๒
ส่วนท่ี ๑
บทนำ
การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ งในการเกดิ การทจุ รติ ในองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่
การวิเคราะห์ความเสี่ยงในการเกิดการทุจรติ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือตอ้ งการ
บง่ ชีค้ วามเสี่ยงของการทุจริตท่มี ีอยู่ในองค์กร โดยการประเมินโอกาสของการทจุ ริตที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนบคุ คล
หรือหน่วยงานท่อี าจเกยี่ วข้องกบั การกระทำทจุ ริต เพ่ือพิจารณาวา่ การควบคุมและการป้องกันการทุจรติ ท่ีมอี ยู่ใน
ปจั จบุ นั มีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลหรือไม่
การทจุ รติ ในระดับท้องถิ่น พบวา่ ปัจจัยทีม่ ีต่อการขยายตัวของการทจุ รติ ในระดบั ท้องถ่ิน ไดแ้ ก่ การ
กระจายอำนาจลงสู่องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ แมว้ า่ โดยหลักการแลว้ การกระจายอำนาจมวี ตั ถุประสงค์สำคญั
เพ่ือใหบ้ ริการต่าง ๆ ของรฐั สามารถตอบสนองความต้องการของชมุ ชนได้มากขน้ึ มีประสทิ ธภิ าพมากข้ึนแต่ในทาง
ปฏบิ ตั ทิ ำให้แนวโน้มของการทจุ ริตในท้องถนิ่ เพม่ิ มากขน้ึ เช่นเดียวกัน
ลกั ษณะการทจุ รติ ในสว่ นขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น จำแนกเป็น ๗ ประเภท ดังน้ี
๑. การทุจริตด้านงบประมาณ การทำบัญชี การจัดซ้ือจดั จ้าง และการเงินการคลัง ส่วนใหญ่เกดิ จากการ
ละเลยขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
๒. สภาพหรือปญั หาทีเ่ กิดจากตวั บุคคล ทัง้ ในส่วนของประชาชน ข้าราชการประจำ และนกั การเมือง
ท้องถิ่น
๓. สภาพการทุจรติ อนั เกิดจากชอ่ งว่างของกฎระเบียบและกฎหมาย
๔. สภาพหรือลักษณะปญั หาของการทุจรติ ทเี่ กดิ จากการขาดความรู้ความเขา้ ใจและขาดคณุ ธรรม
จริยธรรม
๕. สภาพหรอื ลักษณะปัญหาที่เกิดจากการขาดประชาสัมพันธใ์ หป้ ระชาชนทราบ
๖. สภาพหรือลกั ษณะปัญหาของการทจุ ริตทเี่ กดิ จากการตรวจสอบขาดความหลากหลายในการตรวจสอบ
จากภาคส่วนตา่ ง ๆ
๗. สภาพหรอื ลักษณะปญั หาของการทุจรติ ที่เกิดจากอำนาจ บารมี และอิทธพิ ลท้องถิ่น
สาเหตแุ ละปัจจัยทน่ี ำไปสู่การทุจริตขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ สามารถสรุปเปน็ ประเดน็ ไดด้ ังน้ี
๑. โอกาส แม้วา่ ในปัจจบุ นั มีหน่วยงานและกฎหมายท่เี กี่ยวข้องกบั การป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ
แตพ่ บว่า ยังคงมชี ่องวา่ งท่ที ำให้เกิดโอกาสของการทจุ ริต ซึ่งโอกาสดงั กล่าวเกิดขนึ้ จากการบังคับใช้กฎหมายทีไ่ ม่
เขม้ แข็ง กฎหมาย กฎระเบยี บไม่รดั กุม และอำนาจหน้าทีโ่ ดยเฉพาะขา้ ราชการระดบั สงู กเ็ ป็นอีกโอกาสหนง่ึ ท่ที ำให้
เกดิ การทจุ รติ
๒. ส่ิงจงู ใจ เป็นทยี่ อมรบั ว่าสภาวะเศรษฐกจิ ท่ีม่งุ เน้นเรื่องของวตั ถนุ ิยม สงั คมทนุ นิยม ทำให้คนใน
ปัจจุบนั ม่งุ เน้นทก่ี ารสรา้ งความรำ่ รวย ด้วยเหตุผลนจี้ ึงเปน็ แรงจูงใจให้เจา้ หนา้ ทีม่ ีแนวโนม้ ทจี่ ะทำพฤตกิ รรมการ
ทุจรติ มากย่งิ ข้นึ
๓
๓. การขาดกลไกในการตรวจสอบความโปรง่ ใส ปัจจุบนั เป็นทีท่ ราบดีวา่ การทจุ รติ ในปัจจบุ ันมรี ูปแบบที่
ซับซ้อนข้นึ โดยเฉพาะการทจุ รติ ในเชิงนโยบายที่ทำให้การทจุ ริตกลายเป็นความชอบธรรมในสายตาของประชาชน
ขาดกลไกการตรวจสอบความโปรง่ ใสทมี่ ีประสทิ ธิภาพ ดังนั้น จึงเปน็ การยากท่ีจะเขา้ ไปตรวจสอบการทุจริตของ
บุคคลเหล่าน้ี
๔. การผกู ขาด ในบางกรณีการดำเนนิ งานของภาครัฐ ได้แก่ การจัดซ้ือ-จัดจ้าง เปน็ เร่อื งของการผูกขาด
ดังน้นั จึงมีความเก่ียวข้องเปน็ หว่ งโซ่ผลประโยชน์ทางธรุ กจิ ในบางครง้ั พบบริษัทมกี ารให้สินบนแกเ่ จา้ หนา้ ท่ี
เพอ่ื ให้ตนเองได้รบั สิทธใิ นการดำเนินงานโครงการของภาครัฐ รูปแบบของการผกู ขาด ได้แก่ การผกู ขาดใน
โครงการก่อสร้างและโครงการพ้ืนฐานภาครัฐ
๕. การได้รบั คา่ ตอบแทนที่ไมเ่ หมาะสม รายได้ไม่เพยี งพอต่อรายจา่ ย ความยากจนถือเป็นปัจจัยหน่งึ ท่ี
ทำใหข้ า้ ราชการมพี ฤติกรรมการทจุ รติ เพราะความต้องการที่จะมีสภาพความเป็นอยูท่ ่ดี ีข้ึน ทำใหเ้ จ้าหนา้ ท่ตี ้อง
แสวงหาชอ่ งทางเพื่อเพม่ิ “รายได้พเิ ศษ” ให้กบั ตนเองและครอบครัว
๖. การขาดจรยิ ธรรม คณุ ธรรม ในสมยั โบราณ ความซื่อสัตยส์ จุ รติ เป็นคุณธรรมที่ได้รับการเนนิ เปน็
พิเศษถอื ว่าเปน็ เคร่ืองวดั ความดขี องคน แต่ในปจั จบุ ัน พบวา่ คนมีความละอายต่อบาปและเกรงกลวั บาปน้อยลง
และมีความเหน็ แกต่ วั มากยิ่งขึ้น มองแต่ประโยชนส์ ่วนตนเปน็ ท่ีตง้ั มากกวา่ ทยี่ ดึ ผลประโยชน์สว่ นรวม
๗. มคี ่านยิ มท่ผี ดิ ปัจจบุ นั คา่ นิยมของสังคมไดเ้ ปลีย่ นจากยกยอ่ งคนดี คนท่ีมคี วามซ่ือสตั ยส์ ุจริตเป็นยก
ย่องคนท่มี เี งนิ คนท่เี ปน็ เศรษฐี มหาเศรษฐี คนที่มีตำแหน่งหน้าทีก่ ารงานสงู ดว้ ยเหตผุ ลนี้ ผู้ท่ีมีคา่ นยิ มทผ่ี ดิ เหน็
ว่าการทุจรติ เป็นวิถชี ีวติ เปน็ เร่ืองปกตธิ รรมดา เหน็ คนซ่ือเป็นเซ่อ เห็นคนโกงเปน็ คนฉลาด ยอ่ มจะทำการทุจริตฉ้อ
