโกวิท ทัว่ จบ )

ผอู ํานวยการโรงเรียนวัดสํานักครอ

คาํ นํา

โครงการพัฒนาครรู ูปแบบครบวงจร ของสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (สพฐ.) เกดิ ขน้ึ
จากนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทีต่ องการปฏิรปู ระบบผลิตและพฒั นาครู เพ่ือตอบสนองตอ การพฒั นา
ทรพั ยากรบุคคลอยา งมีระบบและมีประสทิ ธิภาพสูงสดุ มคี วามสอดคลอ งกบั แผนยุทธศาสตรร ะยะ 20 ป
(พ.ศ.2560 – 2579) ภายใตวสิ ยั ทัศน “ประเทศมีความม่ันคง มั่งค่ัง ย่งั ยืน เปน ประเทศพฒั นาแลว ดว ยการ
พฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

จากนโยบายดังกลาว สพฐ. จึงไดดําเนินการ โครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรของสาํ นักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โดยเชิญชวนสถาบันอุดมศึกษาหรือบุคคล องคก รชุมชน องคก รเอกชน
องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่นื นําเสนอหลักสตู รอบรมพฒั นาครูให
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน นําเสนอหลกั สตู รใหส ถาบันคุรุพฒั นา สํานักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา
ทําการรบั รอง และประชาสัมพนั ธใ หค รไู ดเลือกหลักสตู รเพอื่ พัฒนาตนเองตามความตองการ ความจําเปน
รายบคุ คล โดยจะดาํ เนินการจดั ทาํ ระบบลงทะเบียนและติดตามประเมินผลครผู ูเขารับการพัฒนา เพื่อใหค รู
สามารถเลือกอบรมตามความตองการ และหนวยงานสวนกลางสามารถบรหิ ารจัดการจดั สรรงบประมาณไปยัง
สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพอื่ เปน คาลงทะเบียนใหกบั ครทู ี่แจงความประสงคเ ขา รับการอบรมในหลกั สูตรตา ง
ๆ และสามารถทราบความตองการในการพฒั นาตนเองของครูในภาพรวมไดจ ากความสําคญั ดงั กลาว ผูรายงาน
ไดเลือกอบรมหลกั สูตร“การลดความเสีย่ งภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติและการปรับตวั รับการเปลยี่ นแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศ” รหัสหลกั สูตร 62037 ปการศึกษา 2562 ซงึ่ เปนหลักสูตรออนไลน เมอื่ ผา นการอบรมเรียบรอยแลว
จงึ ขอเสนอผลการประชมุ อบรมเพ่ือขยายผลการเรียนรูตอไป

นางสาวแกวกาญจน ซบิ เข

ผรู ายงาน

บันทึกรายงานผลการไปราชการ / การอบรมสัมมนา / การศึกษาดูงาน ของบคุ ลากร

โรงเรยี นวดั สํานกั ครอ สาํ นกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2

**************************************

วันท่ี 16 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2562

เรยี น ผูอํานวยการโรงเรียนวดั สาํ นักครอ

ตามทขี่ าพเจา นางสาวแกว กาญจน ซบิ เข ตําแหนงครู วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการ
โรงเรยี นวดั สาํ นกั ครอ ไดเ ขารวมอบรมโครงการพฒั นาครูรูปแบบครบวงจร ประจําป 2562 หลกั สูตร “การลด
ความเสีย่ งภยั พบิ ตั ิธรรมชาตแิ ละการปรบั ตวั รับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหสั หลักสูตร 62037
ปก ารศกึ ษา 2562 ซึง่ เปน หลักสตู รออนไลน ระหวางเดือนกนั ยายน 2562 ท่ผี านมา และไดรับการอนุมตั ิ
สามารถพิมพวุฒิบตั ร การสําเรจ็ การศึกษา หลักสูตร “การลดความเสย่ี งภยั พบิ ัตธิ รรมชาติและการปรับตัวรับ
การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ” รหสั หลักสตู ร 62037 ปการศึกษา 2562 ซ่ึงเปนหลกั สตู รออนไลน ใน
เดอื น กันยายน พ.ศ.2562

บัดนก้ี ารอบรมออนไลน หลกั สูตร “การลดความเส่ียงภัยพิบตั ธิ รรมชาติและการปรบั ตัวรับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปการศกึ ษา 2562 ซ่ึงเปน หลกั สูตรออนไลน ดงั กลา วได
เสร็จส้นิ เรยี บรอยแลว ขาพเจา ขอรายงานการอบรมโดยสรปุ เนอ้ื หาดงั นี้

โครงการหลกั สูตรความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียน

โดยความรวมมือระหวางกระทรวงศึกษาธิการ มูลนิธิศุภนิมิตแหงประเทศไทย และ Save the
Children เปาหมายเพื่อสรางความรูใหแก ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหรูถึงความเส่ียงภัยของตน
โดยเฉพาะในพ้นื ที่ และสามารถวางมาตรการ วิธกี ารทีเ่ หมาะสมตลอดจนสามารถดูแลผลกระทบเมื่อเกิดภัยพิบัติ
จากธรรมชาติ

บทที่ 1 ความเสยี่ งภยั ธรรมชาติและการประเมนิ ความเสี่ยง
บทที่ 2 อาคารสถานท่ปี ลอดภัย
บทท่ี 3 การจัดการภยั พบิ ตั ิในสถานศกึ ษา
บทที่ 4 การจัดเรียนการสอน
สามเสาหลกั ของความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียน
ความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียน ซึ่งอยูภายใตนโยบายและการปฏิบัติดานการศึกษา มีความ
สอดคลองกบั การบริหารจัดการภัยพิบัติในระดับประเทศ , ภูมิภาค , จังหวัดและดับพ้ืนที่รวมทั้งโรงเรียน กรอบ
แนวคดิ ความปลอดภัยรอบดานในโรงเรยี น ประกอบดวยสามเสาหลกั ไดแก
เสาหลักที่ 1 สิ่งอาํ นวยความสะดวกในการเรยี นท่ปี ลอดภัย

ผูมีบทบาทหลัก : บุคลากร/หนวยงานดานการศึกษาและการวางแผน สถาปนิก วิศวกร
ผูรับเหมากอสรางบุคลากรโรงเรียน และสมาชิกชุมชนท่ีมีบทบาทในการตัดสินใจดานการเลือกสถานที่ตั้ง
โรงเรยี นทป่ี ลอดภัย การออกแบบ การกอสราง และการดูแลรกั ษาโรงเรียน (รวมถึงการเขาถึงอาคารสถานที่และ
สิ่งอํานวยความสะดวกไดอ ยา งปลอดภยั สม่าํ เสมอ)
เสาหลกั ที่ 2 : การบริหารจดั การภัยพบิ ัตใิ นโรงเรียน

ผมู บี ทบาทหลกั : ผูบ รหิ ารภาคการศกึ ษาทง้ั ในระดบั ประเทศและระดับจังหวัด รวมทั้งชุมชนโรงเรียนใน
พ้ืนท่ีซึ่งรวมงานกับหนวยงานดานการบริหารจัดการภัยพิบัติท่ีเก่ียวของในแตละพ้ืนท่ี ในระดับโรงเรียน ไดแก
บุคลากรในโรงเรยี น นักเรียนและผปู กครองทม่ี สี ว นรวมในการดูแลรักษาสภาพแวดลอมทางการเรียนท่ีปลอดภัย
ตัวอยางกจิ กรรม เชน การประเมินและลดความเส่ียงทางสังคมส่ิงแวดลอม สาธารณูปโภคและความเสี่ยงที่ไมใช
โครงสรางและโดยการพฒั นาศกั ยภาพในการรบั มือภยั พิบัตแิ ละวางแผนการศกึ ษาตอเนอื่ ง

