The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 1052500415, 2021-12-24 02:09:34

แผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ 64

แผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ 64

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนชมุ ชนบ้านสนั กำแพง

สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง
เขต 1

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

สว่ นท่ี 1

สภาพท่วั ไปของโรงเรียน

1. ขอ้ มลู ทัว่ ไป

โรงเรียนชุมชนบ้านสันกำแพง ท่ีต้ัง 185 ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ โทร 054-343597 โทรสาร 054-343597 เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 เนือ้ ท่ที ้งั หมด 58 ไร่ 1 งาน 47 ตารางวา

เขตพ้ืนทบี่ ริการ จำนวน 8 หมบู่ ้าน คือ

1. บา้ นทงุ่ หลวง หมทู่ ่ี 5 ตำบลเมืองยาว อำเภอหา้ งฉัตร จงั หวดั ลำปาง

2. บา้ นสันกำแพง หมู่ท่ี 6 ตำบลเมอื งยาว อำเภอหา้ งฉตั ร จังหวัดลำปาง

3. บา้ นหนองบวั หมทู่ ่ี 7 ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง

4. บา้ นแม่ยามเหนือ หมูท่ ่ี 8 ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉตั ร จงั หวดั ลำปาง

5. บา้ นแม่ยามใต้ หมู่ท่ี 9 ตำบลเมืองยาว อำเภอหา้ งฉตั ร จงั หวัดลำปาง

6. บา้ นใหมส่ นั ปา่ ตงึ หมู่ที่ 12 ตำบลเมืองยาว อำเภอหา้ งฉตั ร จงั หวัดลำปาง

7. บ้านสนั กำแพงเหนือ หมูท่ ี่ 13 ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉตั ร จงั หวัดลำปาง

8. บ้านสนั กำแพงใต้ หมทู่ ี่ 14 ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จงั หวดั ลำปาง

ประวตั ิโรงเรยี นโดยย่อ
โรงเรียนชุมชนบ้านสันกำแพง ต้ังข้ึน เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2480 ณ วัดสันกำแพง

ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง เปิดสอนต้ังแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-4 โดยใช้ศาลาการ
เปรียญวัดสันกำแพง เป็นสถานที่เรียนใช้ชื่อวา่ “โรงเรียนประชาบาลตำบลเมืองยาว 2 (วัดสันกำแพง)”
มี นายปญั ญา ธนะบุญปวง ดำรงตำแหนง่ ครใู หญ่คนแรก ปี พ.ศ. 2483 ไดย้ ้ายโรงเรยี นจากวดั สัน
กำแพง มาตง้ั ในพืน้ ทป่ี ัจจุบัน

ปี พ.ศ. 2513 ได้ขยายพ้ืนท่ีโรงเรียน และได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนจาก
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล จำนวน 351,000 บาท เป็นอาคาร แบบ 008 ขนาด 10 ห้องเรียน ปี
พ.ศ. 2519 ได้เปล่ียนชื่อโรงเรียนเป็นโรงเรียนชุมชนบ้านสันกำแพง ปี พ.ศ. 2552 มีโรงเรียนบ้าน
ทงุ่ หลวง และโรงเรยี นบ้านแมย่ ามเหนือ มาเรียนรวม ปี พ.ศ. 2555 ไดร้ ับการคัดเลือกให้เปน็ โรงเรยี นดี
ศรีตำบล

2. ขอ้ มลู นักเรียนปีการศกึ ษา 2564
จำนวนนกั เรียนในโรงเรียนทั้งส้ิน 170 คน จำแนกตามระดบั ช้นั ที่เปดิ สอน

ระดับชนั้ เรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม
ชาย หญงิ
อ.1 1 35 8
อ.2 1 10 6 16
อ.3 1 13 9 22
รวม 3 26 20 46
ป.1 1 20
ป.2 1 12 8 20
ป.3 1 10 10 19
ป.4 1 5 14 18
ป.5 1 8 10 25
ป.6 1 16 9 22
รวม 6 11 11 142
รวมทั้งหมด 9 62 62 170

88 82

3. ข้อมูลครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

ที่ ชื่อ – ช่ือสกลุ ตำแหน่ง/ วฒุ ิ วชิ า เอก สอนช้นั
วิทยฐานะ
1 นายสมบตั ิ สุตา ผอ./คศ.3 ป.โท บรหิ ารการศึกษา -
2 นางสมศรี ธรรมไชย คร/ู คศ.3
3 นางสมุ นา แดงไผ่ คร/ู คศ.3 ป.ตรี ปฐมวัย อนบุ าล 1
4 นางแสงระวี สุตา คร/ู คศ.3
5 นางสวาท นามเสน ครู/คศ.3 ป.ตรี ภาษาอังกฤษ อนุบาล 2
6 นางชัญญานชุ โพธ์ิทอง ครู/คศ.2
7 น.ส.ชมพูนทุ ทิพย์มณี คร/ู คศ.3 ป.ตรี ประถมศกึ ษา อนุบาล 3
8 นางจนั ทนา ปวงทเุ ลา ครู/คศ.3
9 นางธีระพร สมชาติ คร/ู คศ.3 ป.ตรี ประถมศกึ ษา ประจำชั้นป.1
10 นางปรนิ า แก้วมา คร/ู คศ.3
11 นายบุญธรรม แก้วยอด ครู/คศ.3 ป.โท ภาษาองั กฤษ ประจำวชิ า
12 นางสมุ ติ รา กนั ธะดา อัตราจ้าง
13 น.ส.ชนิษฐา สารปา อัตราจา้ ง ป.โท หลักสตู รและการสอน ประจำชั้นป.2
14 นายณัฐกิตต์ิ ใจกันธา
15 นายสุเทพ ชำนาญการ ธรุ การ ป.โท บริหารการศกึ ษา ประจำชน้ั ป.4
ช่างไฟฟา้ 4
ป.ตรี ประถมศกึ ษา ประจำชน้ั ป.5