ราษฎร์บังหลวง โดยไม่มีความละอายต่อบุญและบาป และไม่เกรงกลวั ตอ่ กฏหมายของบ้านเมอื ง
การวเิ คราะห์ความเส่ียงการทุจรติ และทม่ี ีผลตอ่ ศักยภาพในการพฒั นาของเทศบาลนครปากเกรด็
๑. การวเิ คราะห์ปจั จยั ภายใน ประกอบด้วย
๑.๑ การบรหิ าร
(๑). การบรหิ ารงานแบบแยกส่วนความรับผดิ ชอบ แต่ละส่วนราชการมุ่งผลสำเร็จของงานตาม
อำนาจหนา้ ท่ี โดยไม่มแี กนกลางประสานให้เห็นภาพรวมของการพัฒนาทัง้ องค์กรอย่างเป็นระบบ
(๒). การดำเนินงานเชงิ นโยบายท่ีไม่ใชค่ วามรับผดิ ชอบของสว่ นราชการใดโดยตรงขาดความเปน็
เอกภาพไม่มีหน่วยงานหลัก ในการประสานงานอย่างชดั เจน
๑.๒ เทศบญั ญัติและระเบียบปฏิบตั ิ
(๑). การบงั คบั ใช้เทศบญั ญัติทีม่ ีอย่ยู ังไม่เปน็ ไปอยา่ งครบถ้วนและเดด็ ขาด
(๒). เจ้าหนา้ ท่บี างสว่ นละเลยตอ่ การปฏิบตั ติ ามขอ้ กฎหมายอยา่ งเคร่งครัด
๔
๑.๓ บุคลากร
(๑). บคุ ลากรสว่ นใหญ่ขาดความร้พู นื้ ฐานเก่ียวกบั ภารกจิ ของเทศบาลทีเ่ ปน็ ความรับผดิ ชอบของแต่
ละสว่ นราชการ และระเบยี บทีใ่ ช้ในการบริการประชาชน
(๒). บคุ ลากรสว่ นใหญ่มีความร้ใู นการปฏบิ ัตงิ านเฉพาะด้าน แต่ไมม่ ีความรู้ ไมส่ นใจเกยี่ วกับงานของ
สว่ นราชการอื่นในเทศบาล
(๓). บุคลากรบางส่วนซง่ึ ไมม่ ีหนา้ ที่ในงานบริการประชาชนโดยตรงไม่ตระหนักถึงบทบาทของตนเอง
ในฐานะทเ่ี ป็นส่วนหนง่ึ ของเทศบาล แสดงกิรยิ าวาจาไม่สุภาพในสถานทที่ ำงาน ไม่สนใจใหค้ วามช่วยเหลอื
ประชาชนที่เขา้ มารบั บรกิ าร
(๔). การพฒั นาประสทิ ธิภาพบคุ ลากรไม่มุ่งเนน้ วธิ ีการพฒั นากระบวนการคิดและวธิ ีปฏบิ ตั งิ าน
๑.๔ แผนพัฒนาเทศบาล
(๑). บุคลากรส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนเพียงเพื่อให้มีโครงการใน
การเสนอของบประมาณยังขาดการประเมินความคุ้มค่าโครงการ
(๒). ส่วนราชการนำแผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ และแผนดำเนินงานมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการบรหิ ารและ
ตดิ ตามการดำเนนิ งานเฉพาะในเรอื่ งการเบิกจา่ ยงบประมาณ ยังนำไปวเิ คราะห์แนวทางการพัฒนาในระดับน้อย
(๓). การกำหนดเปา้ หมายและงบประมาณโครงการในแผนพฒั นาสามปีและแผนดำเนินงานบางส่วน
ขาดการวเิ คราะห์ข้อมลู พืน้ ฐานและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือปัญหาในพืน้ ทจี่ รงิ และขาดการศึกษา
วเิ คราะหผ์ ลดำเนนิ งานท่ีผา่ นมา
๑.๕ งบประมาณและการเบิกจ่าย
(๑). ผู้รับผิดชอบโครงการส่วนใหญ่ ไม่เข้าใจถึงความสำคัญของการจัดทำเทศบัญญัติงบประมาณ
ไม่สนใจศึกษาระเบียบหรือหนังสือสั่งการด้านการงบประมาณ และการจำแนกประเภทงบประมาณรายจ่าย ทำให้
มปี ัญหาในการต้ังงบประมาณโครงการผดิ ประเภทและปัญหาในการเบิกจา่ ยงบประมาณท่ีไมส่ อดคลอ้ งกับระเบยี บ
(๒). การจดั สรรงบประมาณเงินอุดหนนุ ทวั่ ไปตามภารกจิ ถ่ายโอนขาดความชัดเจนและความแน่นอน
ในเร่ืองช่วงเวลาการจดั สรร ทำใหไ้ มส่ ามารถวางแผนดำเนนิ งานโครงการได้อยา่ งเหมาะสมและบางโครงการต้อง
ยกเลกิ ไป
๑.๖ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
(๑). ส่วนราชการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการพิมพ์ในการจัดพิมพ์เอกสารและจัดเก็บ
ไฟล์ข้อมูลเป็นส่วนใหญ่ โดยยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ในการจัดทำระบบจัดเก็บ ค้นหา และเรียกใช้ข้อมูลเพ่ือการ
บรหิ ารและการปฏิบตั ิงาน
๕
๑.๗ การประสานงานกบั ภาคสว่ นทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
(๑). หนว่ ยงานส่วนกลาง หรอื รฐั วิสาหกิจที่มีเปา้ หมายการดำเนนิ งานในพื้นที่เทศบาลนครปากเกรด็
ขาดการประสานงานข้อมลู และแผนงาน ทำให้เกดิ การดำเนินงานซำ้ ซอ้ นในพื้นท่เี ดยี วกัน สร้างความเดือดรอ้ น
รำคาญแก่ประชาชน
(๒). ประชาชนสว่ นใหญย่ งั ไม่เข้าใจการแบ่งพื้นทร่ี บั ผิดชอบของอำเภอและเทศบาล และอำนาจ
หนา้ ท่ขี องเทศบาลกบั สว่ นราชการในพ้ืนที่
๒. การวเิ คราะห์ปัจจยั ภายนอก ประกอบด้วย
๒.๑ รฐั ธรรมนญู และระเบยี บกฎหมาย
(๑). การถือปฏิบัติตามระเบียบบางเรื่องมีแนวทางการปฏิบัติไม่ชัดเจน มีระเบียบ กฎหมายท่ี
เกยี่ วขอ้ งกบั อำนาจหน้าที่และภารกจิ ของเทศบาลเปน็ จำนวนมาก บางเร่อื งมีความซบั ซอ้ นกับหลายฉบับ
(๒). รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทำให้เกิดผลกระทบในเร่ืองข้อกฎหมายบางเรื่องซ่งึ การแก้ไขขอ้ กฎหมายท่ี
เก่ยี วขอ้ งยงั ไม่สามารถทำได้ทันตอ่ สถานการณ์
๒.๒ ปญั หาทางการเมือง
(๑). ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองระดับชาติทำให้ไม่สามารถจัดต้ังรัฐบาลใหม่ ทำให้เกิดความ
ล่าช้าในการจัดสรรงบประมาณตามโครงการท่ีเป็นนโยบายประชานิยมของรัฐบาล และในอนาคตอาจนำไปสู่
ปัญหาในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณเงนิ อดุ หนุนใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
(๒). ปญั หาการเมืองในทอ้ งถิ่น เน่อื งจากมกี ลุม่ ผลประโยชนแ์ ละกลุ่มการเมืองในพ้นื ทซ่ี ่ึงมีอทิ ธิพลตอ่