เสาหลักที่ 3 : การศึกษาดานการลดความเสี่ยงและการรูรบั ปรบั ตัวจากภัยพบิ ัติ

ผมู ีบทบาทหลัก : ผจู ัดทําหลักสูตรและสอ่ื การเรยี นการสอน คณะครศุ าสตร/ ศึกษาศาสตร ผูอ บรมครู
ครู กลุม เยาวชน ผนู าํ ในการจัดกิจกรรมเยาวชน และนักเรยี น ทจ่ี ะรวมมือการเพอื่ พัฒนาและสรา งความเขมแขง็
ใหก ับวฒั นธรรมแหงความปลอดภัยและมีความสามารถในการรูร บั ปรบั ตัวและพ้นื คนื กลับจากภัยพบิ ัติ

บทที่ 1 ความเส่ียงภัยธรรมชาตแิ ละการประเมินความเสี่ยง

1.วัตถปุ ระสงค
1.เพื่อใหต ระหนกั รูถึงผลกระทบของภยั ธรรมขาตมิ ตี อชีวิตมนษุ ยแ ละภาคการศกึ ษา
2.เพื่อใหเ ขา ใจหลกั การลดความเส่ยี งภัยพิบัตใิ นสถานศึกษา
3.เพื่อใหรูจักวธิ ีประเมินความเส่ียงภัยธรรมชาติ

2.หวั ขอ การเรียนรู
1.การสรา งความตระหนักในการลดความเสี่ยงภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
2.บทบาทหนา ท่ีของภาคการศกึ ษาในการจดั การภยั

3.แนวคดิ สาํ คญั
3.1 การลดความเสี่ยงภัยพบิ ัติ (ภยั ภยั พบิ ัติ ความเสย่ี ง ความเปราะบาง ความสามารถในการรับมือ)
3.2 การจดั การภัยพิบัติ

4.กรอบการทํางานสถานศึกษาปลอดภยั รอบดาน
5.การประเมนิ ความเสี่ยง (วิธีประเมนิ ความเส่ยี ง และเครอ่ื งมือตาง ๆ และวิธีใชเคร่ืองมอื )
6.การประเมินกอนเรียนและหลังเรยี น
หวั ขอ 1 : ความตระหนักในการลดความเสย่ี งภัยพิบตั ิทางธรรมชาติของสถานศกึ ษา

เปา หมายของการลดความเสย่ี งภัยพิบัติในสถานศึกษา คือ การท่ีบุคลากรทางการศึกษา ครูและนักเรียน
มีความสามารถในการเรียนรูค วามเสีย่ งภยั ของตนโดยเฉพาะภัยในพื้นท่ี สามารถวางมาตรการและวิธีการปฏิบัติ
ตลอดจนสามารถดูแลรักษาโครงสรางและกลไกพ้ืนฐานใหปลอดภัยเพื่อลดผลกระทบจากภัยธรรมชาตินั้น ๆ
และหากประสบภัยพิบัติจากธรรมชาติก็สามารถฟนตัวไดดวยแนวทางและทรัพยากรท่ีมีในระยะเวลาท่ี
เหมาะสม การรูจกั ความเส่ียงภยั ของตนเองอยา งแทจรงิ จึงเปนจุดเรม่ิ ตนในการวางแผนลดความเส่ียงภยั พิบัติ
หัวขอ 2 : บทบาทหนา ที่ของสถานศกึ ษาในการจดั การภยั พบิ ตั ิ

ปจจุบนั ประเทศไทยขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร "การจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภัย" ตามแผนการปองกัน
และบรรเทาสาธารณภยั แหง ชาติ พ.ศ.2558 ภายใต กรอบการทํางานลดความเส่ียงภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 - 2573
(Sendai Framework for. Disaster Risk Reduction 2015 – 2030 หรือ SFDRR) หรือท่ีเรียกกันสั้นๆวา
"กรอบเซนได" ซึ่งเปนกรอบการทํางานตามมาตรฐานสากลกินระยะเวลา 15 ป ระหวาง พ.ศ. 2558 ถึง พ.ศ.
2573

แผนการปองกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง ชาติ พ.ศ. 2558 ไดกําหนดบทบาทหนาที่ใหหนวยงานของ

รัฐมสี วนรวมในการลดความเสี่ยงภยั พบิ ัติ โดยกระทรวงศึกษาธกิ ารไดรับมอบหมายหนา ทีต่ อไปนี้

1. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเก่ียวกับการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกระดับช้ัน ตั้งแต
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา

2. สงเสริมหนวยงานการศึกษาใหมบี ทบาทในการชวยเหลือสนับสนุนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
3. สงเสริมใหความรูและสรางจิตสํานึกแกนักเรียน นักศึกษา ประชาชนใหมีสวนรวมในการปองกันและ

บรรเทาสาธารณภยั
4. สนับสนุนบุคลากรทางการศึกษา เชนลูกเสือ เนตรนารี เปนตน เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ

กองบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ และกองอํานวยการปองกันและบรรเทาสา
ธารณภัยในพื้นท่ี
5. สํารวจและจดั ทาํ ฐานขอมลู สถานศกึ ษาเพ่อื ใชเปนศนู ยพกั พงิ ช่วั คราว
หัวขอ 3 : แนวคิดสาํ คญั
3.1 เร่อื งการลดความเสี่ยงภัยพิบัติ
การลดความเส่ียงภัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction) คือแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการปองกันและ
ลดผลกระทบจากภัยดวยการวิเคราะหปจจัยท่ีเส่ียงท่ีจะทําใหเกิดภัยพิบัติ ไดแก ความรุนแรงของภัย ความ
ลอ แหลม ความเปราะบางของอาคารบา นเรอื นและคนในสังคม และศักยภาพในการรับมอื ภยั พิบตั ิ
ความเส่ียงจากภัยพิบัติมีองคประกอบสําคัญ 4 ประการ ไดแก ภัย (Hazard) ความลอแหลม (Expo-
sure) ความเปราะบาง (Vulnerability) และความสามารถในการรับมือ (Coping capacity)

ภัย (hazard) คือสภาวะอันตรายที่เกิดจากธรรมชาติหรือเกิดจากน้ํามือมนุษย ภัยธรรมชาติ เชน ฝน
ตก พายุแผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด คล่ืนกัดเซาะชายฝง ภัยธรรมชาติแบงไดตามลักษณะการเกิดคือภัยท่ีเกิด
ฉับพลันและภยั ท่ีเกิดขึ้นชาๆ และตองดูผลกระทบจากความรุนแรงของภัย ตัวอยางเชน พายุฤดูรอนท่ีเกิดขึ้นใน
หลายพื้นท่ีมีความรนุ แรงจนสรางความเสยี หายใหแกโครงสรา งอาคารเรียน

ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมีหลายรูปแบบ ที่สําคัญและเสียหายไดเปนอยางมาก คือ วาตภัย
อุทกภัย อัคคีภัยและแผนดินไหวผูเรียน สามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะของภัยธรรมชาติที่
เกิดขึน้ ในประเทศไทยไดจ าก เอกสารเร่อื ง ภยั ธรรมชาติในประเทศไทย โดยกรมอตุ นุ ิยมวิทยา

ภยั พิบตั ิ (disaster) หมายถึง “การท่รี ะบบตา งๆในสังคมหนึง่ ตองหยุดชะงักอันเปนผลมาจากภัย ไมวา
จะเปน ภยั ทางธรรมชาตหิ รือเกดิ จากมนษุ ย และภยั นน้ั ซึ่งสงผลกระทบรุนแรงตอชีวิต ทรัพยสิน เศรษฐกิจ สังคม
และสง่ิ แวดลอมอยางกวา งขวาง เกินกวาความสามารถของชุมชนจะรับมอื ไดโ ดยใชท รัพยากรที่มีอยู” จะเห็นได
วานิยามนี้กําหนดใหภัยพิบัติจะเกิดขึ้นเม่ือภัยธรรมชาติสงผลกระทบตอสังคมมนุษย หากภัยธรรมชาติไมสงผล
รา ยแรงตอสังคมมนุษยจะไมเรียกวาภัยพิบตั ิตามนิยามน้ี

