The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูหมวยลี่, 2023-06-21 02:06:23

ilovepdf_merged (13)

ilovepdf_merged (13)

วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต รหัสวิชา 30404-2001 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 2563 นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร ต าแหน่ง ครูผู้ช่วย


แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ วิชา โภชนาการเพื่อชีวิต รหัสวิชา 30404 – 2001 ทฤษฎี 2 ปฏิบัติ 2 หน่วยกิต 3 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขางานอาหารและโภชนาการ จัดทำโดย นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต รหัสวิชา3404-2001 ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักโภชนาการปัญหาภาวะโภชนาการ อาหารแลกเปลี่ยน อาหารครบมารตฐาน การกำหนดราการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร อาหารเฉพาะโรค อาหารบุคคลภาวะพิเศษ การประกอบอาหารบุคคลวัยต่างๆ บุคคลภาวะพิเศษ การให้อาหารทางสายให้อาหาร และอาหารเฉาะโรค ผู้เขียนได้รวบรวมจัดทำเกี่ยวกับหลักสูตรรายวิชา ประกอบด้วย ลักษณะวิชา การแบ่งหน่วยบทเรียนและ หัวข้อ จุดประสงค์การสอนและการประเมินผลรายวิชา พร้อมทั้งได้จัดทำกำหนดการสอน ใบเตรียมการสอนราย สัปดาห์ตลอดทั้ง 18 สัปดาห์ ซึ่งประกอบด้วย จุดประสงค์การสอน เนื้อหาสาระที่สอน วิธีการสอน เอกสารและสื่อ ประกอบการสอน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้เขียนคาดหวังว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นเอกสารคู่มือครูประกอบการสอนที่ได้มี การเตรียม และวางแผนการสอนไว้อย่างรอบคอบ ซึ่งจะส่งผลให้การสอนรายวิชานี้ มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ ต่อไป ลงชื่อ……………………………………… นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี


สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข หลักสูตรรายวิชา ค ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ง หน่วยการเรียนรู้ ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของหน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจำหน่วย ตารางแสดงรายละเอียดการจัดการเรียนรู้รายวิชา หลักเกณฑ์และวิธีการวัดและประเมินผลรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ หน่วยที่ 2 เรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่ หน่วยที่ 3 เรื่อง การย่อย การดูดซึม และการขับถ่าย หน่วยที่ 4 เรื่อง ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา หน่วยที่ 5 เรื่อง อาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน หน่วยที่ 6 เรื่อง การกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร หน่วยที่ 7 เรื่อง บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค เพิ่มเนื้อหา อาหารทางสายให้อาหาร หน่วยที่ 8 เรื่อง โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ


หลักสูตรรายวิชา ชื่อรายวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต รหัสวิชา 30404-2001 ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชา อาหารและโภชนาการ หน่วยกิต 2-2-3 จำนวนชั่วโมงรวม 74 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จุดประสงค์รายวิชา 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ อาหารแลกเปลี่ยน อาหารครบมาตรฐาน การกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร อาหารเฉพาะโรค อาหารบุคคลภาวะพิเศษ 2. เข้าใจเกี่ยวกับหลักโภชนาการบุคคลวัยต่างๆ บุคคลภาวะพิเศษ ความต้องการปริมาณสารอาหารของบุคคล วัยต่างๆ บุคคลภาวะพิเศษ การกำหนดรายการอาหาร การคำนวณความต้องการสารอาหาร การใช้ตารางสารอาหาร และการประกอบอาหารของบุคลวัยต่างๆ บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค 3. สามารถกำหนดรายการอาหารและคำนวณความต้องการปริมาณสารอาหารของบุคลวัยต่างๆ บุคคลภาวะ พิเศษ และอาหารเฉพาะโรคจากตารางแสดงคุณค่าของอาหารไทย และตารางอาหารแลกเปลี่ยน 4. สามารถประกอบอาหารสำหรับบุคลวัยต่างๆ บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรคตามหลักโภชนาการ 5. ตระหนักและเห็นคุณค่าถึงความสำคัญของโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆและบุคคลภาวะพิเศษ นำความรู้ด้านโภชนาการไปใช้เป็นพื้นฐานการเรียนวิชาชีพอาหารและใช้ในชีวิตประจำวัน 6. มีเจตนคติและกิจนิสัยในการจัดการงานอาชีพ ด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ มีวินัย ขยัน ประหยัด อดทน และสามารถทำงานร่วมกัน มาตรฐานรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการ ภาวะโภชนาการ อาหารครบมาตรฐาน อาหารเฉพาะโรค อาหาร บุคคลภาวะพิเศษ 2. คำนวณคุณค่าอาหาร กำหนดรายการอาหาร ตามรายการอาหารแลกเปลี่ยนและตารางแสดงคุณค่าอาหารไทย 3. ประกอบอาหารสำหรับบุคคลวัยต่างๆ บุคลภาวะพิเศษ อาการเฉพาะโรค ตามหลักโภชนาการ 4. ประยุกต์ใช้หลักการและกระบวนการในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักโภชนาการ อาหารหลัก 5 หมู่ สารอาหาร กระบวนการย่อยอาหาร ปัญหา ภาวะโภชนาการ อาหารแลกเปลี่ยน อาหารครบมาตรฐาน กำหนดรายการอาหารและคำนวณคุณค่าอาหาร อาหาร เฉพาะโรค อาหารบุคคลภาวะพิเศษ การประกอบอาหารบุคคลวัยต่าง ๆ บุคคลภาวะพิเศษและอาหารเฉพาะโรค


ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา รหัสวิชา 30404-2001 วิชาโภชนาการเพื่อชีวิต (2-2-3) หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ครูผู้สอน นางสาววรรณศิริสุนทรกุมาร หน่วยที่ จุดมุ่งหมาย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ รวม ลำดับความสำคัญ จำนวนคาบ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย ความรู้ ความเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า 5 5 5 5 5 5 5 5 40 1 เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ 1 1 1 2 5 7 4 2 เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ 1 1 1 1 1 5 7 4 3 เรื่องการย่อย การดูดซึม และการขับถ่าย 4 3 2 1 1 11 3 8 4 เรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และ วิธีการแก้ไขปัญหา 3 4 2 1 1 11 3 8 5 เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 2 2 2 1 1 1 2 11 3 8 6 เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณ คุณค่าอาหาร 2 2 1 1 1 1 1 2 11 3 8 7 เรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค เพิ่มเนื้อหาการให้อาหารทางสายให้อาหาร 2 2 2 2 2 2 2 2 16 2 12 8 โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ 2 3 3 4 4 4 3 3 26 1 20 รวม 17 18 14 11 8 7 7 14 96 72 ลำดับความสำคัญ 2 1 3 5 6 7 7 3 - น้ำหนักคะแนนความสำคัญของแต่ละหน่วย แบบที่ 1 แบบที่ 2 ความหมาย 9 - 10 5 สำคัญที่สุด 7 - 8 4 สำคัญมาก 4 - 6 3 ปานกลาง 2 - 3 2 สำคัญน้อย 0 - 1 1 น้อยมากหรือไม่สำคัญเลย จัดทำโดย นายปรีชา มณีรัตนโชติ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี


ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของหน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจำหน่วย ชื่อหน่วย สมรรถนะ ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะที่พึ่ง ประสงค์ หน่วยที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ 1. บ อ กค ว า ม ห ม า ย ข อ ง โภชนาการได้ถูกต้อง 2.อธิบายความสำคัญของโภช นาการได้ถูกต้อง 1.ผู้เรียนสามารถบอกความหมายของ โภชนาการได้ถูกต้องทั้งหมด 2. ผู้เรียนสามารถบอกประโยชน์ของ อาหารได้ถูกต้อง จำนวน 4 ข้อ ใน 5 ข้อ 1. ปฏิบัติงานด้วยความ ละเอียด รอบคอบ 2. มีวินัยตรงต่อเวลา และมี ความรับผิดชอบ หน่วยที่ 2 อาหารหลัก 5 หมู่ 1.สามารถบอกอาหารหลัก 5 หมู่ได้ถูกต้อง 2.สามารถอธิบายอาหารหลัก 5 หมู่ได้ถูกต้อง 3.สามารถแยกแยะอาหารหลัก 5 หมู่ได้ถูกต้อง 1. ผู้เรียนสามารถบอกอาหารหลัก 5 หมู่ ได้ถูกต้องทั้งหมด 2.ผู้เรียนสามารถบอกประโยชน์ของ อาหารหลัก 5 หมู่ ได้ถูกต้อง จำนวน 4 ข้อ ใน 5 ข้อ 1. ปฏิบัติงานด้วยความ ละเอียด รอบคอบ 2. มีวินัยตรงต่อเวลา และมี ความรับผิดชอบ หน่วยที่ 3 สารอาหาร หน้าที่ของ สารอาหาร และ ปริมาณ ความต้องการสารอาหาร 1.สามารถอธิบายเกี่ยวกับชนิด หน้าที่ และความต้องการ สารอาหารได้ถูกต้อง 2. สามารถแยกแยะเกี่ยวกับ ชนิด หน้าที่ และความต้องการ สารอาหารได้อย่างถูกต้อง ผู้เรียนสามารถเขียน MY MAP สารอาหาร หน้าที่ของสารอาหาร และ ปริมาณความต้องการสารอาหารได้ ถูกต้องทั้งหมด 1. ปฏิบัติงานด้วยความ ละเอียด รอบคอบ 2. มีวินัยตรงต่อเวลา และมี ความรับผิดชอบ หน่วยที่ 4 ภาวะโภชนาการ ปัญหา ภาวะโภชนาการและ วิธีการแก้ไข 1.ส า ม า ร ถ อ ธ ิ บ า ย ภ า ว ะ โ ภ ช น า ก า ร ป ั ญ ห า ภ า ว ะ โภชนาการ และวิธีการแก้ไข ปัญหา ได้ถูกต้อง 2. นักเรียนสามารถยกตัวอย่าง ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะ โภชนาการ และวิธีการแก้ไข ปัญหา ได้ถูกต้อง 1. ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างภาวะ โภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ได้ถูกต้อง ทั้งหมด 2. ผู้เรียนสามารถเขียน MY MAP เรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะ โภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา จำนวน 8 ข้อ ใน 10 ข้อ 1. ปฏิบัติงานด้วยความ ละเอียด รอบคอบ 2. มีวินัยตรงต่อเวลา และมี ความรับผิดชอบ หน่วยที่ 5 อาหารแลกเปลี่ยนสำหรับ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 1. สามารถอธิบายเรื่องอาหาร แลกเปลี่ยนสำหรับผู้ ป่ วย เบาหวานได้ถูกต้อง 2. สามารถยกตัวอย่างอาหาร แลกเปลี่ยนสำหรับผู้ ป่ วย เบาหวานได้ถูกต้อง 3. สามารถแยกประเภทอาหาร แลกเปลี่ยนสำหรับผู้ ป่ วย เบาหวานได้ถูกต้อง 1. ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างอาหาร แลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ได้ ถูกต้องทั้งหมด 2. ผู้เรียนสามารถเขียน ตารางอาหาร แลกเปลี่ยน เรื่องอาหารแลกเปลี่ยน สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 1. ปฏิบัติงานด้วยความ ละเอียด รอบคอบ 2. มีวินัยตรงต่อเวลา และมี ความรับผิดชอบ


ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของหน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจำหน่วย ชื่อหน่วย สมรรถนะ ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะที่พึ่ง ประสงค์ หน่วยที่ 6 การกำหนดรายการอาหาร และการคำนวณคุณค่า อาหาร 1. สามารถอธิบายเรื่องการ กำหนดรายการอาหารและการ คำนวณคุณค่าอาหาร 2. สามารถยกตัวอย่างอาหาร การกำหนดรายการอาหารและ การคำนวณคุณค่าอาหาร 3สามารถแยกประเภ ทการ กำหนดรายการอาหารและการ คำนวณคุณค่าอาหาร 1. ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างการ กำหนดรายการอาหารและการ คำนวณคุณค่าอาหาร ได้ถูกต้อง ทั้งหมด 2. ผู้เรียนสามารถคำนวณอาหารและ สารอาหารได้ จำนวน 8 ข้อ ใน 10 ข้อ 1. ปฏิบัติงานด้วยความ ละเอียด รอบคอบ 2. มีวินัยตรงต่อเวลา และมี ความรับผิดชอบ หน่วยที่ 7 อาหารสำหรับบุคคลภาวะ พิเศษ และอาหารเฉพาะ โรค 1.ส า ม า ร ถ อ ธ ิ บ า ย เ ร ื ่ อ ง โภชนาการสำหรับบุคคลภาวะ พิเศษ และอาหารเฉพาะโรคได้ ถูกต้อง 2.สามารถอธิบายเรื่องการให้ อาหารทางสายให้อาหารได้ ถูกต้อง 3.สามารถยกตัวอย่างโภชนาการ สำหรับบุคคลภาวะพิเศษ และ อาหารเฉพาะโรคได้ถูกต้อง 3. สามารถกำหนดรายการ อาหารได้ถูกต้องและเหมาะสม 1. ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างการ กำหนดรายการอาหารและการ คำนวณคุณค่าอาหารของโภชนาการ สำหรับบุคคลภาวะพิเศษ และอาหาร เฉพาะโรคถูกต้องทั้งหมด 2. ผู้เรียนสามารถประกอบอาหาร สำหรับบุคคลภาวะพิเศษ และอาหาร เฉพาะโรค 3.สามารถประกอบอาหารสำหรับการ ให้อาหารทางสายให้อาหารได้ 1. ปฏิบัติงานด้วยความ ละเอียด รอบคอบ 2. มีวินัยตรงต่อเวลา และมี ความรับผิดชอบ หน่วยที่8 อาหารสำหรับบุคคลวัย ต่างๆ 1.ส า ม า ร ถ อ ธ ิ บ า ย เ ร ื ่ อ ง โภชนาการสำหรับบุคคลวัย ต่างๆได้ถูกต้อง 2.สามารถยกตัวอย่างโภชนาการ สำหรับบุคคลวัยต่างๆได้ถูกต้อง 3. สามารถกำหนดรายการ อาหารได้ถูกต้องและเหมาะสม ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างการกำหนด รายการอาหารและการคำนวณคุณค่า อาหารของโภชนาการสำหรับบุคคลวัย ต่างๆถูกต้องทั้งหมด 1. ปฏิบัติงานด้วยความ ละเอียด รอบคอบ 2. มีวินัยตรงต่อเวลา และมี ความรับผิดชอบ


