The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tonkaw0615132660, 2021-11-03 05:35:36

ลิลาศ

ลิลาศ

รายงาน
ประวัตลลี าศ

จัดทาโดย
นางสาว กัญญาณัฐ เจรญิ กจิ เลขที่12 ม.6/2

เสนอ
คุณครู อนนั ต์ เอกกลุ
รายงานเล่มน้ีเปน็ สว่ นหน่ึงของรายวชิ าสุขศกึ ษา
และพลศึกษา รหสั วชิ า พ33102
โรงเรียนนวมนิ ทราชทู ศิ ทกั ษณิ





คานา

หนงั สือเล่มนที้ าขึ้นเพ่ือให้เป็นประโยชน์แกผ่ ู้ทต่ี ้องการศกึ ษาเรอื่ งประวัตลีลาศ โดยเนื้อหาในเล่ม
น้ีมีเนื้อหาดังนี้ ประวัต ประวัติลีลาศไทย ประวัติลีลาศในประเทศไทย ประวัติลีลาศ ไทย
ความหมายของลีลาศ ประเภทของลีลาศ ประโยชนข์ องลลี าศ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ีจะ
กอ่ ให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ่านหากมขี อ้ ผิดพลาดและข้อบกพรอ่ งประการใด ผู้จัดทาขออภัยมาณที่น้ี
ดว้ ย

ผู้จัดทา
นางสาว กญั ญาณัฐ เจริญกิจ

สารบัญ ข

เร่อื ง หนา้
คานา ก
สารบัญ ข
ประวตั ิลีลาศ 1
ประวตั ลิ ลี าศไทย ประวตั ลิ ีลาศในประเทศไทย 8
ประวตั ิลลี าศ ไทย 9
ความหมายของลลี าศ 11
ประเภทของลลี าศ 12
ประโยชนข์ องลลี าศ 14
สรปุ ประวัตลิ ลี าศ 20

บรรณานกุ รม 21

1

ประวัตลิ ลี าศ

ประวัติลีลาศ ลีลาศน้ันมีมานับเป็นพัน ๆ ปีแล้ว แต่เพ่ิงมีหลักฐานแน่ชัดเม่ือประมาณ ปี ค.ศ.
1400 ซึ่งได้อธิบายถึงการก้าวเดิน และดนตรี การเต้นราแบบบอลรูม เปรียบเสมือนสะพานเชื่อม
ช่องว่างระหว่างชาติและเผ่าพันธุ์ต่าง ๆ ถึงแม้ว่าชาวตะวันตกจะนิยมกันอย่างมาก แต่การเต้นรา
แบบบอลรูมก็เป็นท่ียอมรับของชนทุกชาติ ประวัติการลีลาศหรือเต้นรา มีความสัมพันธ์เก่ียวข้อง
กันกบั เต้นราแบบอน่ื ๆ มาก เช่น การเตน้ ระบาบัลเลย่ ์การเต้นราพน้ื เมือง ฯลฯ จงึ ขอสรุปโดยแบ่ง
ยุคการเตน้ ราออกเป็น 6 ยคุ ดังนี้

1.ประวตั ลิ ลี าศ ยคุ กอ่ นประวัติศาสตร์

การเต้นราถือเป็นศิลปะอย่างหน่ึงของการแสดงออกของบุคคล ศิลปะการเต้นราในสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ได้ถูกค้นพบจากภาพวาดบนผนังถ้า ในแอฟริกาและยุโรปตอนใต้ ซึ่งศิลปะในการ
เตน้ ราได้ถูกวาดมาไม่น้อยกวา่ 20,000 ปมี าแล้ว อีกทง้ั พธิ ีกรรมทางศาสนา จะรวมการเต้นรา การ
ดนตรี และการแสดงละคร ซึ่งเป็นส่ิงสาคัญในชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์เป็นอย่างมาก พิธีกรรมเหล่านี้อาจเป็นการบวงสรวงเทพเจ้าเทพธิดา หรือจากการ
ฉลองท่ีล่าสัตว์มาได้ หรือการออกศึกสงคราม นอกจากนี้อาจมีการเฉลิมฉลองการเต้นราด้วยเหตุ
อื่น ๆ เชน่ ฉลองการเกดิ การหายจากอาการเจบ็ ป่วย หรือการไวท้ ุกข์ เป็นต้น

2.ประวัตลิ ลี าศ ยคุ โบราณ

การเต้นราของพวกท่ีนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ หรือพวกท่ีไม่มีศาสนาในสมัยโบราณน้ัน ในเขตทะเลเมดิ
เตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง มีภาพวาด รูปป้ันแกะสลัก และบทประพันธ์ของชาวอียิปต์
โบราณ แสดงให้เห็นถึง การเต้นราได้ถูกจัดข้ึนในพิธีศพ ขบวนแห่ และพิธีกรรมทางศาสนา ชาว
อียิปต์โบราณส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร ในทุก ๆ ปีแม่น้าไนล์จะเพ่ิมระดบั สูงขน้ึ และเมื่อน้าลดลง จะ
มีการทาการเพาะปลูก และมีการเตน้ ราหรือแสดงละคร เพื่อขอบคุณเทพเจ้าโอซิริส (God Osiris)
ซึง่ เป็นเทพเจา้ แห่งการเกษตร ตามความเช่อื ของคนในทอ้ งถน่ิ

นอกจากนี้การเต้นรายังนามาใช้ในงานส่วนตวั เช่น การเต้นราของพวกข้าทาส ซึ่งจัดขึ้นเพื่อความ
สนุกสนาน และต้อนรับแขกท่ีมาเยือน ชาวกรีกโบราณเห็นว่า การเต้นราเป็นส่ิงจาเป็นทั้งใน
การศึกษา การบวงสรวงเทพเจ้าเทพธิดา และการแสดงละคร ปรัชญาเมธีพลาโตให้ความเห็นว่า

2

พลเมอื งกรกี ทดี่ ีต้องเรียนรูก้ ารเตน้ ราเพอื่ พฒั นาการบังคบั รา่ งกายของตนเอง เพ่ือเสริมสรา้ งทักษะ
ในการต่อสู้ ดังน้ัน การร่ายราด้วยอาวุธ จึงถูกนามาใช้ในการศึกษาทางทหารของเด็ก ทั้งในรัฐ
เอเธนส์และสปาร์ต้า นอกจากน้ี การเต้นรามีความนิยมแพร่หลายนามาใช้ในพิธีแต่งงาน ฤดูการ
เกบ็ เก่ยี วพชื ผล และในโอกาสอ่นื ๆ ดว้ ย

การเต้นราทางศาสนา เป็นส่วนสาคัญในการกาเนิดการละครของกรีก ระหว่าง 500 ปี ก่อน
คริสตกาล การละครของกรีกเรียกว่า Tragidies ซึ่งพัฒนามาจากเพลงสวดในโบสถ์และการเต้นรา
เพื่อสรรเสริญเทพเจ้าดิโอนิซุส (God Dionysus) ซ่ึงเป็นเทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่น การเต้นราแบบ
Emmeieia เป็นการเต้นราท่ีสง่า ภูมิฐาน ได้ถูกนามาใช้ในละคร Tragedies โดยครูสอนเต้นรา
จะต้องบอกเรื่องราว และช้ีแนะท่าทางที่ต้องแสดงเพ่ือให้จดจาได้ การแสดงตลกขบขันส้ัน ๆ ของ
กรกี ทเี่ รยี กว่า Satyrs กจ็ ัดอยใู่ นการเตน้ ราของกรีกด้วย

เม่ือโรมันรบชนะกรีก เมื่อ 197 ปี ก่อนคริสตกาล โรมันได้ปรับปรุงวัฒนธรรมการเต้นราของกรีก
ให้ดีข้ึน การเต้นราของโรมนั คล้ายกบั ของกรีกที่เต้นราเพื่อบวงสรวงเทพเจา้ หญิงชาวโรมนั กจ็ ะถูก
ฝึกใหเ้ ต้นรา แมแ้ ตช่ าวตา่ งชาติ หรอื พวกข้าทาสทีอ่ ยู่ในโรมันก็มกี ารเต้นราดว้ ยเชน่ กัน ชาวโรมันมี
การเตน้ ราหลังจากการเพาะปลกู หรือกลบั จากการทาสงคราม เพอ่ื แสดงความกล้าหาญ หรือยินดี
ในชัยชนะเหนือข้าศึก ในยุคนี้มีนักเต้นราของโรมันที่มีชื่อเสียงมาก คือ ซิซีโร (Cicero : 106-43
B.C.) ซงึ่ เป็นผคู้ ดิ และปรับปรงุ ลกั ษณะทา่ ทางการเต้นราของโรมันให้ดีข้นึ