ป.ตรี คณติ ศาสตร์ ประจำช้ันป.6

ป.ตรี สงั คมศึกษา ประจำวชิ า

ป.ตรี วทิ ยาศาสตร์ ประจำชนั้ ป.2

ป.ตรี วิทยาศาสตร์ ประจำวิชา

ป.ตรี อตุ สาหกรรมศิลป์ -

ป.ว.ส ช่างกอ่ สรา้ ง -

4. โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นชุมชนบา้ นสนั กำแพงพุทธศักราช 2553 (ฉบบั ปรับปรงุ
พุทธศกั ราช 2562) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

เวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม ระดับประถมศกึ ษา

 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 200 200 160 160 160
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80 80 80 80 80 80
ประวัติศาสตร์ 120 120 120 120 120 120
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 40 40 40 40 40 40
หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวติ
เศรษฐศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
ภมู ศิ าสตร์
40 40 40 80 80 80
สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80
ศิลปะ 40 40 40 80 80 80
การงานอาชีพ 120 120 120 80 80 80
ภาษาต่างประเทศ 840 840 840 840 840 840

รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน)

 รายวิชาเพ่มิ เตมิ 40 40 40 40 40 40
คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร

รวมเวลาเรยี น (เพ่มิ เติม) 120 120 120 120 120 120

 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 120 120 120 120 120 120
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
ลูกเสือ เนตรนารี 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมชมุ นุม 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10* 10* 10* 10* 10* 10*

รวมเวลาเรียนท้ังหมด 1,080 ช่ัวโมง/ปี

หมายเหตุ 1) กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนจ์ ัดบรู ณาการรว่ มกบั กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี
2) หน้าทีพ่ ลเมืองจัดบูรณาการภายในกลุม่ สาระการเรยี นรูส้ งั คม ศาสนา และวัฒนธรรม
3) หลักสตู รตา้ นทจุ ริตศึกษาและพระราโชบายของในหลวงรชั กาลท่ี 10 จดั ในกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
4) หลักสูตรเพศวถิ ีศกึ ษา จดั บูรณาการในกล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา

5. การบรหิ ารจดั การศกึ ษา

โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นสนั กำแพง แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเปน็ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. ดา้ นการบรหิ ารวิชาการ
2. ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ
3. ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล
4. ดา้ นการบรหิ ารทัว่ ไป

ผบู้ ริหารยึดหลกั การบริหาร/เทคนิคการบริหารแบบการพัฒนาตามกระบวนการ P D C A

โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนชมุ ชนบา้ นสันกำแพง

ผู้อำนวยการโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษา
ผ้ปู กครองนกั เรยี น กล่มุ เครือข่ายเมืองยาว-แม่สนั

ด้านการบรหิ ารวชิ าการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทว่ั ไป
นางสวาท นามเสน นางธีระพร สมชาติ นางจนั ทนา ปวงทเุ ลา นายบญุ ธรรม แก้วยอด

1. นางสมศรี ธรรมไชย 1. นางสวาท นามเสน 1. นางสวาท นามเสน 1. นางสมศรี ธรรมไชย
2.นางแสงระวี สุตา 2. นางจันทนา ปวงทเุ ลา 2. นางธรี ะพร สมชาติ 2. นางสมุ นา แดงไผ่
3.นางสมุ นา แดงไผ่ 3. นางปรนิ า แกว้ มา 3. นางแสงระวี สตุ า 3. นางแสงระวี สตุ า
4.นางชัญญานุช โพธิ์ทอง 4. นายบุญธรรม แก้วยอด 4. นางสมศรี ธรรมไชย 4. นางสวาท นามเสน
5.น.ส.ชมพนู ุท ทพิ ยม์ ณี 6. นางชญั ญานชุ โพธ์ิทอง 5. นางสมุ นา แดงไผ่ 5. นางชญั ญานุช โพธ์ิทอง
6.นางจนั ทนา ปวงทเุ ลา 6. นางชญั ญานุช โพธ์ิทอง 6. น.ส.ชมพูนุท ทิพยม์ ณี
7.นางธีระพร สมชาติ 7. น.ส.ชมพูนทุ ทพิ ย์มณี 7. นางจันทนา ปวงทุเลา
8.นางปรินา แกว้ มา 8. นางปรินา แก้วมา 8. นางธรี ะพร สมชาติ
9.นายบญุ ธรรม แก้วยอด 9. นายบุญธรรม แกว้ ยอด 9. นางปรนิ า แก้วมา
10. น.ส.ชนษิ ฐา สารปา 10.นายณัฐกติ ติ์ ใจกันธา 10.นายณัฐกติ ต์ิ ใจกนั ธา
11. นางสมุ ติ รา กันธะดา 11.นายสเุ ทพ ชำนาญการ 11.นายสุเทพ ชำนาญการ
12.นายณฐั กิตต์ิ ใจกนั ธา
13. นายสุเทพ ชำนาญการ

วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย อัตลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

วิสัยทศั น์

โรงเรยี นชุมชนบ้านสนั กำแพง จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนานักเรียนใหเ้ ป็นคนเกง่ คนดี มคี ุณธรรม

ดำรงชวี ติ ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ

พันธกิจ

1. จัดการศกึ ษาเพอื่ รองรับการกระจายอำนาจโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน
2. พฒั นาปรับปรุงหลกั สูตรและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกบั ผเู้ รียน
3. ส่งเสริมกิจกรรมที่ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมที่ดีงามบน

พื้นฐานความเปน็ ไทย
4. สง่ เสริมใหบ้ ุคลากรไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง
5. ส่งเสริมให้ผ้เู รียนไดเ้ รียนรู้จากภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ แหลง่ เรยี นรู้ภายใน ภายนอกสถานศกึ ษา
6. จัดหา และผลิตสื่อนวัตกรรม และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนางานและกระบวนการ

เรียนรู้
7. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน ให้มีบรรยากาศเอ้ือต่อการเรียนรู้ สะอาด ปราศจาก

มลภาวะ
8. เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชน โดยผ่านกิจกรรม เน้นการมีส่วนร่วมของ

ชมุ ชน
9. ส่งเสริมพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยความร่วมมือของบุคลากรและ

ผเู้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย

เปา้ หมาย

เป้าหมายในการจัดการศึกษาในภาพรวม

1. โรงเรียนมีการบริหารจดั การท่ีได้มาตรฐานตามหลกั ธรรมาภิบาล
2. โรงเรยี นมหี ลักสตู รสถานศึกษาที่ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ ตอบสนองความถนดั และ

ความต้องการของผูเ้ รยี น ชมุ ชนและสงั คม
3. นกั เรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เปน็ คนเกง่ คนดี มีความสุข มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มี

ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง และสงั คม บนพน้ื ฐานความเปน็ ไทย น้อมนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่การดำรงชีวิต
4. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวชิ าชพี และสามารถจัดการเรยี นการ
สอนอยา่ งมีคุณภาพใหเ้ ออื้ ต่อการเรียนรู้
5. โรงเรียนพัฒนาแหล่งเรียนรูแ้ ละสภาพแวดล้อมใหใ้ ห้เออ้ื ต่อการเรียนรู้
6. โรงเรียนพฒั นาสื่อเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหค้ รแู ละ
นกั เรยี นใชอ้ ย่างมีคุณภาพ
7. ชุมชน ผู้ปกครอง และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ มีส่วนรว่ มในการสง่ เสรมิ /สนับสนนุ การศึกษา
8. โรงเรียนมรี ะบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาเปน็ ทย่ี อมรบั ของผู้ปกครอง ชุมชน และ
สามารถเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน

เปา้ หมายการจดั การศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั
1. เด็กมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมแลค่านิยมที่พึงประสงค์
2. เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตท่ีดี มีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี

และกีฬา
3. เด็กมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มคี วามคิดสร้างสรรค์
4. เด็กมีความรู้ และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่าง

ตอ่ เนือ่ ง
5. เด็กมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

สจุ รติ
เป้าหมายการจดั การศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐานของโรงเรยี น
1. ผ้เู รยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์
2. ผเู้ รียนมีสุขนสิ ัย สขุ ภาพกาย และสุขภาพจิตท่ีดี มีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี

และกีฬา
3. ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิด

ไตร่ตรอง และมวี ิสยั ทัศน์
4. ผู้เรียนมีความรู้ และมีทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก

การเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
5. มที ักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผอู้ ื่นได้และมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่ออาชพี สจุ รติ

อตั ลักษณข์ องสถานศึกษา
มารยาทดี มีความพอเพียง

เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
สง่ิ แวดลอ้ มดี บรรยากาศรม่ รนื่

แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

1. การตรวจสอบตัวชี้วัดตามมาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

2. วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียน

3. การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ัดตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา

4. การวเิ คราะหส์ าเหตุ และแนวทางแกไ้ ขมาตรฐาน และสาระการเรยี นร้ทู ่ีเป็นปญั หา

5. สรปุ สาเหตุ และแนวทางแกไ้ ขสาระการเรยี นรทู้ ม่ี ปี ญั หา

กลยทุ ธก์ ารพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

กลยุทธ์ ท่ี 1 พัฒนาการบรหิ ารการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
แนวทางการขับเคลื่อนกลยทุ ธ์

1. ใชห้ ลกั ธรรมมาภบิ าลในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา
2. จดั โครงสร้างองค์กรใหเ้ อือ้ ต่อการบริหารจดั การโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน และการบริหารเชงิ

ยทุ ธศาสตร์

3. จดั ทำคู่มือการบรหิ ารงานโรงเรยี น ใหบ้ คุ ลากรทุกคนรับทราบและมแี นวทางในการดำเนินงาน
4. พัฒนาการนิเทศ กำกับ ติดตาม ใหม้ ีความต่อเน่ืองครูทุกคนสามารถนเิ ทศซึ่งกันและกนั ได้
5. ปรับปรงุ ขอ้ มลู สารสนเทศให้เป็นปจั จบุ ันและนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นกระบวนการบรหิ ารจัดการ
6. คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ผปู้ กครอง นักเรียน ศิษย์เกา่ มสี ่วนรว่ มในการบริหารจดั การ
7. ระดมทรัพยากรจากชุมชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ สนับสนนุ การจัดการศึกษา
8. จดั กิจกรรมสานสมั พันธ์ บ้าน วัด โรงเรยี น
9. การนำภูมิปัญญาท้องถน่ิ วทิ ยากร แหล่งวทิ ยากรในชมุ ชน พฒั นาการเรยี นรู้ของนักเรียน
10. พัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อม ภมู ิทศั น์ อาคารสถานทใี่ หเ้ ออื้ ต่อการเรียนรู้
11. สง่ เสริมชุมชนใหเ้ ป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้
12. ประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมของโรงเรียน ให้ชมุ ชน สาธารณชน อยา่ งสมำ่ เสมอ
กลยุทธ์ ท่ี 2 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
แนวทางการขบั เคลื่อนกลยทุ ธ์
1. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาด้านการประชุม อบรม สมั มนา และการศึกษาดูงาน
2. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ

วิชาชพี
3. พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มคี วามรู้ความสามารถในการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยใี นการพฒั นาการเรยี นรู้
4. สรรหาวทิ ยากร ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ สนบั สนุนการจัดการเรยี นการสอน
5. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาโดยใชก้ ระบวนการนิเทศภายใน
6. สง่ เสรมิ และพฒั นาครใู นการจัดทำวจิ ยั ในชั้นเรยี น
กลยทุ ธ์ ท่ี 3 สง่ เสริมและสนบั สนุนการพฒั นาคุณภาพนกั เรยี น
แนวทางการขบั เคลื่อนกลยทุ ธ์
1. พฒั นานกั เรียนให้มคี ุณธรรมจรธิ รรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
2. พฒั นานกั เรยี นให้มีความสามารถคิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคดิ สร้างสรรค์
3. ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นให้สูงขึน้ ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
4. ใชน้ วัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้
5. พฒั นาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมทุกดา้ นที่จะเขา้ เรียนในระดับประถมศกึ ษา
6. พฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นใหม้ ีคุณภาพ
7. ส่งเสริมการจัดกจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ ในการจัดการเรียนรู้
8. สง่ เสรมิ การจัดการเรียนตามแนวคดิ Brain Based Learning (BBL)
กลยทุ ธ์ ที่ 4 พฒั นาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรู้
แนวทางการขบั เคล่ือนกลยทุ ธ์
1. จัดหาสอ่ื เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรใ์ หเ้ พยี งพอกบั จำนวนนักเรียนตอ่ ห้อง
2. พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ห้องสมดุ เพ่อื สง่ เสริมนิสัยรักการอา่ นของนักเรียน
3. สนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายเพ่ือจดั หา/ผลติ ส่อื การเรยี นรูว้ ัสดอุ ปุ กรณ์แก่นักเรยี น ครู และห้องเรียน
4. ส่งเสรมิ การใหบ้ ริการ การใช้และบำรุงรักษาส่อื และเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนรู้
5. สง่ เสรมิ ครูในการใช้ และพัฒนาสอ่ื /เทคโนโลยี เพอ่ื การจดั การเรียนรู้

กลยุทธ์ ที่ 5 พฒั นาสภาพแวดล้อม และปรบั ปรงุ ภูมิทัศน์ ใหเ้ อือ้ ต่อการเรยี นรขู้ องนักเรยี น
แนวทางการขบั เคล่ือนกลยุทธ์

1. ส่งเสรมิ การดำเนนิ งาน ตามมาตรฐานส่ิงแวดลอ้ มศึกษา สร้างจิตสำนกึ ในการบริหารจดั การขยะ
นำ้ เสีย และมลพิษ

2. ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มและภูมิทศั น์ ใหม้ บี รรยากาศเอื้อต่อการเรยี นรู้
กลยุทธ์ ที่ 6 พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
แนวทางการขบั เคล่ือนกลยุทธ์

1. พฒั นาและปรบั ปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถน่ิ และนโยบาย
กระทรวงศึกษาธกิ าร

2. จดั ระบบบริหารจดั การและระบบข้อมูลสารสนเทศให้สอดคลอ้ งกับการประกันคณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษา

3. จัดทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาระยะ 4 ปี และแผนปฏิบตั ิการประจำปี โดยการมีสว่ นร่วม
ของครู บุคลากรทางการศึกษา กรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ผปู้ กครองและผมู้ สี ว่ นเกี่ยวข้อง
ทกุ ฝ่าย

4. พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง
กลยทุ ธ์ ท่ี 7 ส่งเสริมสนบั สนุนการจัดการศึกษาสำหรบั เดก็ ปฐมวัยและเดก็ ที่มคี วามต้องการจำเป็น
พเิ ศษ ให้มีความพรอ้ มทกุ ดา้ น
แนวทางการขบั เคลื่อนกลยทุ ธ์

1. สนับสนุนครูและบคุ ลากรใหเ้ พียงพอ
2. สนบั สนนุ งบประมาณจัดหาวัสดุ อปุ กรณ์ สอ่ื การเรยี นสำหรบั เด็กปฐมวัยและเด็กทีมีความ

ตอ้ งการจำเป็นพิเศษ
3. สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมพัฒนาเดก็ ปฐมวัยที่มีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ
4. พัฒนาความพรอ้ มเด็กปฐมวยั ท้ังดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา
5. พัฒนาเดก็ พเิ ศษใหเ้ รยี นรู้ตามศักยภาพ
กลยุทธ์ ที่ 8 สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เครือข่ายผปู้ กครอง
เครือขา่ ยศษิ ย์เก่า และผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ ง
แนวทางการขับเคลื่อนกลยุทธ์
1. สรรหาคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน เครือข่ายผู้ปกครอง เครือขา่ ยศิษย์เก่า
2. จัดการประชุม/สัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เครอื ข่ายผปู้ กครอง เครือข่ายศิษย์

เก่าและผมู้ ีสว่ นเก่ียวข้อง
3. พฒั นาเครือข่าย และระดมทรัพยากร เพ่อื สนบั สนนุ การจัดการศึกษา

สว่ นที่ 2
ผลการวเิ คราะห์ คะแนน RT ,NT และ O-NET

ผลการวิเคราะหก์ ารประเมนิ คุณภาพนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 และ
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นชุมชนบา้ นสันกำแพง กลุ่มเครอื ข่ายเมอื งยาวแม่สัน
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 ผลการประเมิน ดังน้ี
ผลการประเมินคุณภาพนักเรียน (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1

ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ น (RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา
2563 ของโรงเรยี นชุมชนบ้านสันกำแพง

ตารางท่ี 1 แสดงคะแนนเฉลี่ยร้อยละการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน (RT)
ของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำแนกตามสมรรถนะ

ความสามารถ ระดับโรงเรียน คะแนนเฉล่ียร้อยละ ระดบั ประเทศ
86.70 ระดบั สพฐ. 74.14
การอ่านออกเสียง 79.29 74.13 71.86
การอา่ นร้เู ร่ือง 72.23