กลุ่มผู้นำชุมชน ทำใหเ้ กดิ ปัญหาในการประสานความร่วมมือระหวา่ งเทศบาลกบั ชุมชนบางแห่ง
๒.๓ นโยบายของรัฐบาลและหน่วยงานสว่ นกลาง
(๑). มีหน่วยงานส่วนกลางและสว่ นภมู ภิ าคทีม่ ีความรบั ผิดชอบงานนโยบายรฐั บาลหลายหน่วยงานมี
ความซ้ำซ้อนในเรื่องการขอข้อมลู การกำหนดแนวทางการดำเนนิ งาน และการติดตามประเมินผล
(๒). แนวทางปฏบิ ัตติ ามนโยบายของส่วนกลางทเี่ น้นการมีส่วนรว่ มของประชาชนผ่านทางเวที
ประชาคมเปน็ แนวทางทยี่ ากต่อการปฏบิ ตั จิ ริงในท้องถ่นิ ขนาดใหญ่ท่มี ีความเป็นชมุ ชนเมอื งสงู
(๓). นโยบายบางดา้ นของรฐั บาล เชน่ หลกั ประกนั รายได้ผู้สูงอายุ ค่าตอบแทน อสม. การขยาย
โอกาสทางการศึกษา ฯลฯ ทำให้เกดิ ปัญหากับเทศบาลในฐานะหนว่ ยปฏบิ ตั ิ เกีย่ วกับแนวทางปฏิบัติและข้อมลู ที่
ตอ้ งแจ้งใหป้ ระชาชนทราบเก่ียวกบั ความล่าชา้ ของการจดั สรรงบประมาณ และแนวทางปฏิบตั ิ
(๔). หนว่ ยงานส่วนกลางกำหนดภารกจิ ให้คณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลรบั ผิดชอบงานทกุ ดา้ น
โดยไม่ได้รบั คา่ ตอบแทนทำให้ขาดขวญั และกำลังใจในการปฏิบัตภิ ารกจิ
๖
๒.๔ สภาพเศรษฐกิจ
(๑). การเปล่ียนการดำเนนิ ชีวิตจากภาคเกษตรกรรม มาเปน็ ภาคพาณิชยกรรมทำใหเ้ กิดกำลงั ขาย
มากกวา่ กำลงั ซ้ือ
(๒). สถานการณโ์ รคติดต่อร้ายแรง และโรคอุบตั ใิ หม่ สง่ ผลตอ่ การใชช้ วี ิตและการประกอบอาชีพใน
ชุมชน
๒.๕ สภาพสังคม
(๑). การมีประชากรแฝงเป็นจำนวนมากทำให้การจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนจากรฐั บาลเพื่อให้
ท้องถ่ินนำมาพฒั นาพน้ื ที่ ไมส่ มดลุ กบั จำนวนประชากรที่มีอยจู่ ริง
(๒). วถิ ชี วี ติ ของคนในพน้ื ทป่ี ากเกรด็ มีความแตกตา่ ง บางพ้ืนท่มี ีสภาพเปน็ สังคมเมือง บางพ้ืนที่ยังมี
สภาพเปน็ สังคมชนบท ทำให้มีความต้องการในการพฒั นาต่างกัน
(๓). ความก้าวหน้าทางสังคมและเทคโนโลยี ทำใหเ้ กดิ สถานบนั เทงิ และแหล่งมั่วสุมที่เป็นอนั ตรายต่อ
เยาวชน
(๔). สภาพเศรษฐกจิ ตกต่ำทำให้เกิดปัญหายาเสพตดิ และอาชญากรรมเพ่ิมขน้ึ
(๕). กลุ่มประชากรแฝงไมใ่ ห้ความสำคญั ตอ่ การพัฒนาท้องถ่ินและการป้องกันแก้ไขปัญหาทีเ่ กดิ ขน้ึ
๒.๖ การถา่ ยโอนอำนาจหน้าทแี่ ละภารกิจของหนว่ ยงานภาครัฐใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
(๑). ขาดความชดั เจนในเร่ืองขอ้ มูล กระบวนการและแนวทางปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานท่ีถา่ ยโอนภารกิจ
(๒). หนว่ ยงานระดับจงั หวัดไมม่ บี ทบาททช่ี ดั เจนในการประสานงานระหว่างส่วนราชการผถู้ ่ายโอน
กับองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับถ่ายโอน
๒.๗ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของพ้ืนท่ี
(๑). การมีอาณาเขตติดแมน่ ำ้ เจา้ พระยาทำให้พืน้ ทีท่ ่เี ปน็ ทีล่ ุ่มต้องเผชญิ กับปัญหาน้ำทว่ มขงั ในฤดูน้ำ
หลาก
(๒). สภาพพื้นทใี่ นชมุ ชนดั้งเดิมและหมูบ่ ้านจัดสรรเก่ามีปัญหาถนนชำรุดและท่อระบายน้ำ อย่ตู ำ่
กว่าระดับถนนและท่อระบายนำ้ ของเทศบาลและหน่วยงานอน่ื ทำใหม้ ีปัญหานำ้ ทว่ มขงั ในชว่ งฤดูฝน โดยเฉพาะ
พื้นทีซ่ ่ึงไม่ได้ยกใหเ้ ป็นพ้นื ท่ีสาธารณะ ซึ่งเทศบาลไมส่ ามารถเขา้ ไปดำเนินการปรับปรงุ และพฒั นา
(๓). การดแู ลทรัพยากรธรรมชาติยังเป็นหน้าท่ขี องท้องถนิ่ นำ้ ในคลองเน่าเสยี และต้ืนเขิน ขาด
การบรู ณาการสว่ นราชในการแก้ไขปัญหา และการมสี ว่ นรว่ มจากภาคประชาชน
๗
(๔). โครงการของหน่วยงานต่าง ๆ ที่ดำเนนิ การในพื้นที่ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมและ
เป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่ เช่น การถมคูน้ำเพ่ือขยายถนนโดยไม่คำนึงถึงปัญหาการระบายน้ำใน
อนาคต การย้ายหน่วยงานเข้ามาอยู่ในพ้ืนที่ และการสร้างบ้านเอ้ืออาทรเป็นจำนวนมากในพ้ืนที่ซ่ึงมีปัญหา
สง่ิ แวดลอ้ มอย่เู ดิมและยากตอ่ การขยายบริการสาธารณูปโภค
๒.๘ การมสี ่วนรว่ มของประชาชนและผนู้ ำชมุ ชน
(๑). สภาพสังคมแบบชุมชนเมืองทำให้ขาดการรวมกล่มุ ของประชาชนอยา่ งแท้จรงิ ความร่วมมือทมี่ ี
อย่เู ปน็ ไปในระดับคณะกรรมการชุมชนเทา่ น้นั
(๒). ประชาชนส่วนใหญ่เห็นวา่ เปน็ หน้าที่ของเทศบาล/ราชการท่จี ะต้องแกไ้ ขปญั หาและจดั บริการ
ให้อยา่ งครบถว้ น โดยไม่ตระหนักถงึ หน้าท่ีของตนเอง ในการมสี ่วนร่วมแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาความเจรญิ ของถิน่ ท่ี
มีอยู่ เช่น การดแู ลส่งิ แวดล้อมบริเวณรอบบ้านเรือน การแกไ้ ขปัญหาขยะมลู ฝอย โดยการคัดแยกขยะ การติดตงั้
ถงั ดักไขมนั ป้องกนั ปญั หานำ้ เน่าเสยี
๒.๙ สถานศกึ ษาในพืน้ ที่
(๑). ผู้นำชุมชนบางสว่ นมงี านประจำ ทำใหไ้ ม่สามารถเขา้ รว่ มการประชุมหรือรว่ มกจิ กรรมของ
เทศบาลได้อย่างสมำ่ เสมอ
(๒). จำนวนสถานศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพและได้มาตรฐานมจี ำนวนไมเ่ พียงพอสำหรบั เยาวชนในพืน้ ที่
(๓). สถานศกึ ษาในพื้นท่ียังไม่พร้อมที่จะถา่ ยโอนมาอยูใ่ นสังกดั เทศบาล
๘
ส่วนท่ี ๒
การประเมินความเส่ยี งการทจุ ริต