3.ประวัตลิ ลี าศ ยคุ กลาง

ประวตั ิลีลาศ ยคุ กลาง (ค.ศ. 400 – 1500)

ประวัติลีลาศ ยุคกลาง เป็นยุคที่ค่อนข้างสับสนวุ่นวาย สังคมไม่สงบสุข โบสถ์มีอิทธิพลต่อการ
เต้นราของยุโรปมาก โบสถ์มีข้อห้ามมากมายเกี่ยวกับการเต้นรา ท้ังน้ีเป็นเพราะการเต้นรา
บางอยา่ งถอื ว่าต่าชา้ และเพอ่ื กามารมณ์ อยา่ งไรก็ดผี ทู้ ่ชี อบการเต้นรามกั จะหาโอกาสจดั งานเต้นรา
ข้ึนในหมู่บ้านของตนอยู่เสมอ ในปี ค.ศ. 300 บรรดาผู้ใช้แรงงานฝีมือ ได้จัดละครทางศาสนาข้ึน
และมีการเต้นรารวมอยู่ด้วย โดยในระหว่างปี ค.ศ. 300 กาฬโรคซึ่งถูกเรียกว่า ความตายสีดา
ระบาดในยุโรป ทาลายชีวิตผู้คนไปมากมายจนทาให้ผู้คนแทบเป็นบ้าจากความกลัวและความ
โศกเศร้า โดยผู้คนจะร้องเพลงและเต้นราคล้ายกับคนวิกลจริตที่หน้าหลุมศพ ซ่ึงเชื่อว่าการแสดง

3

ของเขานั้น จะช่วยขับไล่สิ่งเลวร้าย และขับไล่ความตายให้หนีไปจากชีวิตความเป็นอยู่ของเขาได้
เรยี นซัมเมอรท์ ี่ตา่ งประเทศADVERTISEMENT ในยุคกลางยโุ รปยังมกี ารเฉลิมฉลองการแตง่ งาน
วันหยุด และประเพณตี ่าง ๆ ตามโอกาสด้วย การเต้นราพื้นเมือง ผใู้ หญ่และเด็กในชนบท จะจัดรา
ดาบและเต้นรารอบเสาสูง ท่ีผูกริบบิ้นจากยอดเสา (Maypoles) พวกขุนนางท่ีไปพบเห็น ก็นามา
พัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้น การเต้นราแบบวงกลมของบรรดาขุนนางซ่ึงเรียกว่า Carol เป็นการ
เต้นราท่ีค่อนข้างช้า ในช่วงปลายยุคกลางน้ัน การเต้นราถือว่าเป็นส่วนหน่ึงของขบวนแห่ต่าง ๆ
หรอื ในงานเลยี้ งทม่ี ีเกยี รติ

4.ประวัตลิ ีลาศ ยุคฟน้ื ฟู (ค.ศ. 1400 – 1600)

ประวัติลีลาศ ยุคฟ้ืนฟู เป็นยุคที่มีความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ยุคฟ้ืนฟูเร่ิมใน
อิตาลเี ม่อื ปี ค.ศ. 300 ในช่วงปลายสมยั กลางแลว้ แผ่ขยายไปในยโุ รป

ในปี ค.ศ. 300 ท่ีอิตาลี ขุนนางท่ีมีความมั่นคงตามเมืองต่างๆ จะจ้างครูเต้นราอาชีพมาสอนใน
คฤหาสน์ของตน เรียกการเต้นราสมัยนั้นว่า Balli หรือ Balletti ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี แปลว่า การ
เต้นรา นั่นเอง ในปี ค.ศ. 1588 พระชาวฝรั่งเศส ช่ือ โตอิโน อาโบ (Thoinnot Arbeau:
ค.ศ. 1519 – 1589) ได้พิมพ์หนังสอื เกี่ยวกับการเต้นรา ช่ือ ออเชโซกราฟี (Orchesographin) ใน
หนังสือได้บรรยายถึงการเต้นราแบบต่าง ๆ หลายแบบ เป็นหนังสือท่ีมีคุณค่ามาก บันทึกถึงการ
เตน้ ราที่นิยมใชก้ ันในบ้านขุนนางตา่ งๆ การเตน้ ราแบบบอลรูม เริ่มตงั้ แต่สมยั สมเดจ็ พระราชินีนาถ
เอลิซาเบธท่ี 1 (ค.ศ. 1558 – 1603) ซ่ึงสมัยนั้นคลั่งไคล้การเต้นราที่เรียกว่า โวลต้า (Volta) ซึ่งมี
การจับคู่แบบวอลซ์ ในปัจจุบันการเต้นแบบโวลต้านั้นฝ่ายชายจะช่วยให้ฝ่ายหญิงกระโดดข้ึนใน
อากาศด้วย ในยโุ รประหว่างศตวรรษท่ี 16 งานเลีย้ งฉลองได้ถกู จัดขึ้นตามโอกาสต่างๆ เชน่ งานวนั
เกิด งานแต่งงาน และงานต้อนรับแขกท่ีมาเยือน ในงานจะรวมพวกการเต้นรา การประพันธ์ การ
ดนตรี และการแสดงละครด้วย ขุนนางผู้หนึ่งช่ือ Lorenzo de Medlci ได้จัดงานขึ้นท่ีคฤหาสน์
ของตน โดยตกแต่งคฤหาสน์ด้วยสีสันต่างๆ และจัดให้มีการแข่งขันหลายอย่าง รวมทั้งการเต้นรา
สวมหน้ากาก (Mask Dance) ซ่ึงต้องใช้จังหวะดนตรีประกอบการเต้น พระนางแคทเธอรีน เดอ
เมดิซี (Catherine de Medicis) พระราชินีในพระเจ้าเฮนร่ีท่ี 2 เดิมเป็นชาวฟลอเรนซ์แห่งอิตาลี
พระองค์ได้นาคณะเต้นราของอิตาลี มาเผยแพร่ในพระราชวังของฝรั่งเศส ซ่ึงถูกเรียกเป็นสาเนียง
ฝร่ังเศสว่า คองเทร ดองเซ่ (Conterdanse) และเป็นจุดเริ่มต้นของระบาบัลเล่ย์ พระองค์ได้จัดให้

4

มีการแสดงบัลเล่ย์ โดยพระองค์ทรงร่วมแสดงด้วย ในสมัยของพระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 แห่งฝร่ังเศส
ได้ปรับปรุงและพัฒนาการบัลเล่ย์ใหม่ และได้มีการตั้งโรงเรียนบัลเล่ย์ข้ึนเป็นแห่งแรก ช่ือ
Academic Royale de Dance จนทาให้ประเทศฝร่ังเศสเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมของยุโรป
พระองค์คลุกคลีกับวงการบัลเล่ย์มาไม่น้อยกว่า 200 ปี โดยพระองค์ทรงร่วมแสดงด้วย บทบาทที่
พระองค์ทรงโปรดมากทีส่ ุดคือ บทเทพอพอลโลของกรกี จนพระองค์ไดร้ ับสมญานามว่า พระราชา
แห่งดวงอาทติ ย์ การบัลเล่ย์ในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 นี้คอ่ นข้างจะสมบูรณ์มาก ซึ่งการเตน้ ระบา
บัลเล่ย์ในพระราชวังนี้ เป็นพ้ืนฐานของการลีลาศ ในสมัยศตวรรษท่ี 17 การเต้นรามีแบบแผน
มากขึ้น จอห์น วีเวอร์ และ จอห์น เพลฟอร์ด (John Weaver & John Playford) เป็นนักเขียน
ชาวอังกฤษที่มีช่ือเสียง เพลฟอร์ด ได้เขียนเก่ียวกับ การเต้นราแบบเก่าของอังกฤษ ซึ่งรวบรวมได้
ถึง 900 แบบอย่าง การเต้นราในปี ค.ศ. 1700 ซึ่งเป็นท่ีนิยมมากที่สุด ได้แก่ Gavotte,
Allemande และ Minuet รูปแบบการเตน้ จะประกอบดว้ ยการก้าวเดนิ หรือวง่ิ การรอ่ นถลา การ
ข้ึนลงของลาตัว การโค้ง และถอนสายบัว ภายหลังได้แพร่หลายไปสู่ทวีปยุโรปและอเมริกา เป็นท่ี
ชนื่ ชอบของ ยอร์ช วอชิงตัน ประธานาธบิ ดีคนแรกของอเมริกามาก การเต้นราในองั กฤษที่เรียกว่า
Country Dance ซึ่งเป็นการเต้นราพ้ืนเมือง ได้รับความนิยมอย่างมากในยุโรป ภายหลังได้
แพรห่ ลายไปสอู่ าณานคิ มตอนใต้ของอเมรกิ า