3.2 วงจรการจดั การภยั พิบัติ (Disaster Management Cycle)

การจัดการภัยพิบัติ สามารถแบงเปน 3 ระยะ คือ ระยะกอนเกิดภัย ระหวางเกิดภัยและหลังเกิดภัย
โดยในแตละระยะมีแนวทางปฏิบัติกวางๆ ไดแก กอนเกิดภัยเปนเวลานานจะเปนการดําเนินมาตรการปองกัน
ไมใ หเ กิดภยั พบิ ตั ิ หรอื หากปองกันไมได กต็ อ งหาทางบรรเทาหรือลดผลกระทบ เรียกวา (Prevention and Mit-
igation) แตถายังมีโอกาสเกิดภัยแนนอนก็จะตองเตรียมความพรอมเพื่อเผชิญเหตุ (Preparedness) และใน
ระหวางเกิดภัย จะตองใชมาตรการการจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis Management) หรือการโตตอบสถานการณ
ฉุกเฉิน (Emergency Response) เพ่ือไมใหเกิดความเสียหายลุกลามจนทําใหภัยกลายเปนภัยพิบัติ และเมื่อ
เหตุการณเลวรายนั้นไดผานไปแลว จะตองดําเนินการฟนฟูเยียวยา และการบูรณะซอมแซม (Rehabilitation
and Reconstruction) สิ่งทีเ่ สยี หายใหปลอดภัยกวาเดมิ

หัวขอ 4 : กรอบการทํางานสถานศึกษาปลอดภยั รอบดา น
กรอบการทาํ งานดา นความปลอดภัยรอบดา นในสถานศึกษา
องคป ระกอบทง้ั สามเสาภายใตกรอบการทาํ งานเพ่ือความปลอดภยั รอบดา นในสถานศึกษา ไดแก

เสาท่ี 1 อาคารและสิ่งอํานวยความสะดวกในสถานศึกษาท่ีปลอดภัย (Safe Learning Facilities) เปน
เร่ืองเกี่ยวกับการพิจารณาสถานที่สรางสถานศึกษา การกอสรางท่ีถูกตองตามหลักกฎหมายและการกํากับดูแล
ความปลอดภยั ของสถานที่

เสาท่ี 2 การจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษา (School Disaster Management) เปนเรื่องเก่ียวกับการ
จัดสรรและบริหารทรัพยากรตางๆเพื่อการปองกันการสูญเสียและความเสียหาย ตลอดจนการฝกอบรมเพ่ิมพูน
ทักษะใหบ ุคลากรและนักเรยี นสามารถชวยเหลอื ตนเองใหปลอดภัย

เสาท่ี 3 การใหความรูดานการลดความเส่ียงและการรูรับปรับตัว (Risk Reduction and Resilience
Education) เปนการจัดการเรียนการสอนอยางตอเนื่องทั้งในเรื่องความรูและทักษะการลดความเสี่ยงและการ
ปรับตวั ใหพ รอ มรบั ภยั ธรรมชาติ

หวั ขอ 5 : การประเมนิ ความเสย่ี ง (วธิ ีประเมนิ ความเส่ยี ง และเครือ่ งมือตา งๆ และวธิ ีใชเ ครือ่ งมือ)
5.1 ปฏทิ นิ ฤดกู าล (Seasonal Calendar)

สถานศึกษาสามารถใชปฏิทินฤดูกาลเปนเครื่องมือแสดงใหเห็นความสอดคลองของชวงระยะเวลา
ฤดกู าล ชวงเวลาทเี่ กดิ ภยั และชวงเวลาจัดกจิ กรรมตางๆของสถานศึกษา ทําใหเห็นความเสี่ยงภัยธรรมชาติในแต
ชวงเวลา ปฏทิ ินของแตละสถานศึกษาอาจจะไมเหมือนกนั ขน้ึ อยูก บั บริบททางสังคมและสภาพอากาศ เชน เดือน
แหงการเร่ิมฤดูมรสุมของภาคเหนือยอมแตกตางจากภาคใต ภัยจากแผนดินไหวมีโอกาสเกิดในจังหวัดท่ีมีรอย
เลอื่ นมากกวา จงั หวดั ทไ่ี มมรี อยเลือ่ น ภยั สึนามิจะเกิดในพ้ืนที่ชายฝงทะเลดานอาวไทยและอันดามัน แตไมมีภัยสึ
นามใิ นภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โอกาสท่ีเด็กจะเปนอันตรายหากเกิดภัยพิบัติในชวง

เปดเทอมยอมสูงกวาโอกาสท่ีจะเกิดในชวงปดเทอม แตโอกาสที่เด็กจะจมนํ้าตายในชวงปดเทอมก็มีมากกวา
ในชว งเปดเทอม เปน ตน
ตัวอยางปฎทิ ินฤดกู าลที่แสดงภยั และสถานที่เสยี่ งภยั ในรอบป

5.2 แผนที่ความเส่ยี งภัยสถานศกึ ษา (School Risk Map)
การจัดทําแผนท่ีเสี่ยงภัยนั้นมีวัตถุประสงคเพ่ือใหทุกคนไดเขาใจตรงกันถึงพ้ืนที่เส่ียงภัย จุดเปราะบาง

จุดลอแหลมและทรพั ยากรตา งๆทม่ี ีในพ้ืนที่ และใชเปน เครอ่ื งมอื ชวยในการวางแผน ในการทําแผนที่เสี่ยงภัย จะ
ทําเปนแผนท่ีเฉพาะแสดงพนื้ ทภี่ ายในสถานศึกษา หรือจะทําเปนแผนที่ที่แสดงพื้นท่ีใกลเคียง เชน ชุมชนรอบร้ัว
สถานศกึ ษา หรอื พืน้ ทีอ่ ่ืนๆกไ็ ด ขึ้นอยูก ับวัตถปุ ระสงคท ตี่ องการ

ขอ แนะนําในการทําแผนทเ่ี สยี่ งภัยพิบตั ิธรรมชาติ

 แผนที่เสยี่ งภยั แสดงแผนผงั ของสถานศึกษา อาคารเรยี น อาคารประกอบ แตจ ะมีการใสขอมูลความ
เสี่ยงภัยหรือขอมูลภัยที่เคยเกิดภัยมาแลวในอดีต ควรมีการระบุความเปราะบาง เชน หองเรียน
หรืออาคารท่ีมีกลุมเปราะบาง เชน เด็กเล็ก เด็กพิการ หรือกลุมท่ีตองไดรับความชวยเหลือเปน
พเิ ศษ

 การทาํ แผนทค่ี วามเส่ียงภัยพิบัติธรรมชาติ อาจจะใชแผนท่ีเหมือนกับแผนผังหนีไฟของสถานศึกษา
ก็ไดแตตองพิจารณาผลกระทบของภัยและลักษณะของภัย หากเปนภัยท่ีเกิดขึ้นอยางฉับพลันทันที
และสามารถใชเสนทางหนีภัยและจุดปลอดภัยท่ีอยูในแผนปองกันอัคคีภัยได ก็สามารถใชแผนที่
รว มกนั ได

 แผนที่เสี่ยงภัยอาจจะใชเปนแผนท่ีแสดงเสนทางหนีภัยดวยคือตองระบุพื้นท่ีปลอดภัย เสนทาง
อพยพ