หลักเกณฑ์และวิธีการวัดและประเมินผลรายวิชา การวัดผล หลักเกณฑ์และวิธิีการวัดและประเมินผลรายวิชา 1. สอบปลายภาค 20% 2. บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 20% 3. การเข้าชั้นเรียน 10% 4. กิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน 20% 5. ใบงาน/แบบประเมินผลการเรียนรู้ 30% หมายเหตุ ผู้เรียนต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด แต่การแบ่งคะแนนการวัดผลนี้สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับครูเป็นสําคัญ และเนื่องจากเป็นวิชาที่เน้นการนําทักษะความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวัน โดยทั่วไป การวัดผลสามารถจัดเข้าไปในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมได้ เพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมที่ ชัดเจน จึงจะขอแยกเรื่อง การวัดผลด้านคุณธรรม จริยธรรม ในรูปเครื่องมือวัดผลเป็นแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้สําเร็จการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา โดยทั้งครูและผู้เรียน จะประเมิน คุณลักษณะจากพฤติกรรมบ่งชี้ที่กําหนดไว้ และต้องทําควบคู่กับ กระบวนการทํากิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งอาจอยู่ใน รูปของกลุ่มผู้เรียนหรือเป็นรายบุคคล โดยผู้เรียนอาจ สับเปลี่ยนกันเป็นผู้ประเมินร่วมกับครู เพื่อความเที่ยงตรงของการ ประเมิน ดังนั้น แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้งของครู และผู้เรียนจึงเป็น ชุดเดียวกัน และเพื่อดูพัฒนาการ ของนักเรียน จะใช้แบบประเมินชุดนี้เป็นเครื่องมือประเมิน การประเมินผล กําหนดค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80-100 ได้เกรด 4 คะแนนร้อยละ 75-79 ได้เกรด 3.5 คะแนนร้อยละ 70-74 ได้เกรด 3 คะแนนร้อยละ 65-69 ได้เกรด 2.5 คะแนนร้อยละ 60-64 ได้เกรด 2 คะแนนร้อยละ 55-59 ได้เกรด 1.5 คะแนนร้อยละ 50-54 ได้เกรด 1 คะแนนร้อยละ 0-49 ได้เกรด 0


แบบประเมินเจตคติตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รายการประเมิน ผลการประเมิน (คะแนน) หมายเหตุ 1 2 3 มีเหตุผล 1.เห็นคุณค่าในการเรียนรู้ ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ คะแนนการประเมิน 3 คะแนน = ดี 2 คะแนน = พอใช้ 1 คะแนน = ปรับปรุง แปลผลคะแนนรวม 11-15 คะแนน = ดี 6-10 คะแนน = พอใช้ 1-5 คะแนน = ปรับปรุง 2.ส่งงานตรงเวลาที่กำหนดตามข้อตกลง มีความพอประมาณ 3.ใช้วัตถุดิบอย่างประหยัด โดยนำของเก่าประยุกต์ใช้ใหม่ อย่าง คุ้มค่า 4.มีการวางแผนเวลาการทำงานและใช้เวลาเรียนรู้อย่าคุ้มค่า มีคุณธรรม จริยธรรม 5.มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือและแบ่งปันความรู้แก่ผู้อื่นอย่างถูกต้อง เกณฑ์การประเมิน : ครูประเมิน 1.เห็นคุณค่าในการเรียนรู้ ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ดี (3 คะแนน) หมายถึง ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อย สมบูรณ์ทุกหัวข้อ พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อย สมบูรณ์บางหัวข้อ ปรับปรุง (1 คะแนน) หมายถึง ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อย ไม่สมบูรณ์ทุกหัวข้อ 2.ส่งงานตรงเวลาที่กำหนดตามข้อตกลง ดี (3 คะแนน) หมายถึง ส่งงานตรงตามเวลาที่ร่วมกันกำหนด ตรงเวลาหรือก่อนเวลา พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง งานช้ากว่าเวลาที่ร่วมกันกำหนดภายใน 1 ชั่วโมงโดยประมาณ ปรับปรุง (1 คะแนน) หมายถึง งานช้ากว่าเวลาที่ร่วมกันกำหนดภายใน 1 ชั่วโมงโดยประมาณ 3.ใช้วัตถุดิบอย่างประหยัด โดยนำของเก่าประยุกต์ใช้ใหม่ อย่างคุ้มค่า ดี (3 คะแนน) หมายถึง ใช้วัสดุในการเรียนอย่างประหยัด นำกระดาษหน้าเดียวมาใช้ใหม่ พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง ใช้วัสดุในการเรียนอย่างประหยัด ไม่นำกระดาษหน้าเดียวมาใช้ใหม่ ปรับปรุง (1 คะแนน) หมายถึง ใช้วัสดุในการเรียนไม่ประหยัด ฟุ่มเฟือยและไม่ นำกระดาษหน้าเดียวมาใช้ใหม่ 4.มีการวางแผนเวลาการทำงานและใช้เวลาเรียนรู้อย่างคุ้มค่า ดี (3 คะแนน) หมายถึง มีการวางแผนในการทำงานเหมาะสมกับเวลาที่กำหนด อย่างคุ้มค่า พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง มีการวางแผนในการทำงานไม่เหมาะสมกับเวลาที่กำหนด ปรับปรุง (1 คะแนน) หมายถึง ขาดการวางแผนในการทำงานและใช้เวลาไม่คุ้มค่า 5.มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือและแบ่งปันความรู้แก่ผู้อื่นอย่างถูกต้อง ดี (3 คะแนน) หมายถึง มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือและแบ่งปันความรู้อย่างถูกต้องแก่ผู้อื่นบ่อยๆครั้ง พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือและแบ่งปันความรู้อย่างถูกต้องแก่ผู้อื่นบางครั้ง ปรับปรุง (1 คะแนน) หมายถึง มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือและแบ่งปันความรู้อย่างถูกต้องแก่ผู้อื่นอย่างไม่ถูกต้อง


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ โภชนาการ มีความหมายกว้างกว่าคำว่าอาหารมาก โดย โภชนาการ หมายถึง เรื่องต่างๆ ที่ว่า ด้วย อาหาร เช่น การจัดแบ่งประเภทสารอาหาร ประโยชน์ของอาหาร การย่อยอาหาร โรคขาดสารอาหาร เป็นต้น โภชนาการจึงเป็นวิชาการสาขาหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของ อาหารที่รับประทานเข้าไปเพื่อประโยชน์ในการบำรุงร่างกาย 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ 2.2 จัดทำใบงานที่ 1 เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ 2.3 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 บอกความหมายของโภชนาการได้ถูกต้อง 3.1.2 อธิบายความสำคัญของโภชนาการได้ถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถบอกความหมายของโภชนาการได้ถูกต้องทั้งหมด 3.2.1 ผู้เรียนสามารถบอกประโยชน์ของอาหารได้ถูกต้อง จำนวน 4 ข้อ ใน 5 ข้อ 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 ความหมายของโภชนาการ 4.2 ความสำคัญของโภชนาการ