5.ประวตั ลิ ลี าศ ยคุ โรแมนตคิ

ประวตั ิลีลาศ ยุคโรแมนตคิ เป็นยุคที่มกี ารปฏริ ปู เร่ืองบัลเล่ย์ ในยคุ น้ี นกั เต้นรามีความอสิ ระในการ
เคล่ือนไหว และการแสดงออกของบุคคล สมัยก่อนการแสดงบัลเล่ย์ มักจะแสดงเรื่องที่เกี่ยวกับ
เทพเจ้าเทพธิดา แต่ยุคนี้มุ่งแสดงเก่ียวกับชีวิตคนธรรมดาสามัญ เรื่องท่ัว ๆ ไป รวมถึงใส่
จินตนาการ ลงไปในบางครง้ั ด้วย

ในสมัยท่ีมีการปฏิวัติในฝรั่งเศส (ค.ศ. 1789) ได้มีการกวาดล้างพวกกษัตริย์และพวก
ขุนนางไป ทาให้เกดิ ความรสู้ ึกใหมค่ ือความมีอิสระเสรีเท่าเทียมกนั และเกิดการเตน้ วอลซ์ ซึ่งรบั มา
จากกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซ่ึงเช่ือกันว่ามีรากฐานมาจากการเต้น Landler การเต้น
วอลทซ์ได้แพร่หลายไปสู่ประเทศที่เจริญแล้วในยุโรปตะวันตก แต่เนื่องจากการเต้นวอลซ์อนุญาต
ให้ชายจับมือ และ เอวของคู่เต้นราได้ จึงถูกคณะพระคริสประณามว่า ไม่เหมาะสมและไม่สุภาพ
เรยี บรอ้ ย

5

ในชว่ งปี ค.ศ. 1800 – 1900 การเต้นราใหม่ๆ ท่เี ป็นทนี่ ิยมกนั มากในยโุ รปและอเมริกา จะ
เริ่มต้นจากคนธรรมดาสามัญโดยการเต้นราพ้ืนเมือง พวกขุนนางเห็นเข้าก็นาไปประยุกต์ให้
เหมาะสมกบั ราชสานัก เช่น การเต้น โพลกา้ วอลซ์ ซ่งึ กลายเปน็ ทีน่ ิยมมากของชนชน้ั กลางและชน
ชั้นสูง

ในสมัยพระนางเจ้าวิคตอเรีย (The Victorian Era 1830 – 80) การไปงานราตรีสโมสร
หนุ่มสาวจะไปเป็นคู่ๆ ต้องต่างคนต่างไป และฝ่ายชายจะขอลีลาศกับหญิงคนเดิมมากกว่า 4 คร้ัง
ไม่ได้ หญิงโสดก็จะต้องมีพ่ีเล้ียงไปด้วย ฝ่ายหญิงจะมีบัตรเล็ก ๆ สีขาว จดบันทึกไว้ว่า เพลงใดมี
ชายขอจองลีลาศไว้บ้าง ในอเมริการูปแบบใหม่ในการเต้นราที่นิยมมากในหมู่ชนช้ันกรรมาชีพ
พวกที่ยากจน และคนผิวดา คือ การเต้น Tap-Danced หรือ ระบาย่าเท้า โดยรวมเอาการเต้นรา
พื้นเมืองในแอฟริกา การเต้นแบบจ๊ิก ( jig) ของชาวไอริส และการเต้นราแบบคล๊อก (Clog) ของ
ชาวองั กฤษผสมเข้าด้วยกนั โดยคนผวิ ดามกั จะเตน้ ไปตามถนนหนทางต่าง ๆ

ก่อนปี ค.ศ. 1870 การเต้นราได้ขยายไปสู่เมืองต่างๆ ในอเมริกา ผู้หญิงท่ีชอบร้องเพลง
ประสานเสียงจะเต้นระบาแคน-แคน (Can-Can) โดยใช้การเตะเท้าสูงๆ เพ่ือเป็นส่ิงบันเทิงใจแก่
พวกโคบาลท่ีอย่ตู ามชายแดนอเมรกิ า ระบาแคน-แคน มีจดุ กาเนิดมาจากฝรัง่ เศส

6.ประวตั ลิ ีลาศ ยุคปจั จบุ นั

ประวัตลิ ลี าศ ยคุ ปัจจบุ นั (ค.ศ. 1900)

จังหวะวอลซ์จากกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งเกิดข้ึนในปลายศตวรรษที่ 17 แต่มิได้เผยแพร่
จนกระทง่ั ในปี ค.ศ. 1816 จังหวะวอลซ์ไดถ้ ูกนามาเผยแพร่ ตอ่ ทีป่ ระชุมโดยพระเจ้ายอร์ชที่ 4 แม้
จะไม่สมบูรณ์นกั ในขณะนัน้ แต่ก็จัดว่า จังหวะวอลซ์เป็นจังหวะแรกของการลลี าศแท้จรงิ เพราะคู่
ลลี าศสามารถจับคู่เตน้ ราได้

ในราวปี ค.ศ. 1840 การเต้นราบางอย่างกลับมาเป็นที่นิยมอีก อาทิ โพลก้า จากโบฮิเมีย
ซ่ึงเป็นทีน่ ิยมมากในเวยี นนา ปารสี และ ลอนดอน จงั หวะมาเซอก้า (Mazuka) จากโปแลนด์ก็เป็น
ทนี่ ยิ มมากในยุโรปตะวันตก

ในราวกลางศตวรรษท่ี 19 การเต้นราใหม่ๆ ก็เกิดข้ึนอีกมาก อาทิ การเต้นมิลิทารี่ สก๊อต
ติช (Millitary Schottische) การเต้นเค็กวอล์ค (Cakewalk) ซ่ึงเป็นการเต้นราแบบหนึ่งของพวก

6

นิโกรในอเมริกา การเต้นทูสเตป (Two-Step) การเต้นบอสตัน (Boston) และการเต้นเตอรกี
ทรอท (Turkey trot)

ในศตวรรษท่ี 20 (ค.ศ. 1910) จังหวะแทงโก้ จากอาร์เจนตินา เริ่มเผยแพร่ท่ีปารีส เป็น
จงั หวะท่ีแปลก และเต้นสวยงามมาก

ในระหว่างปี ค.ศ. 1912 – 1914 Vemon และ lrene Castle ได้นารูปแบบการเต้นรา
แบบใหม่ๆ จากอังกฤษมาเผยแพร่ในอเมริกาก่อนสงครามโลกคร้ังท่ี 1 ได้แก่ จังหวะฟอกซ์ทรอท
และแทงโก้

ปี ค.ศ. 1918 สมยั สงครามโลกครัง้ ท่ี 1 อังกฤษได้เลือกเฟ้นจังหวะเต้นราทัง้ บอลลร์ ูม และ
ละตินอเมริกา เรียบเรียงข้ึนเป็นตารา วางหลักสูตรของแต่ละจังหวะรัดกุม ในสมัยน้ีประเภทบอล
รูม มีเพียง 4 จังหวะ คือ วอลซ์ (Waltz) ควิกวอลซ์ (Quick Waltz) สโลว์ฟอกซ์ทรอท (Slow
Fox-trot) และ แทงโก้ (Tango)

ปี ค.ศ. 1920 ในอเมริกาเริ่มนิยมจังหวะ Paso-Doble (ปาโซโดเบล) และการเต้นราแบบ
ก้าวเดยี วสลบั กนั (One-step) ซ่งึ เรียกกันวา่ Fast fox-trot

ปี ค.ศ. 1925 จังหวะชาร์ลตัน (Charleston) เริ่มเป็นท่ีนิยม รูปแบบการเต้นคล้ายทูสเตป
และในปเี ดยี วกันน้ี Arthur Murray ก็ได้ใหก้ าเนดิ การเตน้ ราแบบสมัยใหม่ (Modem Dances) ขึน้
การเต้นราแบบสมัยใหม่น้ีเป็นการเต้นราท่ีแสดงออกถึงจินตนาการของแต่ละบุคคล ไม่มีท่าเต้นท่ี
แน่นอนตายตัว บางครัง้ กน็ าทา่ บลั เล่ยม์ าผสมผสานด้วย