รวม 2 สมรรถนะ 83.00 73.20 73.02

จากตารางท่ี 1 พบว่า คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละทั้ง 2 สมรรถนะของนกั เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
สงู กวา่ คะแนนเฉล่ียทั้งระดับสพฐ. และระดับประเทศ

ตารางที่ 2 แสดงรอ้ ยละจำนวนนกั เรียน การประเมินความสามารถด้านการอา่ นของนักเรียนชนั้
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 จำแนกตามระดับคุณภาพ

สมรรถนะ จำนวน ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
นกั เรียน
การอ่านออกเสียง จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
การอา่ นร้เู ร่อื ง 17 - - - - 15 88.23
17 2 11.76 11 64.70
- - - - 6 35.29

จากตารางที่ 2 พบวา่ นักเรียนมีผลการประเมนิ การอ่านออกเสียง อยู่ในระดบั ดีมาก มากทส่ี ุด
คิดเป็น ร้อยละ 88.23 รองลงมาอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 11.76 การอ่านรู้เรื่องอยู่ในระดับดีมาก
มากที่สุดคิดเปน็ ร้อยละ 64.70 รองลงมาอยู่ในระดับดี คิดเป็นรอ้ ยละ 35.29

ตารางที่ 3 แสดงคะแนนเฉล่ยี ร้อยละการประเมนิ การอ่านตามสมรรถนะและรายองคป์ ระกอบของ
นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนชุมชนบ้านสันกำแพง

สมรรถนะและองคป์ ระกอบ จำนวน คะแนน ระดับคุณภาพ
นกั เรยี น เฉลี่ยร้อยละ
การอา่ นออกเสียง ดมี าก
1.การอ่านออกเสียงคำ 17 86.70 ดมี าก
2.การอ่านออกเสยี งข้อความ 17 90.88 ดีมาก
การอ่านรู้เร่ือง 17 83.92 ดมี าก
1.การอา่ นร้เู รื่องคำ 17 79.29 ดมี าก
2.การอา่ นรเู้ รื่องประโยค 17 95.88 ดีมาก
3.การอ่านรเู้ ร่ืองประโยค(เลือกตอบ) 17 98.23
4.การอา่ นรู้เร่ืองข้อความ 17 72.35 ดี
17 57.64 ดี

จากตารางท่ี 3 พบว่า คะแนนเฉลยี่ ร้อยละการอ่านออกเสียงของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี
1 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 50 คือองค์ประกอบที่ 1 การอ่านออกเสียงคำ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
90.88 รองลงมาได้แก่ องค์ประกอบที่ 2 การอา่ นออกเสยี งข้อความ มคี ะแนนเฉลี่ยร้อยละ 83.92

คะแนนเฉลี่ยร้อยละการอ่านรู้เร่ืองของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า
ร้อยละ 50 คือองค์ประกอบที่ 2 การอ่านร้เู ราองประโยค มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 98.23 รองลงมาได้แก่
องค์ประกอบที่ 1 การอ่านรู้เรื่องคำ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 95.88 องค์ประกอบที่ 3 การอ่านรู้เร่ือง
ประโยค(เลือกตอบ) มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 72.35 และองค์ประกอบที่ 4 การอ่านรู้เรื่องข้อความ มี
คะแนนเฉล่ียร้อยละ 57.64 ตามลำดับ

ผลการประเมนิ คณุ ภาพนกั เรยี น (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3
ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3

ปกี ารศกึ ษา 2563 ด้านภาษาไทย และดา้ นคณติ ศาสตร์ ของโรงเรียนชุมชนบา้ นสนั กำแพง

ตารางที่ 1 แสดงคะแนนเฉลย่ี ร้อยละการประเมนิ คุณภาพของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3
ปีการศกึ ษา 2563 จำแนกตามทักษะ/ความสามารถ ทั้ง 2 ดา้ น

ความสามารถ ระดับโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ ระดับประเทศ
56.73 ระดบั สพฐ. 40.47
ดา้ นภาษาไทย 56.33 47.76 44.94
ดา้ นคณติ ศาสตร์ 41.30

รวมทั้ง 2 ด้าน 56.53 44.53 43.97

จากตารางที่ 1 พบว่า คะแนนเฉลีย่ ร้อยละทั้ง 2 ด้านของนักเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สูง
กวา่ คะแนนเฉลี่ยท้ังระดับสพฐ. และระดับประเทศ

ตารางที่ 2 แสดงรอ้ ยละจำนวนนกั เรยี น การประเมนิ คณุ ภาพของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3
ปีการศกึ ษา 2563 จำแนกตามทักษะ/ความสามารถ

ทกั ษะ/ จำนวน ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก
ความสามารถ นกั เรียน
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
ดา้ นภาษาไทย 15
ด้านคณติ ศาสตร์ 15 1 6.66 4 26.66 5 33.33 5 33.33
รวมท้งั 2 ด้าน 15 -- 7 46.66 3 20.00 5 33.33
-- 7 46.66 3 20.00 5 33.33

จากตารางท่ี 2 พบวา่ นักเรยี นมีผลการประเมนิ คณุ ภาพดา้ นภาษาไทย อยูใ่ นระดบั ดีมาก และ
ดี มากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.33 เท่ากัน รองลงมาอยู่ในระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 26.66 และระดับ
ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 6.66 ส่วนด้านคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับพอใช้ มากท่ีสุดคิดเป็น ร้อยละ 46.66
รองลงมาอยใู่ นระดบั ดีมาก คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 และระดับดี คิดเปน็ ร้อยละ 20.00

ตารางท่ี 3 แสดงคะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละความสามารถด้านภาษาไทยตามรายมาตรฐาน ของนกั เรยี น
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นสันกำแพง