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน คุณครูแนะนำตนเอง และให้นักศึกษาแนะนำตนเอง ให้ครูและเพื่อนๆรู้จัก ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียนครูแจ้ง จุดประสงค์การเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลและประเมินผล ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียน รายวิชานี้ครูกล่าวนำถึงความหมายของอาหาร และสารอาหารที่ผู้เรียนเข้าใจว่าแตกต่างกันอย่างไร 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ -ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารที่เราพบเห็นแต่ละชนิดว่ามีประโยชน์อย่างไรตามที่ ผู้เรียน เข้าใจโดยมีครูร่วมอธิบายเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างอาหารที่พบเห็นโดยทั่วไปว่า อาหารแต่ละชนิดมีประโยชน์อย่างไรและแต่ละตัวมี สารอาหารอะไรบ้าง ครูใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning การเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think-PairShare) การให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายของโภชนาการ - นักเรียนมีการตอบคำถาม ตอบถูกครูและเพื่อนปรบมือเพื่อให้กำลังใจ - ครูผู้สอนและเพื่อนๆ ปรบมือเพื่อให้กำลังใจผู้เรียนที่ตอบถูกต้อง - ครูมอบหมายใบงาน สามารถดูจากเอกสารประกอบการเรียน - ครูให้นักศึกษาทำข้อสอบหลังเรียน ซึ่งให้เวลาทำข้อสอบ 10 นาที ข้อสอบ ปรนัย - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนและเรียกชื่อ เป็นรายบุคคล 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของอาหารและสารอาหาร - ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำคัญของอาหาร และประโยชน์ของอาหาร พร้อมให้ ยกตัวอย่างอาหารและบอกประโยชน์ของอาหาร และให้แต่ละคนมานำเสนอหน้าชั้นเรียน - ครูผู้สอนเฉลยข้อสอบ


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 1 ชื่อหน่วย ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนาการ ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 2 คน ขาดเรียน 2 คน เลขที่ 2,3 ห ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ .......................................................................................................................................................................... ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักโภชนาการ และรวมถึง ความหมายของอาหารและโภชนาการ ได้มากขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วยถัดไป ได้ ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้องปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 2 คน มีการเข้าเรียนสาย เนื่องจากเป็นนักศึกษามุสลิมชาย ไปละหมาดวันศุกร์ จึงทำให้ นักศึกษาเข้าสายทุกครั้ง ขึ้งมีการสอนเสริมหลังเลิกเรียน • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน .......................................................................................................................................................................... สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม .......................................................................................................................................................................... • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ มอบหมายงานเพิ่มเติม เพื่อเสริมความรู้ เรื่องของโภชนบันญัติ 9 ประการ ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 2 ชื่อหน่วย เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่ ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ อาหาร 5 หมู่ คือ กลุ่มอาหาร 5 ประเภทที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละวัน ซึ่งเป็นสารอาหารที่จำเป็นและมี ประโยชน์ต่อร่างกาย ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ให้พลังงาน เสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง ทำให้ระบบต่างๆ ของ ร่างกายทำงานปกติตามหลักโภชนาการมีการแบ่งสารอาหารต่างๆ ออกเป็น 5 ประเภท หรือที่เรียกว่า "อาหาร 5 หมู่" ซึ่งเป็นสารอาหารที่มีหน้าที่ในการเสริมสร้างความแข็งแรงให้ร่างกายในรูปแบบที่แตกต่างกัน แต่เมื่อมา ประกอบรวมกันแล้ว จะทำให้อวัยวะตลอดถึงภูมิคุ้มกันภายในร่างกายทำงานเป็นปกติ สำหรับประเภท และ ประโยชน์ของอาหาร 5 หมู่ 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ 2.2 จัดทำใบงานที่ 2 เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ 2.3 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 สามารถบอกอาหารหลัก 5 หมู่ได้ถูกต้อง 3.1.2 สามารถอธิบายอาหารหลัก 5 หมู่ได้ถูกต้อง 3.1.3 สามารถแยกแยะอาหารหลัก 5 หมู่ได้ถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถบอกอาหารหลัก 5 หมู่ ได้ถูกต้องทั้งหมด 3.2.1 ผู้เรียนสามารถบอกประโยชน์ของอาหารหลัก 5 หมู่ ได้ถูกต้อง จำนวน 4 ข้อ ใน 5 ข้อ 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 อาหารหลัก 5 หมู่


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 2 ชื่อหน่วย เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่ ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน ครูกล่าวทักทายผู้เรียน ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียนครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การวัดผลและประเมินผล ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียนรายวิชานี้ครูผู้สอนถามผู้เรียนว่า เช้านี้ทาน อะไรบ้าง ให้ผู้เรียนบอกอาหารของตนเอง และครูยกตัวอย่างอาหารที่ผู้เรียนรับประทาน มายกตัวอย่าง วัตถุดิบ อาหารมาชี้แจงบนกระดาน 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายเรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ตามใบความรู้ที่มอบให้ พร้อมยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวที่สุดเพื่อให้ ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย - ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ที่เราพบเห็นแต่ละชนิดว่ามีอยู่ในหมู่ ใด และเป็นแหลงของสารอาหารชนิดใด ตามที่ผู้เรียนเข้าใจโดยมีครูร่วมอธิบายเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างอาหารที่พบเห็นโดยทั่วไปว่า อาหารแต่ละชนิดมีประโยชน์อย่างไรและแต่ละตัว มี สารอาหารอะไรบ้าง - ครูใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ และให้ฝึกท่องจำ และใช้ความเข้าใจของตนเอง มาสอบท่องปาก เปล่า กับครูผู้สอน - นักเรียนมีการตอบคำถาม ตอบถูกครูและเพื่อนปรบมือเพื่อให้กำลังใจ - ครูผู้สอนและเพื่อนๆ ปรบมือเพื่อให้กำลังใจผู้เรียนที่ตอบถูกต้อง - ครูมอบหมายใบงาน สามารถดูจากเอกสารประกอบการเรียน - ครูให้นักศึกษาทำข้อสอบหลังเรียน ซึ่งให้เวลาทำข้อสอบ 10 นาที ข้อสอบ ปรนัย - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนและเรียกชื่อ เป็นรายบุคคล 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของอาหารหลัก 5 หมู่ - ครูผู้สอนเฉลยข้อสอบ


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 2 ชื่อหน่วย เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่ ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 2 ชื่อหน่วย เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 2 คน ขาดเรียน คน เลขที่ ห • ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ .......................................................................................................................................................................... • ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ได้มากขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วย ถัดไป ได้ • ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้อง ปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 2 คน ไม่สามารถท่องจำ เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ได้ ครูผู้สอนจึงมีการแนะนำเทคนิคการจำโดย การ การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) มาช่วยในการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนุก และจดจำ • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน ......................................................................................................................................................................................... สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม .......................................................................................................................................................................................... • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ มอบหมายงานเพิ่มเติม เพื่อเสริมความรู้ เรื่องของอาหารหลัก 5 หมู่ โดยให้ผู้เรียนกลับไปท่องอาหารหลัก 5 หมู่ เป็น การบ้าน สอบปากเปล่า 5 คะแนน ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 3-4 ชื่อหน่วย เรื่องการย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง การย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ อาหารที่สิ่งมีชีวิตบริโภคเข้าไป ไม่ว่าจะเป็นชนิดใดก็ตาม จะนำเข้าสู่เซลล์ได้ก็ต่อเมื่ออยู่ในรูปของ สารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก คือ กรดอมิโน น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว กลีเซอรอล และกรดไขมัน นั่นก็คือ อาหาร โมเลกุลใหญ่ที่สิ่งมีชีวิตรับประทานเข้าไป จำเป็นต้องแปรสภาพให้มีขนาดเล็กลง การแปรสภาพของอาหาร ดังกล่าวเกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่อาศัยการทำงานของเอนไซม์ย่อยอาหาร โดยทั่วไปเรียกว่า น้ำย่อย จากนั้นโมเลกุล ของสารอาหารจะถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ กระบวนการแปรสภาพอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลง เรียกว่า การย่อยอาหาร (Digestion) 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับการย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย 2.2 จัดทำใบงานที่ 3 เรื่องการย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย 2.3 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 สามารถอธิบายเรื่องการย่อยการดูดซึม และการขับถ่าย ได้อย่างถูกต้อง 3.1.2 สามารถแยกแยะเรื่องการย่อยการดูดซึม และการขับถ่าย ได้อย่างถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถบอกหน้าที่ของการย่อย การดูดซึม และการขับถ่าย ได้ถูกต้องทั้งหมด 3.2.1 ผู้เรียนสามารถเขียน MY MAP เรื่องของการย่อยการดูดซึม และการขับถ่าย จำนวน 4 ข้อ ใน 5 ข้อ 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 การย่อย การดูดซึม และการขับถ่าย