ปี ค.ศ. 1929 จังหวะจิตเตอร์บัก (Jittebug) เร่ิมเป็นที่นิยม รูปแบบการเต้นต้องอาศัย
ยิมนาสติก การเบรก และการก้าวเท้าย่าเร็วๆ ในปีเดียวกันอิทธิพลจากเพลงแจ๊สของอเมริกา ทา
ให้เกดิ จงั หวะ ควิกสเตป (Quickstep) ข้นึ เปน็ จงั หวะท่ี 5 ของบอลรมู

ปี ค.ศ. 1929 ไดม้ ีการจดั ต้ังคณะกรรมการลีลาศ (Official Board of Ballroom Dancing)
ขึ้นในประเทศอังกฤษ และ จดั การแข่งขันเต้นราในองั กฤษทกุ ปี

ปี ค.ศ. 1930 การเต้นราของชาวคิวบา (Cuban Dance) ก็เป็นท่ีนิยมมากในอเมริกา คือ
จงั หวะ คิวบนั รัมบา้ หรือจังหวะรมั บ้า

7

ปี ค.ศ. 1939 บรรดาครลู ีลาศ และผู้ทรงคณุ วตุ ิทางลลี าศในอังกฤษ ไดร้ ่วมกนั วางกฎเกณฑ์
ของลวดลายตา่ งๆ ในลีลาศเพอ่ื ให้เปน็ มาตราฐานเดยี วกนั ในแตล่ ะจังหวะมปี ระมาณ 20 ลวดลาย

ปี ค.ศ. 1940 การเตน้ คองกา้ และแซมบา้ จากบราซิล กเ็ ปน็ ทีน่ ิยมกนั มาก

ปี ค.ศ. 1950 ได้จัดตั้งสภาการลีลาศระหว่างชาติ (International Council of Ballroom
Dancing) โดยใช้ช่ือย่อว่า I.C.B.D. และในปีเดียวกันน้ี มีจังหวะใหม่ๆ เข้ามาเผยแพร่อีก เช่น
จงั หวะแมมโบ้ จากคิวบา จังหวะ ชา ชา ชา่ จากโดมินกิ นั และจังหวะ เมอเรงเก้ จากโดมนิ กิ ัน

ปี ค.ศ. 1959 จัดแข่งขันลีลาศชิงแชมป์เป้ียนโลก ขึ้นที่ประเทศอังกฤษ โดยจัดทั้งประเภท
สมัครเล่น และอาชีพ ตามกฎเกณฑ์ที่สภาการลีลาศระหว่างชาติกาหนด นอกจากนส้ี ภาการลีลาศ
ระหว่างชาติไดก้ าหนดจงั หวะมาตรฐานไว้ 4 จังหวะ คอื วอลซ์ ฟอกซท์ รอท แทงโก้ และควกิ สเตป
ในช่วงสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี 2 จังหวะที่มีการจัดการแข่งขันมี วอลซ์แบบอังกฤษ ฟอกซ์ทรอท
แทงโก้ ควิกสเตป และเวนิสวอลซ์ นอกจากน้ี อเมริกาและอังกฤษ ได้แนะนา ร็อคแอนด์โรค ให้
ชาวโลกได้รจู้ ัก

ปี ค.ศ. 1960 มีจังหวะใหม่ๆ เกิดข้ึนในอเมริกาโดยคนผิวดา คือ จังหวะทวิสต์ การเต้นจะ
ใช้การบิดลาตัว เข่าโค้งงอ การเต้นจะไม่แตะต้องตัวกับคู่เต้น คือ ต่างคนต่างเต้น นอกจากนี้ยังมี
จังหวะฮัสเซลิ (Hustle) และจงั หวะบอสซาโนวา (Bossanova) ซ่ึงดดั แปลงจากแซมบา้ ของบราซิล

ปี ค.ศ. 1970 นิยมการเต้นราที่เรียกว่า ดิสโก้ (Disco) ซึ่งเป็นการเต้นท่ีค่อนข้างอสิ ระมาก
อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันนี้มีการเต้นราใหม่ๆ เกิดข้ึนหลายแบบ เช่น แฟลชดานซ์ (Flash Dances)
เบรกดานซ์ (Brake Dances) ซ่ึงมักจะเร่ิมจากพวกนิโกรในอเมริกา และยังมีการเต้นราโดยใช้ท่า
บริหารร่างกายประกอบจังหวะดนตรี ซ่ึงเรียกว่า แอโรบิคดานซ์ (Aerobic Dances) ซ่ึงกาลังเป็น
ทนี่ ยิ มอยูใ่ นขณะนี้ การเต้นราแบบตา่ งๆ เหล่านีไ้ มจ่ ดั เปน็ การลีลาศ

นอกจากนี้ จงั หวะเตน้ ราก็เกิดข้นึ ใหม่ๆ อกี หลายจงั หวะเช่น สลปู ป้ี เจอรค์ วาทูซ่ี เชค อโก
โก้ แมทโพเตโต้ บกู ารลู ซึง่ จัดเปน็ การเต้นราสมัยใหม่ ไมจ่ ดั เป็นการลลี าศเช่นกัน

8

ประวัตลิ ีลาศไทย ประวัตลิ ีลาศในประเทศไทย

ประวัติลีลาศไทย เกิดข้ึนเม่ือใดนั้นไม่มีหลักฐานยืนยันได้แน่ชัด แต่จากบันทึกของ แหม่มแอนนา
ทาให้มีหลักฐานเช่ือได้ว่า เมืองไทยมีลีลาศมาตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 4 และบุคคลที่ได้รับการยกย่อง
ให้เป็นนักลีลาศคนแรกก็คอื พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากบันทึกของแหม่มแอนนา
ทาให้มีหลักฐานเชื่อได้ว่าคนไทยลีลาศเป็น มาต้ังแต่สมัยพระองค์ และพระบาทสมเด็จพระจอม
เกลา้ เจ้าอยหู่ วั ไดท้ รงรบั การยกยอ่ งใหเ้ ป็นนกั ลีลาศคนแรกของไทย ตามบนั ทกึ กล่าววา่ ในชว่ งหน่งึ
ของการสนทนาได้พูดถึงการเต้นรา ซ่ึงแหม่มแอนนาพยายามสอนพระองค์ท่าน ให้รู้จักการเต้นรา
แบบสุภาพ ซ่ึงเป็นที่นิยมของชาติตะวันตก พร้อมกับแสดงท่า และบอกว่าจังหวะวอลซ์น้ันหรมู าก
มักนิยมเต้นกันในวังยุโรป ซึ่งพระองค์ท่านก็ฟังอยู่เฉยๆ ไม่ออกความเห็นใดๆ แต่พอแหมม่ แอนนา
แสดงท่า พระองค์ท่านกลับสอนว่าใกล้เกินไปแขนต้องวางให้ถูก และพระองค์ท่านก็เต้นให้ดู จน
แหม่มแอนนาถึงกับงง จึงทูลถามว่าใครเป็นคนสอนให้ พระองค์ท่านก็ไม่ตอบจึงไม่รู้ว่าใครเป็น
ผสู้ อนพระองคส์ ันนิษฐานกนั ว่าพระองคท์ ่านคงจะศกึ ษาจากตาราดว้ ยพระองคเ์ อง

ในสมัยรัชกาลท่ี 5 การเต้นรายังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก ส่วนใหญ่มีแต่เจ้านายและขุน
นางช้ันผู้ใหญ่ท่ีเต้นรากัน โดยเฉพาะเจ้านายท่ีว่าการต่างประเทศได้มีการเชิญทูตานุทูต และแขก
ชาวต่างประเทศมาชุมนุมเต้นรากันที่บ้าน เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติในการเฉลิมพระ
ชนมพรรษา หรือเนื่องในวันบรมราชาภิเษก เป็นต้น จนกระท่ังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานวังสราญรมย์ ให้เป็นศาลาว่าการกระทรวงการ
ตา่ งประเทศ งานเตน้ ราท่ีเคยจัดกันมาทกุ ปีก็ได้ย้ายมาจดั กันท่วี ังสราญรมย์ ตามบันทกึ ทาให้เชื่อว่า
ในช่วงน้ันมักจะเต้นจังหวะวอลซ์เพียงอย่างเดียว และบางคร้ังได้มีการนาเอาจังหวะวอลซ์ไป
สอดแทรกในการแสดงละครดว้ ย เชน่ เร่อื งพระอภัยมณี ตอนท่กี ล่าวถึงนางละเวงวัณฬาไดก้ ับพระ
อภัยมณี เป็นตน้