 แผนท่ีเสี่ยงภัยสถานศึกษาอาจจะขยายไปถึงการแสดงอาณาเขตรอบสถานศึกษา หรือสภาพ
กายภาพของชมุ ชนแวดลอม เชน วดั โรงพยาบาล สถานอี นามัย ท่ีทาํ การองคการบริหารสวนตําบล
สถานตี ํารวจ

 ในการทําแผนที่เส่ียงภัย ควรมีการเดินสํารวจสถานที่และควรใหนักเรียนไดเขามามีสวนรวมกับครู
เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกัน หากเปนการทําแผนท่ีที่ครอบคลุมชุมชนรอบนอก ก็จะตองมีการเดิน

สาํ รวจชุมชนและสมั ภาษณค นในชมุ ชนถึงประวัติการเกิดภัย เสนทางปลอดภัย และปจจัยแวดลอม
อนื่ ๆดวย
 หากสถานศึกษามีนักเรียนพิการ ควรใหนักเรียนพิการไดเขารวมกระบวนการหาขอมูลเพื่อสืบหา
การรับรคู วามเสี่ยงของนกั เรียนพิการ เพือ่ จดั ทาํ มาตรการและวางแผนท่ีเหมาะสมกับนักเรียนพิการ
ตอ ไป
โครงการลดความเส่ยี งภัยพิบัติในสถานศกึ ษา JICA

ตวั อยา งแผนท่ีเส่ียงภัยของสถานศกึ ษา

5.3 แผงผงั วงกลม (Venn Diagram)
วธิ กี ารนสี้ ามารถใชก ับการระดมความคดิ เพอื่ วิเคราะหหาความสัมพันธของผูที่เกี่ยวของ (stake holder

mapping) เชน การระบุหนวยงานหรือองคกรในพ้ืนที่ที่สามารถใหความชวยเหลือในการบริหารจัดการภัยพิบัติ
ได โดยวางตําแหนงหนวยงานท่ีมีความสัมพันธใกลชิดและสามารถขอความชวยเหลือไดรวดเร็วไวใกลตําแหนง
ของสถานศึกษา เปนตน วธิ ีนี้จะทาํ ใหม องเห็นท้ังความเปราะบางและศักยภาพของสถานศึกษาผา นเครอื ขาย

5.4 การจัดลําดับภยั ธรรมชาติที่มผี ลกระทบตอสถานศึกษา
ในการจัดทําแผนบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิธรรมชาตนิ ัน้ ควรประเมินความเสี่ยงภัยธรรมชาติเพื่อระบุความ

เส่ียงทย่ี อมรับไดแ ละความเสีย่ งทีย่ อมรบั ไมไ ด สถานศึกษาสามารถใชตารางกําหนดความเส่ียงและตารางอางอิง
ความถแ่ี ละตารางอางอิงคะแนนความเสีย่ งในการประเมนิ ความเส่ยี งภยั

บทที่ 2 อาคารสถานทป่ี ลอดภยั

1.วตั ถุประสงค
1.เพ่อื ใหเขาใจการประเมินความเสี่ยงของอาคารสถานท่ี สว นประกอบอาคาร
2.เพ่อื ใหเขา ใจหลกั การจัดพน้ื ทีใ่ ชสอยในอาคารและสภาพแวดลอ ม
3.เพ่ือใหสามารถจดั สภาพแวดลอมการใชพื้นท่ีใหป ลอดภยั

2.หัวขอการเรยี นรู
1.การประเมินความปลอดภยั ของอาคารสถานท่ี
2.การเลอื กท่ตี ง้ั สถานศึกษาใหปลอดภยั
3.ความเสี่ยงตอภยั พบิ ัตขิ องอาคารเรียน อาคารประกอบ วัสดุ ครภุ ัณฑท่ีอยใู นอาคาร
4.ความเส่ยี งของสภาพแวดลอมภายนอกอาคารและระบบสาธารณูปโภค
5.การจัดสภาพแวดลอมใหปลอดภยั
6.การจดั สภาพแวดลอมโดยคํานงึ ถึงการลดความเสย่ี งภยั พิบตั ิ
7.การจัดเสน ทางปลอดภัยและจุดรวมพลเพอ่ื การหนภี ยั ภายในโรงเรยี น
8.การจัดสิง่ อํานวยความสะดวกเพือ่ คนพิการ
9.ตัวอยางการปรบั ปรงุ อาคารสถานที่

3. แบบประเมนิ เร่อื งอาคารสถานท่ี (ศกึ ษาแบบประเมนิ )
1.สถานทต่ี ั้ง
2.สภาพอาคารเรยี น อาคารประกอบ (structural and non-structural) วสั ดุ ครุภัณฑ (ตอง link

กฎหมายควบคมุ อาคาร)
3.สภาพแวดลอ มภายนอกอาคาร (environment)
4.ระบบสาธารณูปโภค infrastructure นํ้า ไฟ ระบบระบายน้ํา ถนน ระบบสอื่ สาร เสาไฟฟา
5.การประเมินการเขาถงึ หรือการจดั สงิ่ อาํ นวยความสะดวกคนพกิ าร

หวั ข้อ : การประเมินความปลอดภยั ของอาคารสถานที
1. การประเมนิ ความปลอดภัยของอาคารสถานท่ี

สถานศึกษาถือเปนอาคารสาธารณะท่ีมีผูคนเปนจํานวนมากเขาไปใชในแตละวัน ไมวาจะเปนนักเรียน
ครู ผูป กครอง ดงั นน้ั จึงมกี ารบัญญัติการควบคุมการกอสรา งและการใชอาคารเรียนไวในกฏหมายควบคุมอาคาร
โดยกฎหมายควบคุมอาคารนั้นมีผลใชกับ “โรงเรียนและสถานศึกษา ซ่ึงเปนสถานท่ีอบรมใหการศึกษาแก
เยาวชนของ ประเทศเปนบุคลากรที่มีคุณภาพจนสามารถเปนฐานการพัฒนาประเทศ ดังนั้น อาคารของ

โรงเรียน และสถานศึกษาตางๆ จึงจะตองมีการกอสรางใหถูกตองและเปนไปตามหลักการวิชาการและตาม
กฎหมายควบคุมอาคารกําหนดต้ังแตอนุบาลจนถึงระดับปริญญา”ผูบริหารสถานศึกษาควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญ
ดานกฏหมายควบคุมอาคาร และควรศึกษาระเบียบกระทรวงศึกษาธิการท่ีเก่ียวของ เพื่อการวางแผนการ
ออกแบบ การกอสราง และการจดั ทํางบประมาณเพอ่ื การปรับปรุงแกไขอาคารเรยี น
1.1 การเลือกท่ีต้ังสถานศกึ ษาใหป ลอดภัย

สถานศกึ ษาจะตอ งตง้ั อยูใ นพื้นปลอดภัยและตองเลือกพ้ืนท่ีปลอดภัยในการกอสรางอาคารเรียน อาคาร
ประกอบ หรือสถานที่สําหรับกิจกรรม แมวาสถานศึกษาสวนใหญจะสรางไวนานแลว ควรจะมีการตรวจสอบ
ความปลอดภัยของสถานท่ีและพ้ืนที่โดยรอบอยูตลอดเวลา เพราะความเสี่ยงภัยพิบัติยอมเปล่ียนไปตามการ
เปล่ียนแปลงสภาพแวดลอม ตัวอยางเชน กรณี สถานศึกษาต้ังอยูติดกับทางลาดไหลเขา เม่ือเกิดฝนตกหนัก
ตอเนอ่ื ง สภาพดนิ ไมสามารถอมุ นาํ้ ตอ ไปได ทําใหเกิดดนิ สไลด ดงั ตวั อยา งตอไปนี้