มาตรฐาน จำนวน คะแนน ระดบั คุณภาพ
นักเรยี น เฉลย่ี ร้อยละ

1.1ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพอื่ 15 58.33 ดี
นำไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดำเนินชวี ิตและมี 15 51.76 ดี
นิสยั รกั การอ่าน 15 63.33 ดี
15 59.77 ดี
2.1ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ 15 46.66 พอใช้
ยอ่ ความ และเขียนเรอื่ งราวในรปู แบบต่าง ๆ เขยี น
รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา
คน้ คว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

3.1สามารถเลือกฟังและดูอย่างมวี ิจารณญาณ และ
พดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความรสู้ ึกใน
โอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
4.1เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลยี่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ัญญา
ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ

5.1เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและ
วรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้
ในชวี ิตจริง

จากตารางท่ี 3 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละความสามารถด้านภาษาไทยของนักเรียน ช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 50 คือมาตรฐาน ท 3.1 มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 63.33
รองลงมาได้แก่ มาตรฐาน ท 4.1 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 59.77 มาตรฐาน ท 1.1 มคี ะแนนเฉลี่ยร้อยละ
58.33 มาตรฐาน ท 2.1 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 51.76 ส่วนมาตรฐานท่ีมีคะแนนต่ำกว่าร้อยละ 50 ได้แก่
มาตรฐาน ท 5.1 มคี ะแนนเฉลี่ยร้อยละ 46.66

ตารางที่ 4 แสดงคะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของนักเรยี น ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3
ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นชุมชนบ้านสันกำแพง

มาตรฐาน จำนวน คะแนน ระดบั คุณภาพ
นกั เรยี น เฉลี่ยรอ้ ยละ

1.1เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน 15 54.95 ดี
ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวนผลที่เกิดข้ึน 15 60.00 ดี
จากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการและการ
นำไปใช้

1.2เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์
ฟงั ก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้

2.1เข้าใจพืน้ ฐานเกยี่ วกบั การวดั วัดและคาดคะเน 15 52.10 ดี

ขนาดของสิง่ ท่ีต้องการวัด และนำไปใช้

2.2เขา้ ใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ิของรูป

เรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหวา่ งรูปเรขาคณติ และ 15 76.66 ดมี าก

ทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้

3.1เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทาง 15 64.66 ดี

สถติ ิในการแก้ปญั หา

จากตารางที่ 4 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ50 คือมาตรฐาน ค 2.2 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
76.66 มาตรฐาน ค 3.1 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 64.66 มาตรฐาน ค 1.2 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60.00
มาตรฐาน ค 1.1 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 54.95 และมาตรฐาน ค 2.1 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 52.10
ตามลำดับ

ผลการประเมนิ คุณภาพนักเรยี น (O-NET ) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

การประเมินคุณภาพการศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียน
ชุมชนบ้านสันกำแพง สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ได้ดำเนินการสอบกับนักเรียน
ทกุ คน ผลการประเมินปรากฏ ดงั นี้

ผลการประเมนิ คณุ ภาพ ปีการศึกษา 2563
ผลการประเมินคุณภาพนักเรยี น (O-NET ) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นสันกำแพง

ผลปรากฏดงั ตาราง

ตารางที่ 1 แสดงคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET )
ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นชุมชนบา้ นสนั กำแพง

รายวชิ า ระดับโรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ
64.79 ระดับ สพฐ. 56.20
ภาษาไทย 31.94 29.99
คณติ ศาสตร์ 40.33 54.96 38.78
วทิ ยาศาสตร์ 40.83 28.59 43.55
ภาษาองั กฤษ 37.64
38.87

จากตารางท่ี 1 พบวา่ นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่มคี ะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดับสพฐ. ทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ และคะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดับประเทศ ได้แก่กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ ส่วนสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าระดับประเทศ

ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบคะแนนเฉลย่ี ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นสันกำแพง
ปกี ารศึกษา 2562 กบั ปีการศกึ ษา 2563 ระดับโรงเรยี น

รายวิชา ปีการศกึ ษา 2562 คะแนนเฉล่ยี ผลต่าง
ระหว่างปีการศึกษา
ภาษาไทย 54.03 ปกี ารศึกษา 2563
คณิตศาสตร์ 39.06 +10.76
วทิ ยาศาสตร์ 36.91 64.79 -7.12
ภาษาองั กฤษ 31.88 31.94 +3.42
40.33 +8.95
40.83

จากตารางท่ี 2 เปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 25623 ระดับโรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปี
การศึกษา 2562 ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ส่วนกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์คะแนนเฉล่ียต่ำกว่าปีการศึกษา 2562

เปรียบเทยี บผลการประเมินระดบั จังหวัดกับระดบั ประเทศ ปกี ารศกึ ษา 2563
เปน็ การเปรียบเทียบคะแนนเฉลย่ี ในแต่ละกล่มุ สาระการเรยี นรู้ของโรงเรียนชุมชนบ้านสันกำแพง

เทยี บกับระดบั จังหวัด และระดบั ประเทศ

ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6
ระดบั โรงเรยี น ระดับจังหวัด และระดบั ประเทศ ปีการศึกษา 2563

ปี เปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ียในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6
การศึกษา ระดบั โรงเรยี น ระดับจงั หวดั + สงู / - ตำ่ ระดบั ประเทศ + สงู / - ต่ำ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย 64.79 59.19 +5.60 56.20 +8.59
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ 31.94 31.99 -0.05 29.99 +1.95
ภาษาอังกฤษ
40.33 40.01 +0.32 38.78 +1.55

40.83 45.99 -5.16 43.55 -2.72

จากตารางที่ 3 พบว่า เมื่อเปรยี บเทียบคะแนนเฉลย่ี ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา
2563 ระดับโรงเรียน ระดับจังหวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่า
ระดับจังหวัด สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษมีมีคะแนนเฉล่ียต่ำกว่าระดับจังหวัด เมื่อ
เปรียบเทียบคะแนนเฉล่ีย ระดบั โรงเรยี น และระดบั ประเทศ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย คณติ ศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ ส่วนสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่า
ระดบั ประเทศ