ในสมัย รัชกาลท่ี 6 ทุกๆ ปีในงานเฉลิมพระชนมพรรษาก็มักจะจัดให้มีการเต้นรากันใน
พระบรมมหาราชวัง โดยมีองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นประธาน ซึ่งบรรดาทูตานุทูต
ทั้งหลายต้องเขา้ เฝ้า สว่ นแขกท่ไี ด้เข้ารว่ มงานนน้ั ตอ้ งได้รบั บตั รเชญิ จึงจะเขา้ ไปในงานได้

9

ในสมัยรัชกาลท่ี 7 การเต้นราได้รับความนิยมมากข้ึน ได้เปิดให้มีการเต้นกันตามสถานที่
ต่างๆ เช่น ท่ีห้อยเทียนเหลาเก้าช้ัน โลลิต้า และคาร์เธ่ย์ ในพุทธศักราช 2475 หม่อมเจ้าวรรณไว
ทยากร วรวรรณ กับ นายหยิบ ณ นคร ไดป้ รึกษากันและจัดตงั้ สมาคมท่ีเก่ียวกบั การเตน้ ราขึ้น ชือ่
สมาคมสมัครเล่นเตน้ รา โดยมี หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ เป็นประธาน นายหยิบ ณ นคร
เป็นเลขาธิการสมาคม และมีคณะกรรมการอีกหลายท่าน เช่น หลวงเฉลิม สุนทรกาญจน์
นายแพทย์เติม บุนนาค พระยาปกิตกลสาร พระยาวิชิต หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ หลวงชาติตระการ
โกศล

ในเรื่องสถานท่ีต้ังสมาคมนั้นไม่แน่นนอน คือ วนเวียนไปตามบ้านสมาชิกแล้วแต่สะดวก
การต้ังเป็น สมาคมครั้งน้ีไม่ได้จดทะเบียนให้เป็นที่ถูกต้องแต่อย่างใด สมาชิกส่วนมากเป็น
ข้าราชการชั้นผใู้ หญ่ ซ่งึ ได้พาบุตรหรอื บตุ รี เข้าฝกึ หดั ดว้ ย ทาให้สมาชิกเพมิ่ ขึ้นมาอย่างรวดเรว็ มัก
จดั ให้มีงานเต้นราข้ึนบอ่ ยๆ ท่ีสมาคมคณะราษฎร์ วังสราญรมย์ และไดจ้ ัดแขง่ ขันการเต้นราขนึ้ ครัง้
แรกที่วังสราญรมยน์ ี้ ผูช้ นะเลศิ คอื พลเรือตรเี ฉียบ แสงชโู ต และ คุณประนอม สุขุม

ประวตั ิลีลาศ ไทย

ในปี พ.ศ. 2476 นักศึกษากลุ่มหน่ึงเห็นว่า คาว่า เต้นรา เมื่อผวนแล้วจะฟังไม่ไพเราะหู
(สมาคมราเต้น) ดังนั้น หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ จึงบัญญัติศัพท์คาว่า ลีลาศ ขึ้นแทนคา
ว่า เต้นรา นับแต่บัดนี้เป็นต้นมา ต่อมาสมาคมสมัครเล่นเต้นราก็สลายตัวไป กลายเป็น สมาคมครู
ลีลาศแห่งประเทศไทย โดยมี นายหยิบ ณ นคร เป็นผู้ประสานงานจนสามารถส่งนักลีลาศไปแข่ง
ยังต่างประเทศได้ รวมท้ังให้การต้อนรับนักลีลาศชาวต่างชาติที่มาเย่ียม หรือแสดงในประเทศไทย
ในช่วงที่เกิดสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ประเทศไทยเป็นประเทศหนงึ่ ที่เข้าร่วมสงครามโลกคร้งั นี้ดว้ ย จึง
ทาใหก้ ารลลี าศซบเซาไป

เมอ่ื สงครามโลกคร้ังที่ 2 สน้ิ สดุ ลง ในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2488 วงการลีลาศของไทยก็เร่ิม
คึกคัก มีชีวิตชีวาขึ้นดังเดิม มีโรงเรียนสอนลีลาศเปิดข้ึนหลายแห่ง โดยเฉพาะสาขาบอลรูมสมัย
ใหม่ หรือ Modern Ballroom Branch อาจารย์ยอด บุรี ซึ่งไปศึกษาท่ีประเทศอังกฤษแล้วนา
กลับมาเผยแพร่ในไทย ทาให้การลีลาศซ่ึง ศาสตราจารย์ศุภชัย วานิชวัฒนา เป็นผู้นาอยู่ก่อนแล้ว
พัฒนาขึน้ เปน็ ลาดบั ตอ่ มาได้มบี ุคคลชัน้ นาในการลีลาศประมาณ 10 ทา่ น ซึ่งเคยเป็นผู้ชนะเลิศใน
การแข่งขันในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เช่น คุณกวี กรโกวิท คุณอุไร โทณวนิก คุณจาลอง

10

มาณยมฑล คุณปัตตานะ เหมะสุจิ โดยมีนายแพทย์ประสบ วรมศิ ร์ เปน็ ผู้ประสานงานติดต่อพบปะ
ปรกึ ษาหารือ และมแี นวความคิดจะรวมนักลลี าศท้ังหมดให้อยู่ในสมาคมเดยี วกัน เพื่อเป็นการผนึก
กาลัง และช่วยกันปรับปรุงมาตรฐานการลีลาศทั้งทางทฤษฎีและทางปฏิบัติซ่ึงทุกคนเห็นพ้อง
ต้องกัน จึงมีการร่างระเบียบข้อบังคับข้ึน และได้ย่ืนจดทะเบียนเป็นสมาคมตามกฎหมาย เมื่อวันท่ี
7 สิงหาคม พ.ศ. 2491 ซ่ึงสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้อนุญาตให้ จัดต้ัง สมาคมลีลาศแห่งประเทศ
ไทย เม่ือวันท่ี 16 ตลุ าคม 2491 โดยมี หลวงประกอบนติ ิสาร เปน็ นายกสมาคมคนแรก ซ่งึ ปัจจบุ นั
สมาคมแห่งประเทศไทย เปน็ สมาชกิ ของสภาการลลี าศนานาชาติด้วย

หลังจากนั้น การลีลาศได้รับความนิยมแพร่หลายเป็นอย่างมาก มีการจัดต้ังสมาคมลีลาศ
ขึ้น มีสถานลีลาศเปิดเพิ่มขึ้น มีการจัดส่งนักกีฬาลีลาศไปแข่งขันในต่างประเทศ และจัดแข่งขัน
ลลี าศนานาชาติขนึ้ ในประเทศไทย

ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้กาหนดให้โรงเรียนสอนลลี าศ
ต่างๆ อยใู่ นสงั กัดของกระทรวงศึกษาธกิ าร และมีการกาหนดหลกั สูตรลลี าศขน้ึ อย่างเปน็ แบบแผน
ทาให้กีฬาลีลาศมีมาตรฐานย่ิงข้ึน ส่งผลให้กีฬาลีลาศในประเทศไทยเป็นท่ียอมรับและนิยมใน
วงการท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนให้ความสนใจ ทา
ให้มีโรงเรียนหรือสถาบนั เปิดสอนลลี าศข้ึนเกือบทุกจังหวัด สาหรับในสถานศกึ ษากไ็ ด้มกี ารจัดวิชา
ลีลาศเข้าไว้ในหลักสูตรตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา ปัจจุบันลีลาศได้รับการ
รับรองให้เป็นกีฬาจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee =
IOC) อย่างเป็นทางการ มีการประชุมคร้ังที่ 106 วันท่ี 4 กันยายน พ.ศ. 2540 ณ เมืองโลซาน
ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ สาหรบั ในประเทศไทย คณะกรรมการการกีฬาแหง่ ประเทศไทย ในสมัยท่ี
มี นายจรุ นิ ทร์ ลกั ษณวศิ ษิ ฏ์ รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการ ไดม้ ี
มติรบั รองลลี าศเป็นกีฬาอย่างเป็นทางการ เมื่อวนั ท่ี 18 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2541 จัดเป็นกฬี าลาดับที่
45 ของการกีฬาแห่งประเทศไทย และยังได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาลีลาศ (สาธิต) ข้ึนเป็นคร้ังแรก
ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งท่ี 13 ซ่ึงประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ณ กรุงเทพมหานคร
ระหว่างวันที่ 6 – 20 ธนั วาคม พ.ศ.2541