ตวั อยา งขอพจิ ารณาในการเลือกพืน้ ที่สรางสถานศึกษาและอาคาร ไดแก

 พนื้ ทส่ี รางอาคารควรท่ีจะเปนทส่ี ูง นาํ้ ทวมไมถึง โครงสรา งชนั้ ดนิ แขง็ แรง ไมม ีทางนา้ํ ไหลผา นใตด ิน

 ท่ีตั้งของสถานศึกษาควรหางจากแหลง มลพิษ เชน โรงงาน นิคมอุตสาหกรรม สนามบนิ บอ ขยะ

 สถานทต่ี งั้ ของสถานศึกษาควรอยูติดหรือไมไกลจากเสนทางจราจรหลักเพ่ือใหควบคุมดูแลนักเรียนและ
รักษาความปลอดภยั แตควรมีประตสู าํ รองสาํ หรับใชเมอื่ เกิดเหตุฉุกเฉิน

1.2 ความเส่ยี งตอภยั พิบัติของอาคารเรยี น อาคารประกอบ วัสดุ ครุภณั ฑท ่ีอยูใ นอาคาร

ตัวอยางลักษณะความเส่ียงของพืน้ ที่ภายในอาคารเรยี น

 ทางเดินหรือบันไดทางขึ้นอาคารที่แคบ ไมมีราวจับ เมื่อจําเปนตองอพยพฉุกเฉิน ผูคนตองรีบเดินขึ้น
หรือลงอยา งรวดเรว็ อาจมกี ารลื่นพลัดตกหกลม และในกรณีท่ีมืด มองไมเห็นทาง หรือกรณีผูพิการทาง
สายตา การมรี าวจับตามบันไดจะชวยนาํ ทางและชว ยการทรงตัว

 ชองลมหรอื ชองทางเดนิ ท่มี ีการถายเทอากาศไมดี เมื่อเกิดไฟไหม ควันไฟจะลอยไปตามทางเดิน ชองลม
และหองตางๆ อยางรวดเร็วและไมระบายออก

 สายไฟ อุปกรณไฟฟาทีไ่ มไดม าตรฐาน ไมไ ดรับการดแู ล ติดต้ังผิดแบบ หรือมีการใชงานไมเหมาะสม จะ
ทาํ ใหเกดิ ไฟไหมไ ดง า ย

 ตูหรือช้ันวางหนังสือสูงที่ไมมีการยึดติดกับฝาผนัง อาจจะลมลงมาทับครูหรือนักเรียน สิ่งของที่วางไวที่
สูงและอาจจะตกหลน ลงมาโดนศรี ษะ โดยเฉพาะเวลาเกดิ เหตุแผน ดนิ ไหว หรอื เกิดพายุรุนแรง

 ประตูหรือหนาตางท่ีมีบานเปดเขาขางในจะใหการหนีภัยฉุกเฉินไมสะดวกควรติดตั้งบานประตูท่ีผลัก
ออก และเปนการปอ งกันน้ํา แบบเดยี วกับธรณปี ระตคู ือ เม่ือเปนแบบเปดออก จะทําใหดานนอกต่ํากวา
ดา นใน หากมีฝนตกสาด น้าํ กจ็ ะไหลออกไปขางนอก

 หนาตา งหรือประตูท่ีเปนบานกระจก มีโอกาสแตกเพราะแรงลม ไมวาจะเปนพายุฤดูรอน พายุหมุนเขต
รอน ลูกเห็บ หรือเศษกิ่งไมวัสดุสิ่งของที่ลมพัดมากระแทกบานกระจก ทําใหคนท่ีอยูใกลประตูหนาตาง
ไดร ับอันตรายจากเศษกระจกแตก

 ผนังอาคารและเสาที่ไมไดมาตรฐาน หรือมีอายุการใชงานมานาน อาจจะมีรองรอยปลวกกิน มีนํ้าร่ัวซึม
ทําใหช้ืนและข้ึนรา ใกลหมดสภาพการใชงานอาจจะพังถลมเมื่อถูกลมพายุ หรือเม่ือแชนํ้าเปนเวลานาน
หรือเมื่อไดร บั แรงส่นั สะเทือน ดังตวั อยางตอ ไปนี้

1.3 ความเสยี่ งของสภาพแวดลอ มภายนอกอาคารและระบบสาธารณปู โภคเมอ่ื เกดิ ภัยธรรมชาติ

 สถานศึกษาอยรู ิมน้าํ แตไมมรี ้ัวกน้ั เมื่อเกิดฝนตกนํ้าทวมทาํ ใหก ระแสนํ้าไหลทะลกั เขาพน้ื ที่

 ถนนหนทางกอ นถึงสถานศกึ ษาไมมีทางเดินเทาที่ปลอดภัย นักเรียนตองเส่ียงอันตรายในการเดินทางไป
และกลบั

 ประตูทางเขาสถานศึกษามีชองทางเดียวและไมกวางพอสําหรับยานหานะขนาดใหญ เชน รถ
บัส รถบรรทุกท่ีใชในการอพยพรถดับเพลิง และไมมีพื้นที่จอดรถสําหรับสถานการณฉุกเฉิน เชน
รถพยาบาล

 มีตนไมใหญ เสาไฟฟา ปายโฆษณารอบบริเวณสถานศึกษาอาจจะโคนลมเม่ือเกิดพายุ ควรพิจารณา
หาทางแกไ ข เชน ตดั เล็มกิง่ ไมท ่ีผุ แจงหนวยงานท่ีดูแลเสาไฟฟา ปายโฆษณาใหแกไข ควรมีการติดปาย
เตอื นนกั เรยี นใหระวัง

 บอนํ้าท่ีไมมีส่ิงกีดขวาง ไมมีปายเตือน ทําใหเกิดอันตรายจากการตกนํ้า จมน้ํา หรือทําใหมองไมเห็นวา
เปนบอนํา้ เวลาเกดิ นาํ้ ทวมสูงจนเปนระดบั เดียวกัน

 ทอระบายนํ้าท่ีเล็กเกินไป ไมมีตะแกรงกันเศษขยะ เศษดินโคลนทําใหอุดตัน เวลาเกิดฝนตกน้ําไม
สามารถระบายไดด ี ทาํ ใหเ กิดนํ้าทว มขังในพนื้ ท่ีและอาคารเรียน

 เตาเผาขยะ หรือพ้ืนท่ีกักเก็บขยะ ปฏิกูลอยูใกลอาคาร มีโอกาสที่จะเกิดการปนเปอนในอาหาร นํ้าดื่ม
นา้ํ ใช หรือเกิดมลพษิ ทางอากาศไดง าย

หวั ขอ : การจดั สภาพแวดลอมใหปลอดภัย

2. การจดั อาคารสถานท่แี ละสภาพแวดลอม
อาคารเรียนหรืออาคารประกอบเปนส่ิงกอสรางถาวร และยอมเกิดการชํารุดทรุดโทรมไปตามเวลา จึง

ตองรับการบํารุงรักษาอยูเสมอและดูแลใหสามารถรับนํ้าหนักของนักเรียนและส่ิงของตางๆในอาคาร เพ่ือไมให
เกิดอุบัติเหตุในขณะใชงานปกติและสถานการณเกี่ยวกับภัยธรรมชาติ สถานศึกษาจะตองดําเนินการตรวจสอบ
โครงสรางและสวนประกอบอาคาร ตลอดจนอุปกรณตางๆท่ีติดตั้งไวอยางสม่ําเสมอ หากพบความผิดปกติ ตอง
ส่ังปดอาคารและประกาศเปนเขตหวงหาม หรือเขตอันตราย หามเขาใชเด็กขาด จนกวาจะมีการซอมแซม หรือ
อาจจะจาํ เปน ตองรอ้ื ถอนอาคาร หากซอ มแซมไมไ ด