ส่วนท่ี 3
แนวคิดและแนวทางการพัฒนา

แนวคิดในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
แ น ว คิ ด ใน ก ารพั ฒ น าผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ท างก ารเรีย น ระดั บ ส ถ าน ศึ ก ษ า ส ถ าน ศึ ก ษ า :

Empowerment Approach Empowerment Evaluation ข อ ง David Fetterman (1993)เป็ น
แนวคิดในการพัฒนาท่ีมุ่งหวังให้องค์กรหรือบุคลากรในองค์กรสามารถช้ีนำตนเอง (Self – Directing) ที่
จะช่วยให้องค์กรเกดิ การพัฒนาแบบยั่งยืน ในอนาคต โดยมแี นวปฏบิ ัตใิ นกระบวนการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน ดังน้ี

ขน้ั ที่ 1 Taking Stock ตรวจสอบสภาพปัจจบุ นั เกีย่ วกบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหรือผลการ
ประเมนิ คุณภาพโรงเรยี น เพ่ือวเิ คราะหว์ า่ โรงเรียนเรามีคุณภาพมากนอ้ ยเพียงใด เชน่ พิจารณาจากผล
การสอบ NT O-Net ผลการประเมนิ ของ สมศ.

ข้ันที่ 2 Setting Goal กำหนดเปา้ หมายความสำเร็จ เชน่ กำหนดวา่ ภายในปี 2563 เรา
จะต้อง

1) ปรากฏผลการประเมินคณุ ภาพภายในระดับดมี าก
2) รายวชิ าร้อยละ 75 มีคุณภาพระดับดีมาก
3) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น โดยเฉพาะ RT , NT, O-Net จะตอ้ งเพ่ิมข้ึนปลี ะ 3%
ข้นั ท่ี 3 Developing Strategies and Implementing พฒั นากลยุทธ์ แล้วนำกลยทุ ธ์
สู่การปฏิบตั ิ ตวั อยา่ งเช่น
1) ขบั เคลื่อนแนวคดิ ห้องเรียนคุณภาพ หรือ ประสานคณุ ภาพรายวิชา ครูทุกคน
ทกุ รายวิชาตอ้ งต้ังเป้าคุณภาพและดำเนินการยกระดับคณุ ภาพให้ได้
2) ปฏิรปู การบรหิ ารจัดการห้องเรียนประจำช้นั กำหนดเกณฑ์ “หอ้ งประจำช้นั /ที่ปรกึ ษา
คณุ ภาพ”
3) บรหิ ารจัดการสถานศึกษาทเ่ี นน้ การขับเคล่อื นเชงิ ทฤษฎี อยา่ งเปน็ ระบบตามกรอบ
หลกั วชิ า
ข้นั ที่ 4 Documenting Progress ประเมินรวบรวมเอกสารหลักฐานแสดงถึงความก้าวหนา้
ของงานตามเปา้ หมาย

การวเิ คราะห์ผลการประเมนิ คุณภาพนักเรียน
การวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ คณุ ภาพนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2563 เพ่ือจัดทำแผนยกระดับ

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น สถานศกึ ษาไดว้ เิ คราะห์สภาพปัญหาระดับโรงเรยี น (ปัญหาทวั่ ไป เช่น สภาพ
ปญั หาด้านกระบวนการบริหาร กระบวนการจัดการเรยี นการ ฯลฯ)

สภาพปัญหา
กระบวนการบริหาร

การตดิ ตามงานดา้ นวชิ าการหลงั จากได้รับมอบหมายยงั ไม่เตม็ ที่ เน่อื งจากครูมภี าระงานสอน และ
งานตามนโยบายอ่นื ๆ ทจี่ ะต้องปฏิบัติ ควรมกี ารนเิ ทศติดตามอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง มีแนวทางการ
พฒั นางานด้านวชิ าการ เปน็ ลำดับขั้นตอนในการจดั วางแผนงานตามนโยบายและแผนงาน การจัด
กำลังคนใหเ้ หมาะสมกบั ภาระงานทีม่ อบหมาย การเสรมิ ขวัญและกำลังใจในการทำงาน การกำกบั
ติดตามมแี นวทางในการบริหารงานอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนื่อง

กระบวนการจัดการเรียนการสอน
1. การจัดการเรียนการสอนครูไม่วิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล ทำให้ครูไม่ทราบความสามารถของ
นกั เรียนในแต่ละดา้ น
2. นกั เรยี นขาดความกระตือรอื ร้นในการเรยี น
3. จำนวนนักเรยี นต่อห้องมากเกนิ ไป การจดั กิจกรรมไม่ท่ัวถึง และไมม่ ีประสิทธิภาพ
4. นกั เรยี นขาดนสิ ัยรักการอา่ น ขาดทกั ษะการทำงาน
5. ทางโรงเรียนมีการจดั กิจกรรมในช่วงปลายปีหลายกิจกรรมทำให้การสอนเสริมนักเรยี นได้ไมเ่ ตม็ ที่
6. ครูมอบหมายภาระงานใหน้ กั เรยี นมากเกนิ ไป ทำให้นกั เรียนไม่มเี วลาศึกษา ค้นคว้า
7. วัสดุ-อุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการเรยี นการสอนไมเ่ พียงพอ

การวางแผนการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ( P )
1. ประชมุ คณะครเู พื่อรว่ มกันวิเคราะหป์ ญั หา
2. จัดทำโครงการเพ่ือพัฒนาการเรยี นการสอนและยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
3. จดั ทำส่อื และนวัตกรรมที่น่าสนใจประกอบการเรยี นการสอน
4. จัดทำแผนกิจกรรมการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ เน้นการลงมอื ปฏบิ ตั ิ และเนน้ ทกั ษะการคิด
5. ครเู ข้ารบั การอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง และนำมาใช้กับการเรียนการสอน
6. ศกึ ษาเทคนิคการสอนทหี่ ลากหลาย
7. ศึกษาดงู านและแลกเปลยี่ นเรียนรู้กบั เพ่ือนครูระหว่างโรงเรียนและในโรงเรียน
8. สอนเสริมเดก็ เก่งเพือ่ เพ่ิมศักยภาพ และสอนซอ่ มเสรมิ เด็กออ่ นเพอ่ื ชว่ ยเหลอื นักเรียน
9. การสง่ เสริมการรักการอ่านและใชแ้ หล่งเรียนรู้ทงั้ ภายในและภายนอก
10. จดั กจิ กรรมบูรณาการระหว่างกลมุ่ สาระฯเพื่อลดภาระงานของนกั เรียน

การมสี ว่ นร่วมของทกุ ฝา่ ย
1. ฝา่ ยบริหารมีการวางแผนจัดทำกลยทุ ธ์เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรยี น
2. กลุ่มบริหารวิชาการมีการ ประชุมวางแผน และ ดำเนินการจัดกิจกรรม เพ่ือ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ

ทางการ เรียนของนักเรยี น เช่นกิจกรรมส่งเสรมิ รกั การอ่าน การจัดทำกิจกรรมสอนเสริมใหก้ บั นักเรียน
3. ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้มกี ารประชมุ และวางแผนเพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียน เช่น
การสอนเสรมิ ใหค้ วามรู้กับนักเรยี น การพานกั เรียนไปศกึ ษาแหล่งเรยี นรูภ้ ายนอก
4. ครูผู้สอนร่วมปรึกษาและหาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน เช่น การจัดหาสื่อ การผลิต

สื่อ เพอื่ ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน

วธิ ีดำเนินการพฒั นากลยุทธ์ ( D, C, A )

1. ดา้ นผ้บู ริหาร / การบริหารจดั การ
1. ประชุมชแี้ จงและสร้างความตระหนักแก่ครูทุกระดับชั้นให้เห็นความสำคัญของการจัดกจิ กรรม

การเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลในทุกระดับ โดยเฉพาะการประเมินในระดบั ชาตทิ ั้ง RT, NT
O-Net

2. จัดทำโครงการและสนับสนุนงบประมาณในโครงการท่ีมุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดทักษะการคิด
วิเคราะห์ เช่น การเรียนรู้ด้วยโครงงาน การทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ โครงการค่ายวิชาการ
หรือจัดโครงการเพ่ือมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิโดยตรง เช่น ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โครงการติวเข้มมุ่งสู่
RT / NT/ O-Net

3. จดั เวลา จัดครู /จดั ทีมสอนตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ ตามกลมุ่ สาระทถี่ นดั และตาม
ความสามารถ

4. จัดหาสอื่ CD คลังขอ้ สอบ ใหแ้ กค่ ณะครู

2. ดา้ นครูผ้สู อน
1. ครูตอ้ งเตรยี มตวั ให้พร้อมทกุ ขน้ั ตอน
- วเิ คราะห์ผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล และจัดทำข้อมูลสารสนเทศ
- วเิ คราะห์กรอบโครงสรา้ งและมาตรฐาน ตัวช้วี ัดของแบบทดสอบแตล่ ะกลุ่มสาระการ

เรียนรู้ทีร่ บั ผิดชอบ
- จดั หาแนวข้อสอบจากปที ่ผี ่านมาหลายๆ ชดุ (ยอ้ นหลงั 3ปี )

2. ใช้วธิ กี ารสอนท่ีหลากหลาย ใชส้ ่อื ทนี่ า่ สนใจ
3. อทุ ิศเวลาสอนเสรมิ นอกเวลาราชการ และสอนในวันหยุด
4. จัดตารางสอนติวเข้ม ชั้น ป.1, ป.3 , ป.6 โดยเน้น O-Net ชั้น ป.6

3. ดา้ นนักเรยี น
1. ประชุมช้ีแจงและสร้างความตระหนักแก่นักเรียนให้เห็นความสำคัญของการทดสอบ RT/ NT

/ O-net
2. สร้างแรงจงู ใจ และให้ขวัญกำลังใจแกน่ ักเรยี นทีม่ ผี ลสัมฤทธ์ิหรอื คะแนนเฉลี่ยสูง

3. อำนวยความสะดวกในการจดั หา แนวขอ้ สอบ และในกรณีทเ่ี รียนในเวลานอกราชการหรือ
วันหยดุ ทางโรงเรียนใดจ้ ดั หาอาหารและพาหนะแก่นักเรยี นด้วย

4. แจกขอ้ สอบ RT / NT / O-Net ปกี อ่ น ๆ ให้ฝกึ ทำเพื่อเตรยี มตัวในการสอบ

4. ด้านอ่ืน ๆ
1. ประชุมชี้แจงแก่ผูป้ กครองใหเ้ ห็นความสำคัญของการทดสอบ RT / NT/ O-Net
2. สรา้ งความตระหนักให้กบั ผู้ปกครองในการเตรยี มตัวสอบของนักเรยี น
3. ขอความร่วมมือจากผ้ปู กครองในการดูแลนกั เรียนระหวา่ งเตรียมตัวสอบ
4. ขออนญุ าตผ้ปู กครองให้นกั เรยี นเขา้ รับการเรยี นเสริมหรือตวิ เข้มนอกเวลาเรียนและวันหยดุ

ภาพประกอบกจิ กรรมการเรยี นการสอน
เพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน

ผลงานที่ภาคภมู ใิ จ

แผนงาน/โครงการ/แนวทาง

เพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ด้าน RT, NT และ O-NET


Click to View FlipBook Version