๑. กรอบหรือภาระงานในการประเมินความเส่ียงการทุจริต มี ๔ กระบวนการ
๑.๑ Corrective : แกไ้ ขปญั หาที่เคยรับร้วู ่าเกิด ส่ิงท่มี ีประวัติอยู่แล้ว ทำอย่างไรจะไมใ่ หเ้ กดิ ขน้ึ ซ้ำอีก
๑.๒ Detective : เฝา้ ระวัง สอดสอ่ ง ตดิ ตามพฤติกรรมเสี่ยง ทำอย่างไรจะตรวจพบต้องสอดส่องต้ังแต่
แรก ต้ังข้อบง่ ชี้บางเร่ืองทนี่ า่ สงสัยทำการลดระดบั ความเสี่ยงนั้นหรอื ใหข้ ้อมูลหรือให้ข้อมูลเบาะแสน้นั แกผ่ บู้ รหิ าร
๑.๓ Preventive : ปอ้ งกนั หลกี เลยี่ ง พฤติกรรมท่นี ำไปสกู่ ารสุม่ เสี่ยงตอ่ การกระทำผดิ ในส่วนพฤตกิ รรม
ท่ีเคยรับรู้วา่ เคยเกิดมากอ่ น คาดหมายได้ว่ามีโอกาสสูงทจี่ ะเกดิ ซำ้ อกี (Known Factor) ทั้งท่รี ูว้ า่ ทำไปมีความเสี่ยง
ตอ่ การทจุ รติ จะต้องหลกี เลย่ี งด้วยการปรับ Workflow ใหม่ ไมเ่ ปดิ ช่องว่างใหท้ ำการทุจริตเข้ามาได้ ได้อีก
๑.๔ Forecastion : การพยากรณ์ประมาณการส่ิงทีเ่ กิดอาจจะเกดิ ข้ึนและป้องกนั ปอ้ งปรามลว่ งหน้าใน
เร่ืองประเด็นที่ไมค่ ุน้ เคย ในส่วนที่เปน็ ปจั จัยความเสย่ี งที่มาจากการพยากรณป์ ระมาณการลว่ งหน้าในอนาคต
(Unknown Factor)
๒. ขน้ั ตอนการประเมินความเสี่ยงการทุจรติ มี ๙ ข้นั ตอน ดังนี้
๑. การระบุความเสยี่ ง
๒. การวเิ คราะห์สถานะความเสย่ี ง
๓. เมทริกสร์ ะดบั ความเสีย่ ง
๔. การประเมินการควบคุมความเส่ียง
๕. แผนบริหารความเส่ยี ง
๖. การจดั ทำรายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยง
๗. การทำระบบการบรหิ ารความเสีย่ ง
๘. การจดั ทำรายงานการบริหารความเสี่ยง
๙. การรายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนการบริหารความเส่ยี ง
๙
ขัน้ เตรยี มการ : ประเมนิ ความเสี่ยงการทุจริต
ก่อนทำการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ต้องทำการคัดเลือกงานหรือกระบวนงาน จากภารกิจในแต่ละ
ประเภทท่ีจะทำการประเมิน ในกรณีน้ีได้จำแนกขอบเขตของการประเมินความเสี่ยงการทุจริตไว้ ๓ ด้าน ดังนี้
ความเส่ียงการทุจริตท่ีเก่ียวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต (ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกใน
การพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.๒๕๕๘) ความเส่ียงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อำนาจและ
ตำแหน่งหน้าที่ และความเส่ียงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการ
ทรัพยากรภาครัฐเม่ือคัดเลือกแล้ว ให้ทำการคัดเลือกกระบวนงานของประเภทด้านน้ัน ๆ โดยเฉพาะการ
ดำเนินงานท่ีอาจก่อให้เกิดการทุจริต และจัดเตรียมข้อมูลข้ันตอนการปฏิบัติงาน หรือแนวทาง หลักเกณฑ์ในการ
ปฏบิ ตั ิงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง จากน้นั จงึ ลงมือทำตามขน้ั ตอนประเมนิ ความเสีย่ งการทุจรติ
ขั้นตอนที่ ๑ การระบุความเส่ียง (Risk Identification)
เทคนิคในการระบคุ วามเส่ยี ง หรือคน้ หาความเสี่ยงการทจุ ริตด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ ดงั นี้
WORK การระดม เทคนคิ ในการ
SHOP สมอง ค้นหาความเสย่ี ง
การทุจริต
Risk การออกแบบ ถกเถียง
Identification สอบถาม หยิบยกประเดน็
ทมี่ ีโอกาสเกิด
การ เปรียบเทียบวธิ ี Risk
สมั ภาษณ์ ปฏิบตั กิ ับองค์กรอนื่ Identification
การระบุความเสีย่ ง (Known Factor และ Unknown Factor)
ระบุความเสี่ยง นำข้อมูลที่ได้จากขั้นเตรียมการในส่วนรายละเอียดข้ันตอน แนวทางหรือเกณฑ์การ
ปฏิบัติงานของกระบวนงานท่ีจะทำการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ซึ่งในขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นยอ่ มประกอบ
ไปด้วยข้ันตอนย่อย ในการระบุความเส่ียงตามขั้นตอนท่ี ๑ ให้ทำการระบุความเส่ียง อธบิ ายรายละเอียด รูปแบบ
พฤติการณค์ วามเส่ียงเฉพาะทีม่ ีความเสี่ยงการทุจริตเท่านัน้ และในการประเมินต้องคำนึงถึงความเส่ียงในภาพรวม
๑๐
ของการดำเนินงานเรื่องที่จะทำการประเมินด้วย เน่ืองจากในกระบวนงานการปฏิบัติงานตามขั้นตอนอาจไม่พบ
ความเส่ียง หรือโอกาสเสี่ยงต่ำ แต่อาจพบว่ามีความเส่ียงในเรื่องนั้น ๆ ในการดำเนินงานที่ไม่ได้อยู่ในขั้นตอนก็
เป็นไปได้ โดยไม่ต้องคำนึงว่าหน่วยงานจะมีมาตรการป้องกันหรือแก้ไขความเส่ียงการทุจริตนั้นอยู่แล้ว นำข้อมูล
รายละเอยี ดดงั กล่าวลงในประเภทของความเส่ียงซึ่งเป็น Known Factor หรือ Unknown Factor
Known Factor ความเสยี่ งทัง้ ปญั หา/พฤติกรรมที่เคยรับรู้วา่ เคยเกิดมาก่อน คาดหมายได้ว่ามี
โอกาสสงู ที่จะเกิดซ้ำ หรือมปี ระวัติ
Unknown Factor ปัจจัยความเสี่ยงทมี่ าจากพยากรณ์ ประมาณการล่วงหน้าในอนาคต ปญั หา/
พฤติกรรม ความเสี่ยงท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้
ตารางท่ี ๑ ระบุความเสยี่ ง (Known Factor และ Unknown Factor)
โอกาส/ความเสยี่ งการทจุ รติ ระบุรายละเอียดความเสยี่ งการทุจริต
๑. ความเสีย่ งการทุจรติ ที่ Known Factor Unknown Factor
เก่ียวขอ้ งกบั การพิจารณาอนุมัติ