2.1 การจัดสภาพแวดลอมโดยคาํ นึงถงึ การลดความเสี่ยงภัยพิบัติ

 ถนนทางเขาออกในโรงเรียน ควรจัดใหเอ้ืออํานวยตอการอพยพและการเขาออกของรถพยาบาล
รถดบั เพลงิ ควรมจี ดุ จอดรถทส่ี ํารองไวสาํ หรับรถฉกุ เฉินโดยเฉพาะ

 ทางเขาออกทุกทางควรสรางทางลาดไวดวยเพ่ือความสะดวกในการใชรถเข็นนั่ง รถพยาบาล เตียง
พยาบาลในกรณที ่มี ีผบู าดเจบ็ ท่ีตอ งเคลอ่ื นยายดว ย

 ในกรณฉี กุ เฉนิ ท่ีตอ งรกั ษาความปลอดภยั อยางเขม งวด ควรจดั พื้นที่หนา โรงเรียนสําหรับผูปกครองมารอ
รับบุตรหลาน ไมควรใหผูปกครองเขามาในบริเวณสถานศึกษาหรือข้ึนไปรับบุตรหลานในอาคารถาไม
จําเปน

 จุดรวมพลของสถานศึกษาสวนใหญจะเปนพื้นทีสนามหญาหนาอาคาร ตองคํานึงถึงการเขาถึงของ
นักเรียนและเจา หนาทก่ี ภู ัย ซง่ึ อาจจะมที ง้ั พน้ื ที่ปฐมพยาบาล พื้นท่ีอํานวยการ พื้นท่ีกูภัย พ้ืนที่ที่เปนจุด
รวมพลและเสนทางไปยังจุดรวมพลตองไมมีส่ิงกีดขวาง เชน ไมมีเคร่ืองเลน ไมมีรั้ว ไมมีการปลูกตนไม
ขวางทางเขา ออกจุดรวมพล

 การใชพื้นที่อาคารเพื่อการเรียนและการจัดกิจกรรมตางๆ ควรมีการจัดการใชพื้นท่ีใหเปนระเบียบ เชน
จดั การใชพ น้ื ที่ใหมีการสัญจรไปในทิศทางเดียวกันดวยการกําหนดการเดินชิดขวาหรือชิดซาย ทางเดิน
กวางเพยี งพอ มีไฟฉุกเฉินตลอดทางเดิน ในจุดท่ีเปนอันตรายตองมีปายสัญลักษณ ปายเตือน เชน ปาย
ทางหนีไฟ ควรมี แผนผังอาคารเรยี นพรอ มเสนทางอพยพและจุดรวมพลติดตั้งไวท ุกช้ัน เปน ตน

 บางพ้ืนท่ีในอาคารเรียนอาจจะมีวัตถุอันตราย เชน เครื่องมือที่เปนของมีคม สารเคมีในหองปฏิบัติการ
วิทยาศาสตร ในหองเรียนคหกรรม อาจจะมีแกส ตูอบ นํ้ามัน ควรมีการเก็บของใหมิดชิดเรียบรอยและ
มีปายติดเพ่ือแนะนําการใชงานและเตือนอันตราย ควรมีเครื่องดับเพลิงติดไวในหองปฏิบัติการ
วิทยาศาสตรและหองคหกรรม มีการอบรมใหใชอุปกรณเครื่องใชไฟฟาท่ีถูกวิธี โดยเฉพาะปล๊ักไฟ
เตา เสียบ สายไฟ และตอ งมกี ารตดิ ตั้งระบบตดั ไฟ หรอื ระบบปองกันฟาผา

 ในกรณีที่มีเคร่ืองมือการเกษตรและเคร่ืองมือชาง เชน มีด จอบ พลั่ว ชะแลง สวาน เลื่อย ตองมีการ
ตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณอยางสม่ําเสมอ หากชํารุดใหซอมแซมหรือเปลี่ยน และเก็บใหเปน
ระเบียบเรียบรอย ในกรณีเกิดภัยพิบัติ อุปกรณการเกษตรและอุปกรณชางเหลานี้สามารถนํามาใช
ประโยชนไ ด

 ในกรณีทม่ี บี อ นา้ํ ในโรงเรียน ตอ งมีปา ยเตือนอนั ตรายหรอื จัดใหม ีร้ัวรอบขอบชิด

2.2 การจดั เสน ทางปลอดภัยและจุดรวมพลเพื่อการหนีภัยภายในโรงเรียน
ในกรณีเกิดภัยพิบัติในสถานศึกษา โดยเฉพาะในขณะที่มีนักเรียนเรียนอยู นักเรียนอาจจะตกใจ เกิด

ความสับสนอลหมานกับสถานการณท่ีไมคาดคิด จึงตองวางมาตรการปองกันอุบัติเหตุที่จะเกิดข้ึนอันเปนผล
ตามมาดวย เชน การผลัดตก หกลม โดนของมีคม ซ่ึงการจัดพ้ืนที่การใชงานก็จะชวยใหลดความเสี่ยงท่ีจะเกิด
อบุ ตั ิเหตดุ ังกลาวได

หลกั การจดั เสน ทางอพยพและจดุ รวมพล

1. ทางเดินตองกวางและพนื้ ตองทนตอความรอน

2. โครงสรา งบริเวณเสน ทางหนีภัย ตองทนไฟไดและมคี วามแข็งแรงเพ่อื ไมใหคานถลม มา

3. บันไดตอ งออกแบบมาสําหรับการหนหี รอื อพยพคนไปยังทางออก และมีราวจบั เพ่อื นาํ ทางมายงั ชั้นลาง

4. ไมมสี ง่ิ ของทเี่ ปน เช้ือเพลิงหรอื มีสิ่งของ เฟอรน เิ จอร วางอยใู นเสน ทางอพยพ

5. หามคลองโซกุญแจท่ีประตูหนีไฟช้ันลางโดยเด็ดขาด หรือหากมีการคลองกุญแจ ตองมีผูรับผิดชอบเปด
ประตทู นั ทีที่มีสญั ญานเตือนภยั

6. มีอุปกรณด บั เพลิงตง้ั ตามจดุ ตา ง ๆ

7. มีเคร่ืองหมายหนไี ฟ หรอื เครอื่ งหมายเสนทางอพยพตามเสน ทาง

8. มไี ฟฉกุ เฉนิ ตามเสน ทางหนีไฟทสี่ วา งเพยี งพอเพราะเวลาเกิดอัคคภี ยั ควนั จะทําใหมองเหน็ ไมชดั เจน

9. ในกรณีท่ีสถานศึกษามีนักเรียน ครู หรือบุคลากรที่มีความพิการ จะตองสอบถามถึงความชวยเหลือท่ี
จาํ เปนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เชน คนพิการบางคนอาจไมตองการความชวยเหลือเปนพิเศษแตบางคนอาจ
ไมสามารถเดินขึน้ -ลงบันไดได บางคนอาจไมส ามารถมองเห็นสญั ญาณความปลอดภัยจากอัคคีภัย บาง
คนมีปญหาในการคนหาทางออกหรือไมสามารถไดยินสัญญาณเตือนภัย หรืออาจจะไมเขาใจการเตือน
ภัย จึงตองจัดเสนทางอพยพท่ีมีสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อชวยใหคนพิการสามารถอพยพไดอยาง
ปลอดภัย

10. พ้ืนที่รวมพลที่ปลอดภัย ควรเปนพื้นท่ีกวาง เชน สนามหนาอาคารเรียน หากเปนการอพยพจากภัย
นํ้าปาไหลหลาก จุดรวมพลจะตองเปนท่ีสูง หากเปนวาตภัย ก็จะตองกําหนดพ้ืนที่ปลอดภัยในอาคาร
เรียน