11

ความหมายของลลี าศ

คาวา่ ลีลาศ หรือ เต้นรา มีความหมายเหมอื นกัน พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานปพี ุทธศกั ราช
2525 ได้ให้ความหมายดงั นี้

ลีลาศ เป็นนาม แปลว่า ท่าทางอันงดงาม การเยื้องกราย เป็นกิริยาแปลว่า เยื้องกรายเดิน นวย
นาด

เตน้ รา เปน็ กิรยิ าแปลวา่ เคลื่อนท่ไี ปโดยมีระยะก้าวตามกาหนด ให้เขา้ กบั จังหวะดนตรี ซ่ึงเรียกว่า
ลลี าศ โดยปกติเตน้ เป็นคชู่ าย หญงิ ราเท้ากว็ ่า คนไทยนยิ มเรียกการลลี าศว่า เต้นรา มานานแลว้

คาว่าลีลาศตรงกับภาษาอังกฤษว่า Ballroom Dancing หมายถึง การเต้นราของคู่ชายหญิงตาม
จังหวะดนตรีท่ีมีแบบอย่างและลวดลายการเต้นเฉพาะตัว โดยมีระเบียบของการชมุ นมุ ณ สถานท่ี
อันจัดไว้ในสังคม ใช้ในงานราตรีสโมสรต่างๆ และมิใช่การแสดงเพื่อให้คนดู นอกจากนี้ยังมีคาอีก
คาหนึ่งท่ีมักจะได้ยินกันอยู่ เสมอคือคาว่า Social Dance ส่วนใหญ่มักจะนามาใช้ในความหมาย
เดียวกนั กบั คาว่า Ballroom Dancing

สหรัฐอเมริกาคาว่า Social Dance หมายถึง การเต้นราทุกประเภทท่ีจัดข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อให้คนมาอยู่ร่วมกัน และได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเต้นราเป็นหมู่คณะ เพื่อให้ได้ความสนุก
สานเพลดิ เพลิน จงึ กลา่ วไดว้ ่า Ballroom Dancing เป็นสว่ นหนึง่ ของ Social Dance (ธงชยั เจรญิ
ทรพั ยม์ ณี 2538)

อาจสรุปได้ว่า “ลีลาศ” คือกิจกรรมเข้าจังหวะประเภทหน่ึง เป็นการเต้นราที่แสดงออกอย่างมี
ศลิ ปะ โดยใช้เสียงเพลงและจงั หวะดนตรีเป็นสื่อ เพอ่ื ให้เกิดความสนุกสนามเพลดิ เพลิน มีลวดลาย
การเต้น (Figure) เป็นแบบเฉพาะตัว และมกั นาลลี าศมาใช้ในงานสังคมท่ัว ๆ ไป

12

รูปแบบของการลีลาศ

คณุ ธงชัย เจรญิ ทรพั ย์มณี ไดแ้ บ่งรูปแบบของการลลี าศตามความมุ่งหมายออกเปน็ 2 รปู แบบ ดังนี้

1.ลีลาศเพื่อนันทนาการ (Ballroom Dancing for Recreation) การลีลาศเพื่อนันทนาการ มี
ความมุ่งหมายที่จะใช้การลลี าศเป็นสื่อ ดึงความสนใจของบุคคลตา่ ง ๆ ให้เข้าร่วมกิจกรรม จะเห็น
ไดว้ ่า การจดั งานรนื่ เริงในโอกาสต่าง ๆ เช่น งานพบปะสังสรรค์ งานฉลองในวาระสาเร็จการศึกษา
งานราตรีสโมสร ฯลฯ ล้วนแต่มีลีลาศเป็นส่วนประกอบทั้งสิ้น การลีลาศในรูปแบบนี้มักไม่ค่อยยึด
ติดหรือคานงึ ถึงรปู แบบมากนกั เพยี งแตอ่ าศัยจงั หวะ และ ทานองดนตรีประกอบก็พอ สาหรับลลี า
ท่าทางหรือลวดลาย (Figure) ต่าง ๆ ในการเคลื่อนไหวจะเน้นที่ความสนุกสนาม และ ความพึง
พอใจของคู่ลลี าศเปน็ สาคัญ

2.ลีลาศเพื่อการแข่งขัน (Ballroom Dancing for Sport’s Competition) การลีลาศเพ่ือการ
แข่งขัน จะคานึงถึงรปู แบบทีถ่ ูกต้องตามเทคนคิ วธิ ีมคี วามสง่างามตามหลักของการเคลอื่ นไหวตาม
ธรรมชาติเป็นสาคัญ ได้มีสมาคมลีลาศในหลาย ๆ ประเทศรวมทั้งประเทศไทยได้ร่วมกันส่งเสริม
ลีลาศให้มีการพัฒนา และพยายามจัดให้เป็นรูปแบบของกีฬา โดยมีแนวคิดว่าลีลาศคือกีฬาชนิด
หน่ึง ท่ีให้ความบันเทิงและส่งเสริมสุขภาพพลานามัยเป็นอย่างดี นอกจากน้ียังได้ร่วมกันจัดการ
แข่งขันลีลาศขึ้นในหลายระดับ ท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ ทั้งประเภทอาชีพ และ
สมคั รเลน่ โดยมชี ่อื เรียกแตกตา่ งกัน เช่น

– การแข่งขันลีลาศระหว่างประเทศในแถบเอเชียแปซฟิ ิค (Asian Pacific Modern Latin Dance
Championship)

– การแขง่ ขันลีลาศประเภททีมนานาชาติ (Anniversary of Blackpool team Match)

– การแข่งขันลีลาศชิงแชมป์โลก (World Professional Ballroom Dancing championship)

จากความพยายามของสมาคมลีลาศต่างๆ ท่ัวโลก ในอันท่ีจะผลักดันให้ลีลาศได้รับการบรรจุเข้า
เป็นกีฬาชนิดหนึ่งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ในที่สุด ผลจากการประชุมของคณะกรรมการ
โอลิมปิกสากล ที่นครบูดาเปสต์ ประเทศบัลแกเรีย เม่ือเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2539 ได้มีการลง
สัตยาบันรับรองลีลาศเป็นกีฬาชนิดหน่ึง โดยสามารถจัดแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกได้ และ
คณะกรรมการโอลิมปิกไทยก็ได้รับรองกีฬานี้เช่นกัน โดยจัดให้มีการแข่งขันครั้งแรกในกีฬา

13

โอลิมปิก 2000 จัดขึ้นที่นครซิดนีย์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
วันศุกรท์ ี่ 27 ก.ย. 2539)

นอกจากนี้ ประเทศไทยยังได้จัดให้มีการแข่งขันลีลาศครั้งประวัติศาสตร์ข้ึน เม่ือวันที่ 30
พ.ย. – 1 ธ.ค. 2539 โดยใช้ชื่อว่า โกลเด้น จูบิลี่ (Golden Jubilee Thailand Queen’s Cup
Dancesport Championship) ชิงถ้วยพระราชทาน ของพระบาทสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองปีมหามงคลกาญจนาภิเษก มีชาติต่าง ๆ สมัครเข้าร่วม
แข่งขันในประเภทต่างๆ ถึง 25 ประเทศ รวมคู่ลีลาศได้ถึง 97 คู่ (หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันเสาร์ที่
14 ธ.ค. 2539)

14

ประเภทของลลี าศ

สภาการลีลาศนานาชาติ (International Council of Ballroom Dancing : I.C.B.D.) ได้ทาการ
รวบรวมและแบง่ การลีลาศออกเป็น 2 ประเภท คือ
ประเภทบอลรูม (Ballroom Dancing)
ประเภทลาตินอเมริกนั (Latin American Dancing)
ลีลาศ ประเภทบอลรูม (Ballroom Dancing)
เป็นการลีลาศท่ีใช้จังหวะ นุ่มนวล สง่างาม ลักษณะของการลีลาศ และทานองดนตรีเต็มไปด้วย
ความสุภาพอ่อนหวาน ลาตัวของผู้ลีลาศจะตง้ั ตรง ผึ่งผาย ในการก้าวเท้านิยมลากเท้าสัมผัสไปกบั
พ้ืนห้อง มักพบการลีลาศประเภทนี้ในหมู่ขุนนางชาวอังกฤษ จึงเรียกติดปากกันว่า การลีลาศแบบ
ผดู้ อี งั กฤษ มอี ยู่ 5 จังหวะ คอื
จังหวะวอลซ์(Waltz)
จังหวะควกิ วอลซ์ หรอื เวนิสวอลซ์ (Quick Waltz or Vienness Waltz)
จงั หวะฟอกซท์ รอท (Foxtrot)
จงั หวะแทงโก้ (Tango)
จังหวะควิกสเตป (Quick Step)
ลีลาศ ประเภทลาตนิ อเมรกิ ัน (Latin American Dancing)
เป็นการลีลาศท่ีใช้จังหวะค่อนข้างเร็ว ใช้ความแคล่วคล่องว่องไว ส่วนใหญ่จะใช้ไหล่ เอว สะโพก
เข่า และข้อเท้าเป็นสาคัญ การก้าวเดินสามารถยกเท้าพ้นพื้นได้ทานอง และจังหวะดนตรีจะเร้าใจ
ทาใหเ้ กิดความสนุกสนานรา่ เรงิ มอี ยู่ 5 จงั หวะ คอื
จงั หวะคิวบันรมั บ้า (Cuban Rumba)
จงั หวะแซมบ้า (Samba)
จงั หวะพาโซโดเบลิ (Paso Doble)