อนญุ าต กระบวนงานการขอ - เจา้ หนา้ ทอี่ าจมีการเรียกรบั ผลประโยชน์
อนญุ าตก่อสรา้ งอาคาร ดดั แปลง ในระหวา่ งการตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน
อาคาร หรือร้ือถอนอาคาร ประกอบการพิจารณา
- การพิจารณาตรวจสอบ และเสนอ
ความเหน็ การอนมุ ตั ิ อนญุ าตไมด่ ำเนินการ
ตามลำดับคำขอ
- การใช้ดุลยพนิ จิ ในการตรวจสอบความ
ครบถ้วนของเอกสารไม่เปน็ มาตรฐาน
เดียวกนั
- การตรวจเอกสารไมค่ รบถ้วนตามที่ระบุ
ไว้ในคำขอ แต่มกี ารรับเร่ืองไว้
- การดำเนนิ การยื่นคำขออนุญาตไม่มี
กรอบระยะเวลากำหนดทช่ี ดั เจน อาจ
กอ่ ให้เกิดการเรียกรบั สนิ บนเพอ่ื ความ
รวดเรว็ ในการพิจารณาอนุมตั ิ อนุญาต
๑๑
โอกาส/ความเสย่ี งการทจุ ริต ระบรุ ายละเอียดความเสี่ยงการทุจริต
๒. ความเสย่ี งการทจุ ริตท่ี Known Factor Unknown Factor
เกย่ี วข้องกบั การพจิ ารณาอนุมัติ
อนญุ าต กระบวนงานออก - เจา้ หน้าท่ีอาจเรียกรับผลประโยชน์กับ
ใบอนุญาตจดทะเบยี นพาณิชย์ ประชาชนทมี่ าติดต่อขอจดทะเบียน
พาณิชย์
๓. ความเสี่ยงการทุจริตท่ี
เกี่ยวข้องกับการพจิ ารณาอนุมตั ิ - เจ้าหนา้ ทอี่ าจเรียกรบั ผลประโยชนใ์ น
อนญุ าต กระบวนงานออก ระหว่างการตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
ใบอนุญาตกจิ การตาม ประกอบการพิจารณาและเสนอความเหน็
พระราชบญั ญัติการสาธารณสุข การอนุมัติ อนญุ าต การดำเนินการไม่เปน็
พ.ศ.๒๕๓๕ ตามลำดบั คำขอ
๔. ความเส่ียงการทุจริตท่ี - เจ้าหนา้ ที่ไมส่ ามารถอนุญาตใหจ้ ดั ตง้ั
เกย่ี วขอ้ งกบั การพิจารณาอนุมัติ ชมรมฯ ใหมไ่ ด้ เพราะเอกสารหลักฐานไม่
อนญุ าต กระบวนงานอนญุ าตให้ เปน็ ไปตามกระบวนงาน
มกี ารจัดตง้ั ชมรมผสู้ ูงอายุใหม่
- ประชาชนแสดงเอกสารท่ีเป็นเทจ็ ทำให้
๕. ความเสยี่ งการทุจรติ ท่ี เจา้ หนา้ ท่ีไมส่ ามารถตรวจสอบเอกสารได้
เกย่ี วขอ้ งกบั การแจ้งเกิดอันเป็น อยา่ งละเอียดรอบคอบได้ อาจทำใหเ้ กดิ
เทจ็ โดยแอบอ้างบุคคลอ่นื เป็น การทจุ รติ ในการอนุมตั ิ อนุญาต
บิดา
- การขอใช้รถยนต์สว่ นกลาง
๖. ความเสย่ี งการทุจรติ ท่ี นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ท่ีขออนมุ ตั ิ
เกย่ี วขอ้ งกบั กระบวนงานการขอ - การใชร้ ถยนต์ส่วนกลางเกนิ เวลาหรอื
ใชร้ ถยนตส์ ่วนกลาง นอกเสน้ ทางทีก่ ำหนด
๗. ความเสี่ยงการทจุ ริตที่ - ขน้ั ตอนในการปฏิบตั งิ านและการจัดทำ
เกย่ี วข้องกับการเบกิ จ่ายเงนิ เอกสารประกอบการเบิกจ่ายมีโอกาสเกิด
คา่ ตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอก ความผิดพลาด ซงึ่ อาจส่งผลกระทบต่อ
เวลาราชการ (OT) การเบกิ จา่ ยงบประมาณ
๑๒
โอกาส/ความเสีย่ งการทุจริต ระบุรายละเอียดความเสย่ี งการทุจริต
๘. ความเสยี่ งการทุจรติ ท่ี Known Factor Unknown Factor
เกย่ี วข้องกับการดำเนินการจัดซอ้ื
จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดใุ น - เจา้ หน้าที่ผปู้ ฏบิ ัตงิ านขาดทักษะในการ
ระบบเครือข่ายสารสนเทศของ ใช้ระบบสารสนเทศ
กรมบญั ชีกลาง (กองการศกึ ษา)
- เจา้ หน้าท่ผี ูป้ ฏิบัติงานอาจใชด้ ุลยพินจิ
๙. ความเสย่ี งการทจุ รติ ที่ ในการจัดการเร่ืองร้องเรยี นร้องทุกข์
เกย่ี วขอ้ งกับกระบวนงานการ โดยไม่อยบู่ นพนื้ ฐานของกฎหมาย
จดั การเรอื่ งราวร้องเรียนรอ้ งทกุ ข์ - การตรวจ ตดิ ตาม และรายงานผลการ
ดำเนนิ งานอาจไม่เป็นไปตามขัน้ ตอน และ
ระยะเวลาท่ีกำหนด
ขั้นตอนที่ ๒ การวิเคราะห์สถานะความเส่ยี ง
ให้นำขนั้ ตอนย่อยที่มีความเสี่ยงการทุจรติ จากตารางที่ ๑ มาแยกเพ่ือแสดงสถานะความเส่ยี งการทุจรติ
ออกตามรายสีไฟจราจร เขียว เหลอื ง สม้ แดง โดยระบสุ ถานะของความเส่ยี งในชอ่ งสีไฟจราจร
ความหมายของสถานะความเสย่ี งตามสไี ฟจราจร มรี ายละเอียดดงั นี้
สถานะสเี ขียว : ความเสย่ี งระดบั ตำ่
สถานะสเี หลือง : ความเส่ยี งระดับปานกลาง และสามารถใชค้ วามรอบคอบ
สถานะสีส้ม ระมัดระวงั ในระหวา่ งปฏบิ ตั ิงาน ตามปกติควบคมุ ดูแลได้
สถานะสแี ดง : ความเส่ียงระดบั สูง เป็นกระบวนงานที่มผี ู้เก่ยี วข้องหลายคน
หลายหน่วยงานภายในองค์กร มหี ลายขั้นตอน จนยากต่อการ
ควบคุม หรือไม่มีอำนาจควบคมุ ข้ามหนว่ ยงานตามหนา้ ที่ปกติ
: ความเสีย่ งระดบั สงู มาก เปน็ กระบวนงานท่ีเก่ียวข้องกบั บุคคลภายนอก
คนท่ีไมร่ ้จู ักไม่สามารถตรวจสอบไดช้ ดั เจน ไมส่ ามารถกำกับตดิ ตามได้
อย่างใกลช้ ิด หรอื อย่างสมำ่ เสมอ
ตารางท่ี ๒ ตารางแสดงสถานความเส่ียง (แยกตามรายสีไฟจราจร)
๑๓
ท่ี โอกาส/ความเส่ยี งการทุจริต เขยี ว เหลือง สม้ แดง
๑ การขออนญุ าตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรือ้ ถอนอาคาร √
๒ การออกใบอนญุ าตจดทะเบยี นพาณิชย์
√
๓ การออกใบอนุญาตกจิ การตามพระราชบญั ญัตกิ ารสาธารณสุข √
พ.ศ.๒๕๓๕
√
๔ การอนญุ าตให้มีการจดั ต้งั ชมรมผูส้ ูงอายรุ ายใหม่ √
๕ การขอลงชอ่ื บดิ าในการแจ้งเกิด กรณีหนังสือรับรองการเกิดไม่ได้ระบุ √
ชื่อของบิดาและการขอแกไ้ ขช่ือบดิ าในสูตบิ ตั ร √
๖ การขอใชร้ ถยนตส์ ว่ นกลาง √