11. การกาํ หนดจดุ รวมพล หรือจดุ ปลอดภยั ที่พานักเรียนมารวมตัวกันน้ัน จะตองมีการจัดระเบียบพ้ืนที่ดวย
โดยกําหนดใหพื้นท่ีตามหองเรียน เพื่องายตอการนับจํานวนและตรวจสอบผูสูญหาย และควรมีพ้ืนที่
สําหรับปฐมพยาบาล พ้ืนท่ีอํานวยการ และพ้ืนท่ีสําหรับรองรับผูปกครองที่มารับบุตรหลานในกรณี
ฉกุ เฉินดวย

สถานศึกษาควรติดตง้ั ปายทแี่ สดงความปลอดภยั ไวอยา งชัดเจน เชน ปายเกี่ยวกบั อปุ กรณดบั เพลิง

ปายทางหนไี ฟ

บทที่ 3 การจัดการภัยพบิ ตั ิในสถานศึกษา

1.วัตถปุ ระสงค
1.เพอื่ ใหเ ขา ใจแนวคดิ ที่เก่ียวของกับการจดั การภัยพิบตั ิในสถานศกึ ษา
2.เพื่อใหเ พื่อใหเ ขาใจหลกั การและสามารถทําแผนบรหิ ารจัดการภยั พิบตั ใิ นสถานศึกษาไดอ ยา งถูกตอง
3.เพื่อใหเ ขาใจวธิ กี ารจัดซอมอพยพและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในสถานศึกษา
4.เพ่อื ใหเ ขาใจทักษะในการตัดสินใจและสามารถเผชิญเหตฉุ ุกเฉนิ ไดเ บ้อื งตน
5.เพื่อใหเขาใจหลกั การจัดที่พักพิงช่ัวคราวในสถานศกึ ษา
6.เพื่อใหเขา ใจความจําเปน ในการใหก ารคุม ครองเด็กในสถาณการณภ ัยพิบตั ิ
7.เพอ่ื ใหเขา ใจความจําเปนในการจดั การเรียนการสอนใหตอเน่อื งในสถานการณภยั พบิ ัติ

2.หวั ขอการเรียนรู
1. กลไกในการจัดการภยั พิบตั ิในสถานศึกษา
1.1 แนวทางการประเมนิ ความเปราะบางและศกั ยภาพ
1.2 แนวทางการตัดสินใจสําหรับผูบรหิ ารสถานศกึ ษา
1.3 หนว ยงานท่เี ก่ียวของกบั การปองกนั และบรรเทาสาธารณภยั
2. การดําเนนิ การตามแผน
2.1 มาตรการลดความเสย่ี งภัยพิบัติในสถานศกึ ษา
2.2 แผนการแจงเตือนภัยและอพยพ
2.2.1 องคป ระกอบของแผน
2.2.2 ระบบเตือนภัยท่ีมเี ดก็ เปนศนู ยกลาง
2.2.3 วิธกี ารปฏิบัตินการอพยพ
2.2.4 การจดั กระเปา ฉุกเฉินประจําหองเรียน
2.3 การซอมแผนเตือนภยั และอพยพ (วดิ โี อจาก save the children)
2.3.1 กระบวนการซอมแผนอพยพ
2.3.2 การประเมินผลการซอม

2.4 การใชส ถานศึกษาเปนศนู ยพ ักพิงชัว่ คราวสําหรบั ผปู ระสบภัย
2.5 การจัดการเรยี นการสอนใหต อ เนื่องในสถานการณภยั พิบัติ
2.6 การคุม ครองเด็กในสถานการณภ ัยพิบตั ิ
2.7 การปฐมพยาบาล
2.8 การประเมินผลตามแผนบริหารจดั การภัยพิบตั ิ
2.9 มาตรฐานการปฏบิ ัตเิ มื่อเกิดภัย

หวั ขอ : กลไกในการจัดการภัยพิบตั ใิ นสถานศึกษา

1. กลไกการจัดการภยั พบิ ตั ิในสถานศึกษา
ควรมีการจัดต้ังคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษามีบทบาทเปนแกนนําในการวางแผน เฝา

ระวัง เตรียมพรอม และดําเนินกิจกรรมดานความปลอดภัยรอบดานในสถานศึกษา รวมถึงจัดการกอน ระหวาง
และหลงั เกิดภยั พบิ ตั หิ รือเหตุฉกุ เฉินในโรงเรยี น รวมท้งั ตดิ ตามและประเมนิ ผล
ขอควรคํานึงในการจดั ตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยรอบดา น มดี งั นี้

 ใหน ักเรียนมีสว นรวม (โดยเฉพาะนกั เรียนระดับชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 6 หรืออายุ 13 ปขึ้นไป) พรอมกับผู
ทีเ่ กี่ยวของอนื่ ๆ
o ผูบ รหิ ารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
o ผูแทนนกั เรยี น
o คณะกรรมการสถานศึกษา
o ผูแทนองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ผูนําชุมชน ปราชญชาวบา น
o หนว ยงาน/องคก รท่เี กยี่ วขอ งอนื่ ๆ ในพ้ืนท่ี เชน หนวยงานดานอนามยั องคก รพัฒนาเอกชน

 จดั ตงั้ เกณฑในการคัดเลอื ก/เลือกต้ังผูทจ่ี ะมาเปน คณะกรรมการฯ
 คดั เลอื ก/เลอื กต้งั คณะกรรมการฯโดยความยินยอมของผไู ดรับการเสนอชื่อ
 คณะกรรมการแตล ะฝา ยควรมีสมาชิกท้งั เพศหญงิ และชาย
 มีโครงการเสริมสรางศักยภาพใหแกคณะกรรมการแตละฝาย เชน โดยการจัดอบรมในโรงเรียน การสง

ผูแทนเขา รว มโครงการอบรมนอกสถานท่ี

บทท่ี 4 การจัดเรียนการสอน

1.วตั ถุประสงค
1.เพ่ือใหเ ขาใจเนื้อหาการจดั การเรียนรตู ามหลกั สูตรการลดความเสี่ยงภยั พิบตั ิและการปรับตวั เขา กบั

สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
2.เพ่ือใหครูผูสอนและครผู ชู ว ยสามารถจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรและพฒั นานกั เรยี น
3.เพ่อื ใหเ ขาใจกระบวนการพัฒนาส่อื การเรยี นการสอนและส่อื รณรงค

2.หวั ขอ การเรียนรู
1. หลักการจดั การเรยี นรเู ร่ืองการลดความเส่ียงภัยพบิ ัติ
2. การจัดการเรยี นการสอนเรื่องจัดการภยั พบิ ตั ใิ นหลักสตู รแกนกลางฯ
2.1 ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 - 3
2.2 ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6
2.3 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 1-3
2.4 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4-6
2.5 แหลงขอ มลู และเนื้อหาเกี่ยวกบั ภัยพิบตั ธิ รรมชาติ
2.6 การประเมนิ และวัดผลการจัดการเรียนการสอน
3. การจดั กจิ กรรมเสริมสูตรและพัฒนาผูเรยี น
3.1 ทักษะชวี ติ life skill good practice
3.2 แนวทางจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร
3.3 ตัวอยางกิจกรรมเสริมหลักสตู ร
4. บทบาทอาสาสมัครในสถานการณภยั พิบตั ิ
5. แนวทางการพัฒนาสอ่ื การเรยี นการสอนและส่อื รณรงค