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 3-4 ชื่อหน่วย เรื่องการย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง การย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน 5.1.1 ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียน 5.1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1.3 ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียนรายวิชานี้ 5.1.4 ครูผู้สอนถามผู้เรียนว่า นักเรียนรู้ไหมว่าร่างกายของเราต้องการสาอาหารใดบ้างที่เป็น พลังงานหลัก หากขาดสารอาหารชนิดนั้น จะเกิดผลอะไรบ้างกับร่างกายของเรา 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายเรื่องสารอาหาร หน้าที่ของสารอาหาร และ ปริมาณความต้องการสารอาหารตามใบ ความรู้ที่มอบให้ พร้อมยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวที่สุดเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย - ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสารอาหาร หน้าที่ของสารอาหาร และ ปริมาณความ ต้องการสารอาหาร ที่ผู้เรียนเข้าใจว่าอาหารที่เรารับประทานสามารถแยกสารอาหารจากวัตถุดิบนั้นได้ อย่างไร โดยให้ผู้เรียนยกตัวอย่างอาหาร และมีครูร่วมอธิบายเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างสารอาหารที่พบเห็นโดยทั่วไปจากอาหารว่า อาหารที่รับประทานยกตัวอย่างเช่น สเต็ก เป็นเนื้อสัตว์ มีสารอาหารชนิดใด และทำหน้าที่ใดบ้างในร่างกายของเรา - ครูใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความ คิดเห็น หรือสะท้อนความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู อาจโดยวิธีการพูดโต้ตอบกัน การเขียน หรือ การร่วมกันสรุปเป็น รายกลุ่ม - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของการย่อย การดูดซึม และการขับถ่าย - ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสารอาหาร หน้าที่ของสารอาหาร และ ปริมาณความ ต้องการสารอาหารพร้อมให้ยกตัวอย่างอาหารและสารอาหาร และให้แต่ละคนมานำเสนอหน้าชั้นเรียน - นักเรียนมีการตอบคำถาม ตอบถูกครูและเพื่อนปรบมือเพื่อให้กำลังใจ - ครูผู้สอนและเพื่อนๆ ปรบมือเพื่อให้กำลังใจผู้เรียนที่ตอบถูกต้อง - ครูมอบหมายใบงาน สามารถดูจากเอกสารประกอบการเรียน - ครูให้นักศึกษาทำข้อสอบหลังเรียน ซึ่งให้เวลาทำข้อสอบ 10 นาที ข้อสอบ ปรนัย - ครูผู้สอนเฉลยข้อสอบ