๗ การเบิกเงนิ ค่าตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ (OT) √
๘ การกรอกข้อมูลในระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศของกรมบญั ชีกลางผ่าน
ทางระบบจดั ซอื้ จัดจ้างภาครัฐด้วยอเิ ลก็ ทรอนิกส์
๙ การจดั การเร่ืองราวร้องเรยี นรอ้ งทุกข์
ขัน้ ตอนท่ี ๓ เมทริกส์ระดับความเส่ียง (Risk level matrix)
เมทริกส์ระดบั ความเสยี่ ง (Risk level matrix) คือการกำหนดคา่ คะแนนความเสย่ี งของปัจจัยความเสี่ยง
ตามตาราง ตาราง ๒ ตามระดับคะแนนความจำเปน็ ของการเฝ้าระวัง คูณกับระดบั ความรุนแรงของผลกระทบ
ดังนี้
๓.๑ ระดับความจำเปน็ ของการเฝา้ ระวงั มแี นวทางในการพจิ ารณา ดังนี้
ระดับ ๓ หมายถงึ เปน็ ขั้นตอนหลกั ของกระบวนการ และมีความเส่ียงในการทจุ รติ สูง
ระดบั ๒ หมายถงึ เป็นข้ันตอนหลักของกระบวนการ และมีความเส่ียงในการทจุ รติ ท่ีไมส่ ูงมาก
ระดับ ๑ หมายถงึ เป็นขั้นตอนรองของกระบวนการ
๓.๒ ระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบ มีแนวทางในการพจิ ารณา ดงั น้ี
ระดบั ๓ หมายถงึ มผี ลกระทบต่อผู้ใช้บรกิ าร/ผูม้ ีสว่ นไดเ้ สยี /หน่วยงานกำกบั ดูแล/ พนั ธมิตร/
เครือข่าย/ทางการเงิน ในระดับที่รนุ แรง
ระดบั ๒ หมายถงึ มผี ลกระทบต่อผ้ใู ชบ้ รกิ าร/ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สีย/หน่วยงานกำกบั ดูแล/พันธมติ ร/
เครอื ข่าย/ทางการเงิน ในระดับไมร่ นุ แรง
๑๔
ระดับ ๑ หมายถงึ มีผลกระทบต่อกระบวนการภายใน/การเรียนรู้/องคค์ วามรู้
ตารางท่ี ๓ SCORING ทะเบยี นข้อมลู ท่ีต้องเฝ้าระวัง (ตารางเมทริกสร์ ะดับความเส่ยี ง) (Risk level
matrix)
โอกาส/ความเสยี่ ง ระดบั ความจำเป็น ระดบั ความรนุ แรง คา่ ความเสี่ยงรวม
การทจุ ริต การเฝ้าระวงั ของผลกระทบ (จำเป็น x รุนแรง)
๑. เจ้าหนา้ ทีอ่ าจเรยี กรบั ผลประโยชนใ์ น ๒ ๒ ๔
ระหว่างการตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน
ประกอบการพิจารณาอนญุ าตกอ่ สรา้ งอาคาร
ดัดแปลงอาคาร หรอื ร้ือถอนอาคาร
๒. เจา้ หนา้ ที่อาจเรียกรบั ผลประโยชนใ์ นการ ๒ ๑ ๒
พจิ ารณาอนญุ าตจดทะเบียนพาณชิ ย์
๓. เจา้ หนา้ ที่อาจเรียกรบั ผลประโยชน์ใน ๒ ๒ ๔
ระหว่างการตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
ประกอบการพิจารณาและเสนอความเห็นการ
อนมุ ัติ อนุญาตกิจการตามพระราชบญั ญัตกิ าร
สาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕
๔. เจา้ หนา้ ท่ีไมส่ ามารถอนุญาตใหจ้ ดั ต้ังชมรม ๒ ๑ ๒
ผ้สู ูงอายใุ หม่ เพราะเอกสารหลักฐานไม่เปน็ ไป
ตามกระบวนงาน
๕. การแจ้งเกดิ อันเป็นเท็จโดยแอบอา้ งบุคคล ๒ ๒ ๔
อื่นเป็นบดิ า เน่ืองจากการใชเ้ อกสารเท็จทำให้
เจา้ หน้าที่ไมส่ ามารถตรวจสอบเอกสารไดอ้ ยา่ ง
ละเอียดรอบคอบทำให้อาจเกิดการทุจรติ ใน
การอนุมัติ อนุญาต
๑๕
โอกาส/ความเสยี่ ง ระดบั ความจำเป็น ระดบั ความรุนแรง คา่ ความเส่ียงรวม
การทจุ รติ การเฝ้าระวงั ของผลกระทบ (จำเป็น x รุนแรง)
๒ ๒๔
๖. การขอใชร้ ถยนตส์ ่วนกลางนอกเหนือจาก
วตั ถุประสงค์ท่ีขออนุมัติ และใช้รถยนตเ์ กิน
เวลาหรอื นอกเสน้ ทางที่กำหนด
๗. ความผดิ พลาดจากขนั้ ตอนและการจดั ทำ ๒ ๑ ๒
เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงนิ ค่าตอบแทน
การปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ (OT)
๘. เจ้าหนา้ ทผี่ ู้ดำเนนิ การจดั ซ้ือจัดจา้ งและการ ๒ ๑ ๒
บรหิ ารพัสดใุ นระบบเครือข่ายฯขาดทักษะใน
การใชร้ ะบบสารสนเทศ (กองการศึกษา)
๙. เจ้าหน้าท่ีผปู้ ฏบิ ตั ิงานอาจใช้ดุลยพินิจใน ๒ ๒ ๔
การจัดการเร่ืองรอ้ งเรยี นรอ้ งทกุ ข์ โดยไมอ่ ยู่บน
พน้ื ฐานของกฎหมาย หรือไม่ดำเนินการตาม
ขั้นตอน และระยะเวลาที่กำหนด
ข้ันตอนท่ี ๔ การประเมนิ ควบคุมความเสย่ี ง (Risk - Control Matrix Assesment)
ขนั้ ตอนที่ ๔ ให้นำค่าความเส่ียงรวม (จำเป็น X รนุ แรง) จากตารางที่ ๓ มาทำการประเมินการควบคุม
การทจุ รติ ว่ามีระดบั การควบคุมความเสี่ยงการทจุ ริตอยู่ในระดบั ใด เมื่อเทียบกับคุณภาพการจัดการ (คุณภาพการ
จดั การ สอดส่อง เฝา้ ระวังในงานปกติ) โดยเกณฑ์คุณภาพการจดั การจะแบ่งเปน็ ๓ ระดบั ดังนี้
ดี : จัดการไดท้ นั ที ทุกคร้ังทเ่ี กิดความเสีย่ ง ไมก่ ระทบถึงผู้ใช้บรกิ าร/ผ้รู บั มอบผลงานองค์กร
ไมม่ ผี ลเสียทางการเงิน ไมม่ รี ายจา่ ยเพ่ิม
พอใช้ : จัดการได้โดยส่วนใหญ่ มบี างครั้งยงั จัดการไม่ได้ กระทบถึงผูใ้ ช้บรกิ าร/ผรู้ บั มอบผลงานองค์กร
แตย่ อมรบั ได้ มีความเข้าใจ
ออ่ น : จัดการไม่ได้ หรือได้เพียงสว่ นนอ้ ย การจดั การเพม่ิ เกดิ จากรายจ่าย มีผลกระทบถึงผ้ใู ช้บริการ/
ผู้รับมอบผลงาน และยอมรับไมไ่ ด้ ไม่มีความเขา้ ใจ
๑๖
ตาราง ๔ แสดงการประเมินควบคุมความเสี่ยง
ขัน้ ตอนย่อยที่มีความเสย่ี ง คณุ ภาพ คา่ ประเมนิ การควบคุมความเส่ยี งการทจุ รติ
การทจุ ริต การจดั การ ความเสี่ยง ความเสีย่ ง ความเส่ยี ง
ระดบั ต่ำ ระดับปานกลาง ระดับสูง
๑. เจา้ หน้าทอี่ าจเรยี กรบั ดี
ผลประโยชนใ์ นระหวา่ งการ √
ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน
ประกอบการพจิ ารณาอนญุ าต
กอ่ สรา้ งอาคาร ดัดแปลงอาคาร
หรอื ร้ือถอนอาคาร
๒. เจ้าหน้าท่ีอาจเรยี กรบั ดี √
ผลประโยชนใ์ นการพิจารณา
อนุญาตจดทะเบยี นพาณชิ ย์
๓. เจ้าหนา้ ท่อี าจเรยี กรับ ดี √
ผลประโยชนใ์ นระหว่างการ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
ประกอบการพิจารณาและเสนอ
ความเหน็ การอนมุ ตั ิ อนุญาต
กจิ การตามพระราชบัญญตั ิการ
สาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕
๔.เจ้าหน้าท่ไี มส่ ามารถอนญุ าตให้ ดี √
จัดตงั้ ชมรมผสู้ ูงอายุใหม่ เพราะ
เอกสารหลกั ฐานไมเ่ ปน็ ไปตาม
กระบวนงาน
๕.การแจ้งเกดิ อนั เปน็ เท็จโดย ดี √
แอบอา้ งบคุ คลอื่นเปน็ บิดา
เน่อื งจากการใช้เอกสารเทจ็ ทำให้
เจ้าหนา้ ทไ่ี มส่ ามารถตรวจสอบ
เอกสารไดอ้ ย่างละเอียดรอบคอบ
ทำใหอ้ าจเกิดการทุจรติ ในการ
อนุมตั ิ อนุญาต
๑๗
ขนั้ ตอนย่อยท่มี ีความเสย่ี ง คณุ ภาพ ค่าประเมนิ การควบคมุ ความเสยี่ งการทุจรติ
การทจุ รติ การจดั การ ความเสี่ยง ความเสยี่ ง ความเสย่ี ง
ระดบั ต่ำ ระดับปานกลาง ระดับสูง
๖. การขอใชร้ ถยนต์ส่วนกลาง ดี
นอกเหนือจากวตั ถุประสงค์ท่ีขอ √
อนุมตั ิ และใชร้ ถยนตเ์ กนิ เวลา ดี
หรอื นอกเส้นทางท่ีกำหนด √
ดี
๗. ความผดิ พลาดจากขั้นตอน √
และการจดั ทำเอกสาร ดี
ประกอบการเบิกจา่ ยเงนิ √
ค่าตอบแทนการปฏบิ ัตงิ านนอก
เวลาราชการ (OT)
๘. เจา้ หนา้ ทผี่ ้ดู ำเนินการจดั ซื้อ
จดั จ้างและการบริหารพัสดุใน
ระบบเครือขา่ ยฯขาดทักษะใน
การใช้ระบบสารสนเทศ (กอง
การศกึ ษา)
๙. เจา้ หนา้ ทผ่ี ้ปู ฏบิ ัติงานอาจใช้
ดุลยพินิจในการจดั การเรื่อง
ร้องเรียนรอ้ งทุกข์ทม่ี ิชอบด้วย
กฎหมาย
ขัน้ ตอนที่ ๕ แผนบริหารความเสี่ยง
ขนั้ ตอนท่ี ๕ ให้เลือกเหตุการณ์ท่ีมีความเสยี่ งสงู สุดจากการประเมนิ การควบคมุ ความเสีย่ ง Risk
Control Matrix Assessment ในขั้นตอนท่ี ๔ ท่ีอยใู่ นช่องค่าความเสีย่ งระดับสงู หรือค่าความเส่ยี ง ระดับ ๕
หรือ ๖ หรอื ๗ หรอื ๘ หรอื ๙ โดยเฉพาะช่องสงู ๙ ควรเลือกมาทำแผนบริหารความเสีย่ งการทจุ ริตกอ่ นเป็น
อนั ดับแรก
จากการประเมนิ ความเสี่ยงการทจุ รติ ดังกลา่ ว พบวา่ คา่ ประเมนิ ความเสย่ี งการทุจรติ อย่ใู น ระดับ ๒-๔
หรืออยูใ่ นระดบั ความเสีย่ งต่ำ-คอ่ นข้างตำ่ คุณภาพการจัดการอยู่ในระดบั ดี-พอใช้ การบรหิ ารจดั การความเส่ยี ง
จะอยใู่ นระดับเฝ้าระวงั และทำกิจกรรมบริหารความเสย่ี ง
๑๘
ข้นั ตอนท่ี ๖ การจัดทำรายงานผลการเฝ้าระวงั ความเส่ียง
ข้ันตอนท่ี ๖ เพอ่ื ติดตามเฝ้าระวงั เปน็ การประเมินการบริหารความเส่ียงการทจุ รติ ในกจิ กรรมตามแผน
บริหารความเสี่ยงของข้นั ตอนที่ ๕ ซงึ่ เปรยี บเสมือนเป็นการสร้างตะแกรงดัก เพ่ือเป็นการยนื ยนั ผลการปอ้ งกนั หรือ
แก้ไขปญั หามปี ระสทิ ธภิ าพมากน้อยเพยี งใด โดยการแยกสถานะการเฝา้ ระวังความเสย่ี งการทจุ รติ ออกเปน็ ๓ สี
ได้แก่ สเี ขียว สีเหลือง สีแดง
ตารางที่ ๖ ตารางจัดทำรายงานผลการเฝ้าระวงั ความเสีย่ ง
ขั้นตอนยอ่ ยท่ีมีความเสยี่ งการทุจรติ เขียว เหลอื ง แดง
๑. เจ้าหนา้ ที่อาจเรียกรบั ผลประโยชนใ์ น √
ระหวา่ งการตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน
ประกอบการพจิ ารณาอนุญาตกอ่ สร้างอาคาร
ดัดแปลงอาคาร หรอื รื้อถอนอาคาร
๒. เจ้าหน้าทอี่ าจเรียกรบั ผลประโยชน์ในการ √
พิจารณาอนญุ าตจดทะเบยี นพาณิชย์
๓. เจา้ หนา้ ท่อี าจเรยี กรับผลประโยชนใ์ น √
ระหว่างการตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
ประกอบการพจิ ารณาและเสนอความเหน็ การ
อนุมตั ิ อนุญาตกิจการตามพระราชบญั ญัตกิ าร
สาธารณสขุ พ.ศ.๒๕๓๕
๔. เจา้ หน้าทไี่ ม่สามารถอนุญาตใหจ้ ัดตงั้ ชมรม √
ผสู้ ูงอายุใหม่ เพราะเอกสารหลกั ฐานไม่เป็นไป
ตามกระบวนงาน
๕. การแจ้งเกดิ อนั เป็นเทจ็ โดยแอบอ้างบคุ คล √
อนื่ เป็นบิดา เน่ืองจากการใช้เอกสารเท็จทำให้
เจ้าหนา้ ที่ไม่สามารถตรวจสอบเอกสารไดอ้ ยา่ ง
ละเอียดรอบคอบทำให้อาจเกิดการทุจริตใน
การอนมุ ัติ อนุญาต
๖. การขอใช้รถยนตส์ ่วนกลางนอกเหนือจาก √
วัตถุประสงค์ท่ีขออนุมตั ิ และใช้รถยนตเ์ กิน
เวลาหรอื นอกเส้นทางที่กำหนด
ข้นั ตอนย่อยท่ีมีความเสีย่ งการทุจรติ เขียว ๑๙
√
๗. ความผดิ พลาดจากขนั้ ตอนและการจดั ทำ เหลือง แดง
เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินคา่ ตอบแทน √
การปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการ (OT) √
๘. เจ้าหนา้ ท่ีผู้ดำเนินการจัดซ้ือจดั จา้ งและการ
บรหิ ารพัสดใุ นระบบเครือขา่ ยฯขาดทักษะใน
การใช้ระบบสารสนเทศ (กองการศกึ ษา)
๙. เจา้ หนา้ ท่ผี ปู้ ฏบิ ัติงานอาจใชด้ ุลยพินจิ ใน
การจัดการเร่ืองร้องเรยี นรอ้ งทกุ ข์ท่ีมิชอบด้วย
กฎหมาย
สถานะสีเขยี ว : ไมเ่ กดิ กรณีท่ีอยู่ในข่ายความเส่ียง ยงั ไม่ต้องทำกิจกรรมเพิม่
สถานะสีเหลอื ง : เกิดกรณที ี่อยูใ่ นขา่ ยความเส่ียง แตแ่ ก้ไขได้ทันทว่ งที ตามมาตรการนโยบาย โครงการ
กจิ กรรมท่เี ตรียมไว้ แผนใช้ได้ผล ความเส่ียงการทุจรติ ลดลงค่าความเส่ยี งรวมไม่เกนิ