หวั ขอ : หลกั การจดั การเรยี นรเู ร่ืองการลดความเสี่ยงภยั พบิ ตั ิ

หลกั การจัดการเรียนรูเรื่องการลดความเสีย่ งภัยพิบตั ิ
หลกั การจัดการเรียนรเู รื่องการลดความเสยี่ งภยั พิบัติตองมีองคประกอบ 5 มิติ ไดแก
1. ความเขาใจทางวิทยาศาสตรและกลไกการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ท้ังการศึกษาจากตํารา วิชาการและ
การศกึ ษาจากสภาพแวดลอ มจรงิ นอกหองเรยี น
2. การเรียนรแู ละฝก ฝนทกั ษะและขั้นตอนการปฏิบัตเิ พือ่ ความปลอดภยั ในบรบิ ทของภยั ตาง ๆ
3. ความเขา ใจปจ จยั ผลักดันที่ทําใหเ กิดความเสีย่ งและกลไกทท่ี ําใหภ ยั ธรรมชาติกลายเปน ภยั พิบตั ิ
4. สรางศกั ยภาพในการลดความเสย่ี ง ไมว าจะเปน สถานศกึ ษา ชมุ ชน และกลมุ สังคมตา ง ๆ
5. สรา งวัฒนธรรมแหง ความปลอดภัย (culture of safety) และการรูรับปรับตวั (resilience) ในสถานศกึ ษา

หัวขอ : การจัดการเรยี นการสอนเรื่องจัดการภยั พิบัติในหลกั สตู รแกนกลางฯ

การจดั การเรยี นการสอนเรือ่ งจัดการภยั พิบัตใิ นหลักสตู รแกนกลางฯ
เพ่ือใหสถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนเรื่องการลดความเสี่ยงภัยพิบัติและการปรับตัวไดอยาง

เหมาะสม ทั้งในและนอกหลักสูตร จึงไดมีการบรรจุเน้ือหาเร่ืองการจัดการภัยพิบัติไวในหลักสูตรแกนกลางข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งไดมีการปรับเน้ือหาตลอดจนบริบทใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการ
ของชุมชนและภูมิปญญาทองถ่ิน โดยจัดเปนรายวิชาพื้นฐาน มีการสอดแทรกเนื้อหาดานการลดความเสี่ยงภัย
พบิ ตั แิ ละการรับมอื กบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศไวในกลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร สุขศึกษาและพล
ศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และสามารถบูรณาการขามกลุมสาระ และจัดเปนรายวิชา
เพม่ิ เตมิ โดยมีวตั ถปุ ระสงคแ ละขอบเขตดังน้ี

2.1 ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 1 – 3
วตั ถปุ ระสงคการเรียนรู ไดแก

 ใหนักเรียนมีความรู และความเขา ใจถึงอนั ตรายของภัยพิบัติและการรักษาชวี ิตของตนเอง
 ใหนกั เรยี นเรียนรวู ธิ กี ารแจง เหตุใหครหู รือผูปกครองทราบ
 ใหน ักเรียนรูจกั การสังเกตการเปลยี่ นแปลงของสภาพอากาศ
 ใหนักเรยี นมีสวนรวมในการปรับสภาพแวดลอมในทองถน่ิ

2.2 ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 4-6
วัตถุประสงคการเรียนรู ไดแ ก

 ใหน ักเรยี นเรียนมีการปฏบิ ตั ิตนไดอยา งเหมาะสม สามารถปองกันตนเอง ดแู ลตนเองและผอู ่นื ให
ปลอดภยั ไดเมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉิน

 ใหนกั เรยี นมสี ว นรวมรณรงคในการใชทรัพยากรเพอ่ื พทิ ักษสิ่งแวดลอ ม
 ใหนักเรยี นศึกษาสาเหตุการเกิดภัยธรรมชาตแิ ละรูจักการเตรียมพรอ ม

2.3 ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 1-3
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ตองเพ่ิมรายละเอียดเน้ือหามากย่ิงขึ้น และรูปแบบการเรียนการสอน

ตองมีความเปนรูปธรรมมากข้ึน ในระดับนี้ควรมีเปาหมายที่สงเสริมใหผูเรียนมีการปฏิบัติตนในการชวยเหลือ
สังคม เชน กิจกรรมอาสาสมัคร กิจกรรมพ่ีสอนนอง การสรางแบบจําลองภัยพิบัติ การเตรียมความพรอมรับมือ
กับภัยอยางเหมาะสม ทกั ษะการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน

การเผยแพรความรู ประสบการณ ทักษะ และอื่น ๆ แกผ ูทเ่ี กยี่ วของ คือ

1. การนาํ ความรจู าก หลักสตู ร “การลดความเสี่ยงภยั พิบตั ิธรรมชาติและการปรบั ตัวรบั การเปลีย่ นแปลง
สภาพภูมิอากาศ” รหสั หลักสูตร 62037 ปก ารศึกษา 2562 ซงึ่ เปนหลักสตู รออนไลน ทีไ่ ดรบั มาถายทอดให
คณะครูระดบั ชน้ั อนุบาลปท ่ี 1 – ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ทกุ ทานนาํ ไปใชใ นการพฒั นานักเรียนในช้ันเรยี นของ
ตนเองตามกลมุ สาระการเรียนรูในระดบั ชัน้ เรยี นท่รี บั ผดิ ชอบ

2. ใหค รปู ระจําช้ัน/ครทู ป่ี รึกษาทาํ การประเมนิ นักเรียนในชนั้ เรยี นตามเทคนคิ และวธิ ีการตามความรูท ่ี
ไดรบั จากคลิปวิดโี อ หลกั สูตร “การลดความเสยี่ งภัยพบิ ตั ิธรรมชาตแิ ละการปรบั ตัวรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศ” รหัสหลักสูตร 62037 ปการศึกษา 2562 ซงึ่ เปน หลกั สตู รออนไลน

3. ใหค รูทกุ ทา นจัดเก็บรอยรอยหลกั ฐานการจัดกิจกรรมตางๆ ตามกลวิธีและเทคนิค หลักสตู ร “การลด
ความเส่ยี งภยั พิบัตธิ รรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหสั หลกั สูตร 62037 ป
การศึกษา 2562 ซงึ่ เปน หลกั สูตรออนไลน ระดบั ชนั้ เรียน เพ่ือเตรยี มรองรับการประเมินจากคณะกรรมการ
ประเมินในการขอมีหรือเลอื่ นวทิ ยฐานะตอไป

4. การประชาสมั พนั ธค ณะครูในโรงเรียนใหพัฒนาผลงานทางวิชาการตาม หลักสูตร “การลดความเสี่ยง
ภัยพบิ ตั ิธรรมชาตแิ ละการปรับตวั รับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ” รหสั หลักสตู ร ปการศึกษา 2562
ซ่ึงเปนหลกั สตู รออนไลน แลวนําไปทดลองใชก ับนักเรยี นของตนเอง เม่ือใชแ ลว เกดิ ผลดีสามารถพฒั นา เรือ่ ง
ของ ““การลดความเสยี่ งภยั พบิ ัตธิ รรมชาติและการปรับตัวรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ”” ในระดบั ชน้ั
เรยี นตอ ไป
ขอ เสนอแนะใหโ รงเรยี น พจิ ารณาดาํ เนนิ การ คอื

ทางฝายบรหิ ารควรกระตุนใหค รูทุกคนในโรงเรียนคดิ คน พฒั นานวตั กรรมพฒั นากิจกรรมตาม
หลักสูตร ““การลดความเส่ยี งภัยพบิ ัตธิ รรมชาติและการปรบั ตัวรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ”” ซึง่ เปน
หลกั สูตรออนไลน เพ่อื ชวยพัฒนานักเรียนในโรงเรยี น และเพื่อจัดทําเปนผลงานทางวชิ าการของตนเอง และ
โรงเรยี น

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ และพจิ ารณาดาํ เนินการตอไป

ลงชือ่ ................................................................................ผรู ายงาน

(นางสาวแกวกาญจน ซบิ เข)

ตําแหนง ครูโรงเรียนวัดสาํ นกั ครอ

เกยี รติบตั รที่ไดร บั หลงั การอบรม ให ณ วนั ท่ี 13 กนั ยายน 2562


Click to View FlipBook Version