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 3-4 ชื่อหน่วย เรื่องการย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง การย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องการย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 3-4 ชื่อหน่วย เรื่องการย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เรื่องการย่อยการดูดซึมและการขับถ่าย ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 1 คน ขาดเรียน 1 คน เลขที่ 8 ห • ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ ......................................................................................................................................................................................... • ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการย่อยการดูดซึมและการขับถ่ายได้มากขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วยถัดไป ได้ • ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้อง ปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 2 คน ไม่สามารถท่องจำ เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ได้ ครูผู้สอนจึงมีการแนะนำเทคนิคการจำโดย การ การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) มาช่วยในการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนุก และจดจำ • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน ......................................................................................................................................................................................... สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม .......................................................................................................................................................................................... • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................................... ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 5-6 ชื่อหน่วย ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการ แก้ไขปัญหา ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ โภชนาการกับสุขภาพอาหารและโภชนาการ เป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ถ้าเรามี ภาวะโภชนาการที่ดี ก็จะช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง ตรงกันข้ามหากเราได้รับสารอาหารที่มากหรือน้อยเกินไป ย่อมก่อให้เกิดภาวะโภชนาการเกินหรือภาวะทุพโภชนาการขึ้นได้ การได้เรียนรู้ถึงหลักการบริโภคอาหารและ โภชนาการตามหลักโภชนบัญญัติ จะทำให้มนุษย์เราสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะ ในวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว การเลือกบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมกับวัย จะมีส่วนสำคัญอย่าง มากต่อการสร้างเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์ แข็งแรงสมวัย 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา 2.2 จัดทำใบงานที่ 4 เรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา 2.3 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 สามารถอธิบายภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ได้ถูกต้อง 3.1.2 นักศึกษาสามารถยกตัวอย่างภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ได้ ถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ได้ ถูกต้องทั้งหมด 3.2.1 ผู้เรียนสามารถเขียน MY MAP เรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไข ปัญหา จำนวน 8 ข้อ ใน 10 ข้อ 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 5-6 ชื่อหน่วย ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการ แก้ไขปัญหา ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน 5.1.1 ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียน 5.1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1.3 ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียนรายวิชานี้ 5.1.4 ครูผู้สอนถามผู้เรียนว่า นักศึกษารู้ไหมว่าถ้าเรารับประทานอาหารไม่ครบถ้วน หรือไม่ครบ สารอาหารที่ร่างกายต้องการจะเกิดผลใดบ้างต่อร่างกาย 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายเรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหาตามใบความรู้ที่มอบให้ พร้อมยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวที่สุดเรื่อง โรคที่พบเห็นโดยทั่วไป เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย - ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไข ปัญหา ที่ผู้เรียนเข้าใจว่าอาหารที่เรารับประทานหากเราได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน จะก่อให้เกิดโรคใดบ้าง แล้วโรค ใดบ้างที่ผู้เรียนพบเจอ โดยให้ผู้เรียนยกตัวอย่างโรคที่ผู้เรียนรู้จักนำมาวิเคราะห์ ว่าเกิดจากสาเหตุใด และมีวิธีแก้ไข อย่างไร และมีครูร่วมอธิบายเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหาที่พบเห็นโดยทั่วไปว่า อาหารที่รับประทานยกตัวอย่างเช่น โรคที่พบเจอในทั่วไป เรื่องของการขาดสารอาหารอาหาร ประเภทวิตามินซี อาจ ก่อให้เกิดโรคลักปิดลักเปิด คือเลือดออกตามไรฟัน วิธีแก้ไขคือเราต้องรับประทานจำพวกวิตามินซี เช่น น้ำส้ม มะนาว ฝรั่ง มะขาม เป็นต้น - ครูใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสัยต่าง ๆ ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลือกรณีที่มีปัญหา - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา -ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโรคขาดสารอาหาร พร้อมให้ยกตัวอย่างอาหารและบอกสารอาหารที่อยู่ ในของอาหารนั้น และให้แต่ละคนมานำเสนอหน้าชั้นเรียน -ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน - มอบใบหมายใบงาน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 5-6 ชื่อหน่วย ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการ แก้ไขปัญหา ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง ภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 5-6 ชื่อหน่วย เรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และ วิธีการแก้ไขปัญหา ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 1 คน ขาดเรียน 1 คน เลขที่ 4 ห • ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ ......................................................................................................................................................................................... • ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา ได้มากขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วยถัดไป ได้ • ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้อง ปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 1 คน ยังมีความสับสนของโรคที่ผู้ป่วยขาดสารอาหาร ครูจึงมีการแนะนำให้ผู้เรียน เรียนรู้แบบ วิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อนความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู อาจโดยวิธีการพูดโต้ตอบกัน การเขียน หรือ การร่วมกันสรุปเป็นรายกลุ่ม • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ มอบหมายงานเพิ่มเติม เพื่อเสริมความรู้ เรื่องภาวะโภชนาการ ปัญหาภาวะโภชนาการ และวิธีการแก้ไขปัญหา โดยการให้ผู้เรียนฝึกท่อง จำนวน 5 โรค ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 7-8 ชื่อหน่วย เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง อาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ อาหารแลกเปลี่ยน หมายถึง การแบ่งอาหารออกเป็นหมวดหมู่ในแต่ละหมวดให้พลังงานและสารอาหาร ใกล้เคียงกันเพื่อใช้ในการคำนวณและกำหนดอาหาร จัดสัดส่วนอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล สามารถควบคุม ปริมาณอาหารให้ได้ตามกำหนดช่วยให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี เลือกรับประทานอาหารได้หลากหลาย ชนิดและเข้าใจคุณค่าทางโภชนาการของอาหารได้ง่ายขึ้น 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 2.2 จัดทำใบงานที่ 5 เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 2.3 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 สามารถอธิบายเรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานได้ถูกต้อง 3.1.2 สามารถยกตัวอย่างอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานได้ถูกต้อง 3.1.3 สามารถแยกประเภทอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานได้ถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ได้ถูกต้องทั้งหมด 3.2.1 ผู้เรียนสามารถเขียน ตารางอาหารแลกเปลี่ยน เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 8 ข้อ ใน 10 ข้อ 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 อาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 7-8 ชื่อหน่วย เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง อาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน 5.1.1 ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียน 5.1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1.3 ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียนรายวิชานี้ 5.1.4 ครูผู้สอนถามผู้เรียนว่า นักศึกษารู้ไหมว่าถ้าเราไม่ทานข้าวในมื้อเช้า เราสามารถรับประทาน อาหารชนิดใดแทนได้ 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายเรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ตามใบความรู้ที่มอบให้ พร้อมยกตัวอย่างที่ ใกล้ตัวที่สุดเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย - ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานที่ผู้เรียนเข้าใจว่า อาหารที่เรารับประทานอยู่หมวดอาหารใดบ้าง แล้วถ้าเราไม่รับประอาหารชนิดนั้น เราสามารถเลือกรับประทานอาหาร ชนิดใดทดแทนได้ และมีครูร่วมอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานอย่างเช่น หมวดธัญพืช หากผู้ป่วยโรคเบาหวาน มาสามารถรับประทานข้าวข้าวได้ ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถรับประทานชนิดใด ทดแทน - ครูใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสัยต่าง ๆ ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลือกรณีที่มีปัญหา - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน - ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานพร้อมให้ยกตัวอย่าง อาหารและหมวดอาหารที่อยู่ในของอาหารนั้น และให้แต่ละคนมานำเสนอหน้าชั้นเรียน - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน - มอบใบหมายใบงาน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 7-8 ชื่อหน่วย เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง อาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 7-8 ชื่อหน่วย เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 1 คน ขาดเรียน 1 คน เลขที่ 7 ห • ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ ......................................................................................................................................................................................... • ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานได้มากขึ้นสามารถนำ ความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วยถัดไป ได้ • ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้อง ปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 3 คน ยังมีความสับสนของอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ครูจึงมีการแนะนำให้ผู้เรียน เรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อนความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู อาจโดยวิธีการพูดโต้ตอบกัน การ เขียน หรือ การร่วมกันสรุปเป็นรายกลุ่ม • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ มอบหมายงานเพิ่มเติม เพื่อเสริมความรู้ เรื่องอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยเบาหวานโดยการให้ผู้เรียนฝึก ท่อง จำนวน 6 หมวด ของอาหารแลกเปลี่ยน ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 