ระดบั ๖
สถานะสแี ดง : เกดิ กรณีที่อยูข่ ่ายังแก้ไขไม่ได้ ควรมมี าตรการ นโยบาย โครงการ กจิ กรรม เพมิ่ ข้ึน
แผนใช้ไมไ่ ด้ผล คา่ ความเสีย่ งรวมเกินระดบั ๖
สีแดง เกินกว่าการยอมรับ
สีเหลอื ง เกิดขน้ึ แลว้ แต่ยอมรับได้
สเี ขียว ยงั ไม่เกดิ เฝ้าระวังต่อเนอ่ื ง
๒๐
ขั้นตอนท่ี ๗ จดั ทำระบบการบริหารความเสี่ยง แนวทางบริหารจัดการความเส่ียง
๗.๑ (สถานะสีแดง Red) คา่ ระดบั ความเส่ียงรวม = ๗ , ๘ และ ๙ ความเสยี่ งอยู่ในระดบั เกนิ กวา่ การ
ยอมรบั ควรมีแผนงาน มาตรการ กิจกรรมบรหิ ารจัดการความเสย่ี งเพิ่มเติม
๗.๒ (สถานะสีเหลอื ง Yellow) คา่ ระดบั ความเสยี่ งรวม = ๔ , ๕ และ ๖ ความเสีย่ งอยู่ในระดับเกิดขน้ึ
แลว้ แตย่ อมรับได้ ควรมีกิจกรรมเพ่ิมเติม
๗.๓ (สถานะสีเขยี ว Green) ค่าระดับความเส่ียงรวม = ๑ , ๒ และ ๓ ค่าความเสย่ี งรวมอยใู่ นระดบั ยงั
ไมเ่ กิด ควรเฝ้าระวังต่อเนือ่ ง
ตารางที่ ๗ แนวทางบรหิ ารจัดการความเส่ยี งการดำเนินงานทีอ่ าจก่อให้เกิดทุจริต หรือการขดั กนั
ระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมของ เทศบาลนครปากเกร็ด
ระบคุ วามเสี่ยงดา้ นการดำเนินงาน คา่ ประเมิน แนวทาง/กจิ กรรมบริหารจัดการ
ที่อาจก่อให้เกิดการทจุ ริต
ความเส่ยี งรวม ความเส่ียง
๑. ความเส่ียงการทุจรติ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการ
พิจารณาอนมุ ัติ อนุญาต กระบวนงานการขอ ๔ - กำหนดแนวทางการตรวจสอบเอกสาร
อนญุ าตก่อสรา้ งอาคาร ดดั แปลงอาคาร หรอื ร้ือ
ถอนอาคาร หลักฐานประกอบการพจิ ารณา
๒. ความเสยี่ งการทุจริตที่เก่ียวขอ้ งกับการ - กำหนดข้ันตอนปฏบิ ัตแิ ละกรอบ
พิจารณาอนมุ ัติ อนุญาต กระบวนงานออก
ใบอนญุ าตจดทะเบียนพาณชิ ย์ ระยะเวลา ในการตรวจสอบคำขอให้มี
๓. ความเสี่ยงการทจุ รติ ที่เกีย่ วขอ้ งกับการ ความชดั เจน และเป็นมาตรฐานเดียวกนั
พิจารณาอนุมัติ อนญุ าต กระบวนงานออก
ใบอนญุ าตกจิ การตาม พระราชบญั ญัติการ ๒ - จัดทำคู่มอื การจดทะเบยี นพาณชิ ย์
สาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕
- จัดทำ Flowchart ขน้ั ตอนการขอจด
ทะเบียนพาณชิ ย์ สำหรับประชาชน
- กำหนดขั้นตอนการปฏบิ ัติงานของ
เจา้ หน้าท่ใี นการตรวจสอบเอกสารขอจด
ทะเบยี นพาณชิ ย์
๔ - วางแนวทางการตรวจสอบเอกสาร
หลักฐานประกอบขอใบอนุญาต
- กำหนดขนั้ ตอนปฏบิ ตั ใิ นการตรวจสอบ
คำขอใหม้ ีความชัดเจนเปน็ แนวทาง
เดียวกนั
- กำหนดระยะเวลาการปฏิบตั งิ านอยา่ ง
โปร่งใส ชัดเจน
๒๑
ระบคุ วามเส่ียงดา้ นการดำเนินงาน ค่าประเมิน แนวทาง/กิจกรรมบริหารจัดการ
ท่อี าจก่อให้เกดิ การทุจรติ
ความเส่ียงรวม ความเสีย่ ง
- มกี ารรับฟังขอ้ คิดเห็นของผู้มสี ว่ นได้
สว่ นเสยี
- กำหนดมาตรการในการนำเรอื่ งเสนอ
ผบู้ งั คับบัญชาพจิ ารณา
๔. ความเสีย่ งการทจุ ริตทเ่ี กย่ี วข้องกับการ ๒ - กำหนดระเบยี บและวธิ กี ารในการขอ
พจิ ารณาอนุมตั ิ อนญุ าต กระบวนงานอนุญาตให้มี จัดตัง้ ชมรมฯ ใหม่
การจดั ตัง้ ชมรมผสู้ ูงอายใุ หม่ - วางแนวทางและขนั้ ตอนในการขอ
อนญุ าตให้เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั
๕. ความเสี่ยงการทุจริตทเี่ ก่ียวข้องกับการแจ้งเกดิ ๔ - ตรวจสอบเอกสารทนี่ ำมาเป็นหลกั ฐาน
อันเป็นเท็จโดยแอบอ้างบุคคลอ่นื เป็นบดิ า เชน่ หนังสือรบั รองการเกดิ บัตร
ประจำตวั ประชาชนของบดิ า มารดา
- ระบบการควบคุมท่มี ีอยสู่ ามารถพิสจู น์
ความสมั พนั ธ์การเป็นบิดาและบตุ ร ได้ผล
ร้อยละ ๑๐๐ ทำใหไ้ ดข้ ้อมูลที่ถกู ต้อง
สามารถลงชือ่ บดิ าในการแจ้งเกดิ บุตร
หรือแก้ไขชอ่ื บิดาในสูติบตั รได้ถกู ต้องตาม
ขอ้ เท็จจริง
๖. ความเสยี่ งการทุจรติ ทเี่ กี่ยวข้องกบั กระบวนงาน ๔ - แกไ้ ขแบบฟอรม์ การขอใช้รถยนต์
การขอใช้รถยนตส์ ่วนกลาง สว่ นกลางโดยเพิ่มมาตรการรับรองและขอ
คำยืนยนั ในการขอใช้งานรถยนต์
สว่ นกลางจากผขู้ อใช้
- ขอความเหน็ ชอบฝา่ ยบริหารในการ
ปรับปรุงแบบฟอร์มการขอใช้รถยนต์
ส่วนกลาง
- แจ้งเวียนทุกสว่ นราชการให้รับทราบ
ระเบยี บ ข้อกำหนดและถือปฏิบตั อิ ย่าง
เคร่งครัด
- เผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ระเบยี บการ
ขอใช้รถยนต์สว่ นกลาง เพื่อสรา้ งความ
ตระหนักในการขอใช้งานรถยนต์
ส่วนกลาง
�1t.lb1tl1°11\9lel'Ubb'\flt!flld'Ufi'U��1'\..ltlelf1b1m ½:J - f11'Vltl\i1.frtl\9lelt!'Ufi'U��1tl11½'1l�Wiltl
d1'1Jfl1d (OT) - 11�bbtll'\/l1�fl1d�\i19/l1belf1?l1d11Xtif1(9)el�
\9l1m�b'U t.l'Uflldb'Uf1�1t.1
- :w:lJ1mfl1dflldmT'il?lel'Ubelf1?11d
'Ud�f1el'Ufl1db'Uf1�1t.l
- ?i�bt1VJu1��ufiu��1miTfomd
el'UdlJ
�tJfiu��ltlb�el11½?t1:lJ1Jtl'Ufi'U��1tl1\91
el�1��n(,)m\9l1lJf1�'Vlm t.1
- �inJ'l.l1d�'U'Ufl1dml"il?lel'Ufl1d
\illb'Llm1tl'Vel�l"ltl�\i11d�LlddlJ11½:wrn1:w
' ,_,
b'U:W'Utlbbfl�'/l\il b "iltl:lJl f1 ��;tl
1- f11'/l'Ub41'VlU1ffi1½tJfiu��1tl11½dJu tJ
,_, '
\9l1lJ6Utl\9leltlbbfl�d�t.l�blm'Vlf11'Vltl\i1
นายชยั ธิศักด�ิ อาํ ลอย
นายกเทศมนตรตาํ บลทายาง