15

จงั หวะไจวฟ์ (Jive)
จังหวะชา ชา ชา่ (Cha Cha Cha)
นอกจากน้ียังมีลีลาศอีกประเภทหน่ึง ซึ่งจัดอยู่ในประเภทเบ็ดเตล็ด (Pop or Social Dance) โดย
รวบรวมจังหวะที่เกิดขึ้นใหม่ๆ และยังไม่เป็นท่ียอมรับในระดับสากล หรือเป็นจังหวะที่นิยมลีลาศ
กนั ภายในบางประเทศ แต่ยังไมเ่ ป็นที่แพรห่ ลายประกอบดว้ ยจงั หวะตา่ งๆ ดังนี้
จังหวะบีกิน (Beguine)
จังหวะอเมรกิ ันรมั บ้า (American Rumba)
จังหวะดิสโก้ (Disco)
จงั หวะตะลุงเทมโป (Taloong Tempo)
จงั หวะกวั ราชา่ (Guarracha)
จงั หวะแมมโบ้ (Mambo)
จงั หวะคาลปิ โซ่ (Calypso)
จงั หวะรอ็ ค แอนด์ โรล (Rock and Roll)
จงั หวะออฟบที (Off – beat)
จงั หวะทวสิ ต์(Twist)
จังหวะบมั๊ พ์ (Bump)
จังหวะฮสั เซิล (Hustle)

16

ประโยชนข์ องลลี าศ

จากสภาพความเปน็ อยู่ของคนในสังคมปัจจบุ นั ทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วทาใหเ้ กิดปัญหาท่ี
สลับซับซ้อน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง สภาพการณ์เหล่านี้เป็น
สาเหตุทาให้ประชาชนประสบกับปัญหาต่างๆ ท้ังทางด้านร่างกายและจิตใจเพิ่มข้ึนเป็นลาดับ ซ่ึง
จติ แพทย์ นกั จติ วิทยา และนกั การศกึ ษาต่างกพ็ ยายามเน้นและช้ีนาใหเ้ ห็นถึงความจาเป็น เก่ียวกบั
การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถผ่อนคลายความเครียด
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีย่ิงข้ึน ลีลาศจึงเป็นกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะช่วยผ่อน คลาย
ความเครียดแลว้ ยังช่วยพฒั นาทั้งทางด้านรา่ งกายจติ ใจ อารมณ์ และสงั คมได้เป็นอยา่ งดี ซึง่ พอจะ
สรุปประโยชน์ของการลลี าศได้ ดังน้ี

กอ่ ให้เกิดความซาบซง้ึ ในจังหวะดนตรี

ก่อใหเ้ กิดความสนกุ สนาม เพลิดเพลิน

เปน็ กิจกรรมนนั ทนาการ และเป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์

เป็นกิจกรรมส่อื สัมพนั ธ์ทางสังคม ผ้ชู ายและผู้หญิงสามารถเข้ารว่ มในกจิ กรรมพรอ้ มกนั ได้

ช่วยพัฒนาทกั ษะทางกลไก (Motor Skill) หรอื สมรรถภาพเชงิ ทกั ษะปฏบิ ัติ

ช่วยส่งเสริมสุขภาพพลานามัย ท้ังทางด้านร่างกายและจิตใจ ให้แข็งแรงสมบูรณ์อันจะทาให้มีชีวติ
ยืนยาวและมีความสุข

ทาให้มีรูปรา่ งทรวดทรงงดงาม สมสว่ น มบี ุคลกิ ภาพในการเคลือ่ นไหวที่ดูแลว้ สงา่ งามยงิ่ ขึ้น

ช่วยผอ่ นคลายความตึงเครยี ดทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คม

ช่วยใหร้ ู้จกั การเข้าสงั คม และรูจ้ ักการอยูร่ ่วมกันในสงั คมได้เป็นอย่างดี

ช่วยส่งเสรมิ ให้มีความเช่ือมนั่ ในตนเอง กลา้ แสดงออกในสง่ิ ทดี่ ีงาม

ทาใหม้ คี วามซาบซ้งึ ในวัฒนธรรมอนั ดงี าม และช่วยจรรโลงให้คงอย่ตู ลอดไป

เปน็ กิจกรรมทกี่ อ่ ใหเ้ กิดความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์

17

เป็นกจิ กรรมทส่ี ามารถช่วยแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งทางกาย
ประโยชน์ของลีลาศ ประวตั ลิ ลี าศ
มารยาททางสงั คมในการลีลาศ ท่ีควรทราบมีดังนี้
การเตรยี มตวั
อาบน้าชาระรา่ งกายให้สะอาด กาจัดกลน่ิ ต่าง ๆ ทีไ่ มพ่ ึงประสงค์ เช่น กล่ินปาก กลนิ่ ตัว เป็นต้น
แต่งกายให้สะอาด ถูกต้อง และเหมาะสมตามกาละเทศะ ซ่ึงจะเป็นหารสร้างความม่ันใจใน
บุคลิกภาพของตนเอง
ควรใช้เครื่องสาอาง หรือน้าหอม ที่มีกลิ่นไม่รุนแรง จนสร้างความราคาญให้กับผู้ที่อยู่ใกล้ชิด หรือ
กบั ค่ลู ีลาศของตน
มกี ารเตรยี มตวั ลว่ งหน้าโดยการฝึกซอ้ มลลี าศในจงั หวะตา่ งๆ เพื่อสร้างความม่นั ใจในการลีลาศ
สภุ าพบรุ ษุ จะตอ้ งให้เกียรตสิ ภุ าพสตรี และบุคคลอืน่ ในทุกสถานการณ์ และจะตอ้ งไปรบั สุภาพสตรี
ท่ีตนเชญิ ไปรว่ มงาน
ไปถึงบริเวณงานให้ตรงตามเวลาทีร่ ะบไุ ด้ในบตั รเชิญ
เรยี นการโรงแรมทีส่ วติ เซอร์แลนด์
ก่อนออกลลี าศ
พยายามทาตวั ให้เป็นกนั เอง และสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยกับเพอื่ นใหม่ แนะนาเพอื่ น
หญงิ ของตนใหบ้ ุคคลอื่นรู้จัก (ถา้ ม)ี
ไมด่ ่มื สรุ ามากจนครองสตไิ ม่อยู่ ถ้ารูส้ กึ ตัวว่าเมามาก ไมค่ วรเชญิ สุภาพสตรอี อกลลี าศ
ไม่ควรเชิญสุภาพสตรที ีไ่ ม่รู้จักออกลีลาศ ยกเว้นจะได้รบั การแนะนาใหร้ ้จู ักกนั เสียกอ่ น
สุภาพบุรุษควรแน่ใจว่าสุภาพสตรีที่ตนเชิญออกลีลาศ สามารถลีลาศจังหวะน้ันๆ ได้หากไม่แน่ใจ
ควรสอบถามก่อน

18

สุภาพบุรุษควรเชิญสุภาพสตรีออกลีลาศด้วยกริยาท่ีสุภาพ ถ้าถูกปฏิเสธก็ไม่ควรเซ้าซ้ีจนเป็นท่ีน่า
ราคาญ

สุภาพสตรี ไม่ควรปฏิเสธเม่ือมีสุภาพบุรุษมาขอลีลาศด้วย หากจาเป็นจะต้องปฏิเสธด้วยเหตุผลใด
ก็ตาม จะต้องปฏิเสธด้วยถ้อยคาท่ีสุภาพนุ่มนวล และไม่ควรลีลาศกับสุภาพบุรุษอ่ืนในจังหวะท่ตี น
ได้ปฏเิ สธไปแลว้