9-10 ชื่อหน่วย เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่า อาหาร ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง การกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ อาหารที่จะบริโภคไว้ล่วงหน้า อาจเป็น 1 วัน 3 วัน หรือ 1 สัปดาห์ หรืออาจมากกว่า ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ของผู้จัด ความสำคัญของการกำหนดรายการอาหาร มีความสำคัญในทางโภชนาการ ดังนี้ 1. สะดวกในการกำหนดปริมาณของอาหารที่บริโภค เพื่อให้ได้รับพลังงานตามที่ได้รับตามความต้องการของแต่ ละบุคคลต่อวัน 2. ช่วยให้อาหารที่จัดมีความน่าบริโภค เพื่อจูงใจผู้บริโภคให้บริโภคได้หมดเพื่อให้ได้รับพลังงานตามที่ร่างกาย ต้องการตามที่กำหนดไว้ 3. ช่วยให้ทบทวนได้ง่ายกว่าในแต่ละวัน ได้รับอาหารครบทั้ง 5 หมู่ และในแต่ละหมู่สามารถเลือกบริโภคอาหาร ได้อย่างหลากหลาย และที่สำคัญ คือ ได้รับสารอาหารครบทุกชนิดในปริมาณที่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกาย 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร 2.2 สามารถคำนวณสารอาหารและคิดเมนูอาหารได้ 2.3 จัดทำใบงานที่ 6 เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร 2.4 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 สามารถอธิบายเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร 3.1.2 สามารถยกตัวอย่างอาหารการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร 3.1.3 สามารถแยกประเภทการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ได้ถูกต้องทั้งหมด 3.2.1 ผู้เรียนสามารถคำนวณอาหารและสารอาหารได้จำนวน 8 ข้อ ใน 10 ข้อ 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 เรื่อง การกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 9-10 ชื่อหน่วย เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่า อาหาร ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง การกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน 5.1.1 ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียน 5.1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1.3 ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียนรายวิชานี้ 5.1.4 ครูผู้สอนถามผู้เรียนว่า นักศึกษาคิดว่า แต่ละคนในชีวิตจริงเรารับประทานอาหารและสารอาหาร เท่ากันไหม 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ตามใบความรู้ที่มอบให้ พร้อม ยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวที่สุดเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วย และพลังงานที่ใช้ในการเผาพลานร่างกาย เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ ได้ง่าย - ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ที่ ผู้เรียนเข้าใจว่าอาหารที่เรารับประทานมีพลังงานและสารอาหารเท่าไหร่ และมีครูร่วมอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างการกำหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยที่เหมาะสมกับมื้ออาหารนั้น และการคำนวณ คุณค่าอาหารตามตารางคำนวณคุณค่าอาหาร - สอนคำนวณผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนร่วมกันตอบ และแสดงคำตอบโดยการสุ่มถามเป็นข้อๆ - ครูใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสัยต่าง ๆ ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลือกรณีที่มีปัญหา - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร - ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารพร้อม ให้ แต่ละคนมานำเสนอหน้าชั้นเรียน - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน - มอบใบหมายใบงาน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 9-10 ชื่อหน่วย เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่า อาหาร ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง การกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 9-10 ชื่อหน่วย เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่า อาหาร ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 1 คน ขาดเรียน 1 คน เลขที่ 6 ห • ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ ......................................................................................................................................................................................... • ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารได้มากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วยถัดไป ได้ • ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้อง ปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 3 คน ยังมีความสับสนของการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารครูจึงมีการ แนะนำให้ผู้เรียน เรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้อ่าน กรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ มอบหมายงานเพิ่มเติม เพื่อเสริมความรู้ เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารและมี แบบฝึกหัดให้ผู้เรียนฝึกทำเพิ่มเติม ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 11-13 ชื่อหน่วย เรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมงรวม 12 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมง 12 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ ภาวะน้ำหนักตัวเกิน (overweight) และโรคอ้วน (obesity) เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขเพราะทั้งสอง ภาวะเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีความสัมพันธ์กับทางในอนาคต เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น มากกว่าผู้ที่มีน้ำหนักตัวปกติ สาเหตุของการเกิดโรคอ้วนมี สาเหตุจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม โดยปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่ทำให้เกิดโรคอ้วนมาจากพฤติกรรมการบริโภค โดยเฉพาะการกินอาหารประเภทแป้งและไขมันในปริมาณมากและมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ออกกำลังกายน้อยลง เกณฑ์ที่ ใช้ในการตัดสินภาวะโภชนาการนิยมใช้ดัชนีมวลกาย (body mass index : BMI) โดยผู้ที่มีภาวะโภชนาการปกติมีค่า ดัชนีมวลกายระหว่าง 18.5 – 22.5กิโลกรัมต่อตารางเมตร และผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 23 – 24.9 และ มากกว่า 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร เป็นต้น 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค 2.2 สามารถคำนวณสารอาหารและคิดเมนูอาหารของบุคคลภาวะพิเศษและอาหารเฉพาะโรคได้ถูกต้องทั้ง 5ข้อ 2.3 ใบงาน 7 เรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค 2.4 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 สามารถอธิบายเรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรคได้ถูกต้อง 3.1.2 สามารถยกตัวอย่างบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรคได้ถูกต้อง 3.1.3 สามารถกำหนดรายการอาหารได้ถูกต้องและเหมาะสม 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารของบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรคถูกต้องทั้งหมด 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 11-13 ชื่อหน่วย เรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมงรวม 12 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมง 12 ชั่วโมง 4.เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 เรื่อง บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน 5.1.1 ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียน 5.1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1.3 ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียนรายวิชานี้ 5.1.4 ครูผู้สอนถามผู้เรียนว่า นักศึกษาคิดว่า แต่ละคนในชีวิตจริงเรารับประทานอาหารและสารอาหาร เท่ากันไหม 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ตามใบความรู้ที่มอบให้ พร้อม ยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวที่สุดเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วย และพลังงานที่ใช้ในการเผาผลานร่างกาย เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ ได้ง่าย - ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ที่ผู้เรียนเข้าใจว่าอาหารที่เรารับประทานมีพลังงานและสารอาหารเท่าไหร่ เหมาะสมกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น และมีครูร่วมอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างการกำหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยที่เหมาะสมกับมื้ออาหารนั้น และการคำนวณ คุณค่าอาหารตามตารางคำนวณคุณค่าอาหารบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค - ครูใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้อ่านกรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด - สอนคำนวณผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนร่วมกันตอบ และแสดงคำตอบโดยการสุ่มถามเป็นข้อๆ - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารบุคคล ภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค - ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารบุคคล ภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค พร้อมให้แต่ละคนมานำเสนอหน้าชั้นเรียน -ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน -มอบใบหมายใบงาน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 11-12 ชื่อหน่วย เรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องการบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 11-12 ชื่อหน่วย เรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 1 คน ขาดเรียน 1 คน เลขที่ 12 ห • ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ ......................................................................................................................................................................................... • ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารบุคคลภาวะ พิเศษ และอาหารเฉพาะโรคได้มากขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วยถัดไป ได้ • ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้อง ปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 3 คน ยังมีความสับสนของการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารครูจึงมีการ แนะนำให้ผู้เรียน เรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้อ่าน กรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ มอบหมายงานเพิ่มเติม เพื่อเสริมความรู้ เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารบุคคล ภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรคและมีแบบฝึกหัดให้ผู้เรียนฝึกทำเพิ่มเติม ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 14 ชื่อหน่วย บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เพิ่มเนื้อหา อาหารทางสายให้อาหาร ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ การเรียนรู้ วิธีการให้อาหารทางสายยาง ในปัจจุบันถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นที่ญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วยต้องศึกษาให้เข้าใจ เพราะผู้ป่วยอาจไม่สามารถทานอาหารได้เอง ไม่ว่าจะเป็นเพราะระบบร่างกายยังทำงานได้ไม่เต็มที่ เช่น ไม่สามารถเคี้ยวหรือ กลืนอาหารได้ ผ่าตัดอวัยวะเกี่ยวกับทางเดินอาหาร หรือผู้ป่วยมีภาวะอ่อนเพลียจากการเจ็บป่วย เป็นต้น 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับอาหารทางสายให้อาหาร 2.2 สามารถคำนวณสารอาหารและคิดเมนูอาหารของอาหารทางสายให้อาหารได้ถูกต้อง 2.3 ใบงาน 7 เรื่องอาหารทางสายให้อาหาร ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรง ต่อเวลาและ มีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 สามารถอธิบายเรื่องอาหารทางสายให้อาหารได้ถูกต้อง 3.1.2 สามารถยกตัวอย่างอาหารทางสายให้อาหารได้ถูกต้อง 3.1.3 สามารถกำหนดรายการอาหารทางสายให้อาหารได้ถูกต้องและเหมาะสม 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารของอาหาร ทางสายให้อาหารถูกต้องทั้งหมด 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 เรื่องอาหารทางสายให้อาหาร