ถ้าในกลุ่มสุภาพสตรีท่ีน่ังอยู่มีบุคคลอื่น หรือสุภาพบุรุษอื่นน่ังอยู่ด้วย จะต้องกล่าวคาขออนุญาต
จากบุคคลเหลา่ นน้ั กอ่ นที่จะเชิญสุภาพสตรอี อกลลี าศ

ก่อนออกลลี าศควรฟงั จังหวะใหอ้ อกเสยี ก่อน และแน่ใจวา่ สามารถลีลาศในจงั หวะนนั้ ได้

ขณะลีลาศ

ขณะท่ีพาสุภาพตรีไปท่ีฟลอร์ลีลาศ สุภาพบุรุษควรเดินนาหน้า หรือเดินเคียงคู่กันไป เพ่ือให้ความ
สะดวกแก่สุภาพสตรี และเม่ือไปถึงฟลอร์ลีลาศ ควรให้เกียรติสุภาพสตรีเดินขึ้นไปบนฟลอร์ลีลาศ
ก่อน

ในการจับคู่ สุภาพบรุ ษุ ตอ้ งกระทาด้วยความนมุ่ นวลสภุ าพ และถูกตอ้ งตามแบบแผนของการลลี าศ
ไมค่ วรจับคใู่ นลักษณะท่รี ดั แน่นหรอื ยนื ห่างจนเกินไป การแสดงออกท่นี ่าเกลยี ดบางอย่างพงึ ละเว้น
เช่น การเอารดั เอาเปรียบคลู่ ลี าศ เป็นต้น

จะต้องลีลาศไปตามจังหวะ แบบแผน และทิศทางที่ถูกต้องไม่ย้อนแนวลีลาศ เพราะจะเป็น
อุปสรรคกีดขวางการลีลาศของคู่อ่ืน ถ้ามีการชนกันเกิดขึ้นในขณะลีลาศ จะต้องกล่าวคาขอโทษ
หรอื ขออภัยด้วยทุกคร้งั

ไมส่ บู บุหร่ี เคยี้ วหมากฝรงั่ หรอื ของขบเคยี้ วใด ๆ ในขณะลีลาศ

ให้ความสนใจกับคู่ลีลาศของตน ความอบอุ่นเกิดขึ้นได้จากการย้ิมแย้มแจ่มใสหรือคากล่าวชม ไม่
แสดงอาการเบ่ือหน่ายหรือหันไปสนใจคู่ลีลาศของคนอื่น และอย่าทาตนเป็นผู้กว้างขวางช่างพูด
ชา่ งคุยกบั คนทวั่ ไปในขณะลลี าศ

ควรลลี าศด้วยความสนกุ สนานรา่ เรงิ

ไมค่ วรพดู เรอื่ งปมด้อยของตนเอง หรอื ของคู่ลลี าศ

19

ไมค่ วรเปลีย่ นคูบ่ นฟลอรล์ ลี าศ

ควรลีลาศในรูปแบบหรือลวดลายท่ีง่ายๆ ก่อน แล้วจึงเพ่ิมรูปแบบหรือลวดลายที่ยากขึ้นตาม
ความสามารถของคู่ลีลาศ เพราะจะทาให้คู่ลีลาศรู้สึกเบื่อหน่าย และไม่ควรพลิกแพลงรูปแบบการ
ลลี าศมากเกนิ ไปจนมองดูน่าเกลยี ด

ถือว่าเป็นการไม่สมควรท่ีจะร้องเพลง หรือแสดงออกอย่างอ่ืนในขณะลีลาศ หรือลีลาศด้วยท่าทาง
แผลง ๆ ดว้ ยความคกึ คะนอง
ไมค่ วรสอนลวดลายหรอื จงั หวะใหม่ๆ บนฟลอร์ลีลาศ

ไม่ควรลีลาศด้วยลวดลายท่ีใชเ้ นือ้ ทีม่ ากเกินไป ในขณะทมี่ คี นอย่บู นฟลอรเ์ ปน็ จานวนมาก

ในการลีลาศแบบสุภาพชน ไม่ควรแสดงความรักในขณะลลี าศ

การนาในการลีลาศเป็นหน้าท่ีของสุภาพบุรุษ สุภาพสตรีไม่ควรเป็นฝ่ายนา ยกเว้นเป็นการช่วยใน
ความผดิ พลาดของสุภาพบุรุษ เปน็ คร้งั คราวเทา่ น้นั

การให้กาลังใจ การให้เกียรติ และการยกย่องชมเชยด้วยใจจริง จะช่วยให้คู่ลีลาศเกิดความรู้สึก
อบอุ่นและเชื่อม่ันในตนเองย่ิงขึ้น คู่ลีลาศท่ีดีจะต้องช่วยปกปิดความลับ หรือปัญหาที่เกิดข้ึนและ
มองขา้ มจดุ ออ่ นของคลู่ ีลาศ

ไมค่ วรผละออกจากคู่ลลี าศโดยกระทันหัน หรือกอ่ นเพลงจบ

เมอ่ื สิน้ สดุ การลีลาศ

สุภาพบุรุษต้องเดินนาหรือเดินเคียงคู่กันลงจากฟลอร์ลีลาศ และนาสุภาพสตรีไปส่งยังท่ีน่ังให้
เรียบรอ้ ย พร้อมทงั้ กลา่ วคาขอบคุณสุภาพสตรี และสภุ าพบุรุษอน่ื ทีน่ ง่ั อยู่ด้วย
เมอ่ื ถงึ เวลากลับ ควรกลา่ วคาชมเชย และขอบคณุ เจา้ ภาพ (ถ้าม)ี

สุภาพบุรุษจะต้องพาสุภาพสตรที ่ตี นเชญิ เข้างาน ไปส่งยังทพ่ี กั

ความเป็นมาลีลาศ

ประวตั ิลีลาศ สกู่ ฬี าเตน้ ท่ีสวยงาม

20

สรุปประวัตลิ ีลาศ

ลีลาศ หรือ การเต้นรา ได้เกิดขึ้นมานับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และได้รับการพัฒนารูปแบบ
การเต้นรามาอย่างต่อเน่ือง ซึ่งในอดีต การเต้นราเรามักจะพบในงานพิธีกรรมทางศาสนา อนั ได้แก่
การเตน้ เพ่ือบวงสรวงเทพเจ้า การเต้นราดว้ ยอาวุธเพอ่ื ใชใ้ นทางทหาร

ในยคุ ฟื้นฟไู ด้มีการจัดพมิ พห์ นังสือเก่ยี วกับการเตน้ รา มีการจดั เต้นราสวมหนา้ กาก ระบาบัลเลย์ได้
เกิดข้ึนในยุคนี้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ได้จัดตั้งโรงเรียนบัลเลย์ขึ้นเป็นแห่งแรก การเต้น
ระบาบัลเลยถ์ อื ได้วา่ เป็นพืน้ ฐานของการลีลาศกว็ า่ ได้

ยุคโรแมนตกิ เกิดการเต้นวอลซ์ ซึง่ รับมาจากกรุงเวยี นนา ประเทศออสเตรยี และไดแ้ พรห่ ลายไปใน
ยโุ รปตะวันตก

ในยุคปัจจุบันได้เกิดจังหวะฟอกซ์ทรอท และแทงโก้ ในยุคน้ีได้เกิดจังหวะในประเภทบอลรูม รวม
ทั้งส้ิน 5 จังหวะ ได้แก่ วอลซ์ ควิ๊กวอลซ์ สโลว์ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ และคว๊ิกสเต็ป ในปีค.ศ 1950
ได้เกดิ จังหวะใหม่ๆ ขึ้นอกี ไดแ้ ก่ จงั หวะ แมมโม้ ควิ บา ชา ชา ชา่ และเมอเรงโก้ ในปี 1959 ไดจ้ ดั
ให้มีการแข่งขันลีลาศชิงแชมป์โลกที่ประเทศอังกฤษ ซ่ึงจังหวะที่จัดแข่งได้แก่ วอลซ์ ฟอกซ์ทรอท
แทงโก้ ควก๊ิ สเตป๊ และเวนิสวอลซ์ จงั หวะร็อคแอนดโ์ รล ได้เกดิ ข้ึนในยุคนี้

21

บรรณานุกรม

mwit.ac.th
กรมพลศึกษา dpe.go.th
https://www.educatepark.com/story/history-of-dancesport/
https://sites.google.com/site/kilasahrabbukhkhlthawpi/prawati-ktika-kila-
na-ru/lilas




Click to View FlipBook Version