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 14 ชื่อหน่วย บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เพิ่มเนื้อหา อาหารทางสายให้อาหาร ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน 5.1.1 ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียน 5.1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1.3 ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียนรายวิชานี้ 5.1.4 ครูผู้สอนถามผู้เรียนว่า นักศึกษาคิดว่า แต่ละคนในชีวิตจริงเรารับประทานอาหารและ สารอาหารเท่ากันไหม 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ตามใบความรู้ที่มอบให้ พร้อมยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวที่สุดเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วย และพลังงานที่ใช้ในการเผาผลานร่างกาย เพื่อให้ ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย - ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆที่ผู้เรียนเข้าใจว่าอาหารที่เรารับประทานมีพลังงานและสารอาหารเท่าไหร่ เหมาะสมกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น และมีครูร่วมอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างการกำหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยที่เหมาะสมกับมื้ออาหารนั้น และการ คำนวณคุณค่าอาหารตามตารางคำนวณคุณค่าอาหารโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ - สอนคำนวณผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนร่วมกันตอบ และแสดงคำตอบโดยการสุ่มถามเป็นข้อๆ - ครูใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้อ่านกรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร - ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร บุคคลโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ พร้อมให้แต่ละคนมานำเสนอหน้าชั้นเรียน - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน - มอบใบหมายใบงาน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 14 ชื่อหน่วย บุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เพิ่มเนื้อหา อาหารทางสายให้อาหาร ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องอาหารทางสายให้อาหาร 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 11-12 ชื่อหน่วย เรื่องบุคคลภาวะพิเศษ และอาหารเฉพาะโรค ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เพิ่มเนื้อหา อาหารทางสายให้อาหาร ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 1 คน ขาดเรียน 1 คน เลขที่ 12 ห • ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ ......................................................................................................................................................................................... • ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารอาหารทาง สายให้อาหาร ได้มากขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วยถัดไป ได้ • ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้อง ปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 2 คน ยังมีความสับสนของการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารครูจึงมีการ แนะนำให้ผู้เรียน เรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้อ่าน กรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ มอบหมายงานเพิ่มเติม เพื่อเสริมความรู้ เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารบุคคล อาหารทางสายให้อาหารและมีแบบฝึกหัดให้ผู้เรียนฝึกทำเพิ่มเติม ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 8 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 15-17 ชื่อหน่วย โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ชั่วโมงรวม 12 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ชั่วโมง 12 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับคนทุกวัย อย่างไรก็ดีความต้องการอาหารในแต่ละ ช่วงอายุมีความแตกต่างกัน เช่น วัยเด็กต้องการพลังงานสูงเพื่อการเจริญเติบโต เมื่ออายุมากขึ้นร่างกายต้องมีการ ควบคุมน้ำหนักเพื่อรักษาสุขภาพให้แข็งแรง บทความนี้ได้ให้แนวทางในการเลือกอาหารที่เหมาะสมในแต่ละช่วงชีวิต ตั้งแต่วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ จนถึงวัยสูงอายุ 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ 2.2 สามารถคำนวณสารอาหารและคิดเมนูอาหารของโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ได้ถูกต้องทั้ง 5 ข้อ 2.3 ใบงาน 7 เรื่องโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ มีวินัยตรงต่อ เวลาและมีความรับผิดชอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 สามารถอธิบายเรื่องโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆได้ถูกต้อง 3.1.2 สามารถยกตัวอย่างโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆได้ถูกต้อง 3.1.3 สามารถกำหนดรายการอาหารได้ถูกต้องและเหมาะสม 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 ผู้เรียนสามารถยกตัวอย่างการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารของโภชนาการ สำหรับบุคคลวัยต่างๆถูกต้องทั้งหมด 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 ปฏิบัติงานด้วยความละเอียด รอบคอบ 3.3.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4.เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 เรื่อง โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 8 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 15-17 ชื่อหน่วย โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ชั่วโมงรวม 12 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ชั่วโมง 12 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 การนำเข้าสู่บทเรียน 5.1.1 ครูตรวจเช็ครายชื่อผู้เข้าเรียน 5.1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1.3 ครูแจ้งการเตรียมตัวในการเรียนรายวิชานี้ 5.1.4 ครูผู้สอนถามผู้เรียนว่า นักศึกษาคิดว่า แต่ละคนในชีวิตจริงเรารับประทานอาหารและสารอาหาร เท่ากันไหม 5.2 การเรียนรู้ - ครูอธิบายเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร ตามใบความรู้ที่มอบให้ พร้อม ยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวที่สุดเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วย และพลังงานที่ใช้ในการเผาผลานร่างกาย เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย - ให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆที่ผู้เรียนเข้าใจว่าอาหารที่เรารับประทานมีพลังงานและสารอาหารเท่าไหร่ เหมาะสมกับ โรคที่ผู้ป่วยเป็น และมีครูร่วมอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม - ครูยกตัวอย่างการกำหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยที่เหมาะสมกับมื้ออาหารนั้น และการคำนวณ คุณค่าอาหารตามตารางคำนวณคุณค่าอาหารโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ - สอนคำนวณผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนร่วมกันตอบ และแสดงคำตอบโดยการสุ่มถามเป็นข้อๆ - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 5.3 การสรุป - ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาของการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหาร -ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารบุคคลโภชนาการ สำหรับบุคคลวัยต่างๆ พร้อมให้แต่ละคนมานำเสนอหน้าชั้นเรียน - ครูสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน - มอบใบหมายใบงาน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 8 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 15-17 ชื่อหน่วย โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ชั่วโมงรวม 12 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ชั่วโมง 12 ชั่วโมง 5.4 การวัดและประเมินผล 5.4.1 เครื่องมือประเมิน 1) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบทดสอบเรื่องโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ 3) ถาม-ตอบ 6. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 6.1.1 หนังสือเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6.2 สื่อโสตทัศน์ 6.3 ช่องทางออนไลน์ - Google site บทเรียนออนไลน์ รายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) 7.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนาการเพื่อชีวิต 8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.1 วิชาโภชนาการ 9. การวัดและประเมินผล 9.1 ก่อนเรียน ถาม-ตอบ ทดสอบความรู้พื้นฐาน ซักถาม สังเกตความสนใจ 9.2 ขณะเรียน แบบประเมิน/สังเกต ด้านคุณธรรมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 9.3 หลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms,ตรวจผลงาน,ประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย การวัดประเมินผล เกณฑการประเมินผล 1. การสุมผูเรียนถาม/ตอบ ภายในชั้นเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบออนไลน์ ทาง Google Forms 1. ผูเรียนรอยละ 90จากการสุมตอบคําถามไดถูกตอง 2. ผูเรียนรอยละ 95 ผานเกณฑการประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา โภชนาการเพื่อชีวิต สอนครั้งที่ 11-12 ชื่อหน่วย เรื่องโภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ชั่วโมงรวม 8 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง เพิ่มเนื้อหา โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 10. บันทึกหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้น ปวส.2/1,2/2 อภ. ผู้เรียนทั้งหมด 24 คน มาสาย 1 คน ขาดเรียน 1 คน เลขที่ 12 ห • ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ สอนได้ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ยังขาดหัวข้อ ดังนี้ ......................................................................................................................................................................................... • ผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา นักศึกษา มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารโภชนาการ สำหรับบุคคลวัยต่างๆ ได้มากขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในหน่วยถัดไป ได้ • ความพร้อม และผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน (ระดับดีมาก ร้อยละ 80-100) (ระดับดี ร้อยละ 70-79) (ระดับพอใช้ ร้อยละ 60-69) (ระดับต้อง ปรับปรุง น้อยกว่าร้อยละ 60) การตรงต่อเวลา ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การแต่งกาย ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความตั้งใจในการเรียน ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ความรับผิดชอบ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ยังมีนักศึกษา 2 คน ยังมีความสับสนของการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารโภชนาการ สำหรับบุคคลวัยต่างๆครูจึงมีการแนะนำให้ผู้เรียน เรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้อ่านกรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือ แนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด • ปัญหา อุปสรรคละข้อเสนอแนะ สภาพห้องเรียน มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม สภาพของห้องเรียนมีความพร้อม แสงสว่างเพียงพอ บรรยากาศเหมาะสมกับผู้เรียน สื่อ อุปกรณ์ มีความพร้อม ความเหมาะสม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม • อื่นๆ ข้อเสนอแนะ มอบหมายงานเพิ่มเติม เพื่อเสริมความรู้ เรื่องการกำหนดรายการอาหารและการคำนวณคุณค่าอาหารบุคคล โภชนาการสำหรับบุคคลวัยต่างๆ และมีแบบฝึกหัดให้ผู้เรียนฝึกทำเพิ่มเติม ลงชื่อครูผู้สอน…………………………………….. (นางสาววรรณศิริ สุนทรกุมาร) วันที่……..เดือน ………..…..พ.ศ……….


Click to View FlipBook Version