รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564
เทศบาลตาบลทา่ ยาง อาเภอท่งุ ใหญ่ จังหวดั นครศรธี รรมราช
งานวเิ คราะห์นโยบายและแผน
สานักปลัดเทศบาล
รายงานผลการติดตามและประเมนิ ผล
แผนพัฒนาท้องถ่นิ (พ.ศ. 2561 – 2565)
เทศบาลตาบลท่ายาง
..................................................
ส่วนท่ี 1 บทนา
ปจั จบุ นั การตดิ ตามและประเมนิ ผลนบั วา่ มีความสาคญั และจาเป็นตอ่ การบรหิ ารงานเป็น อย่างย่ิง
เน่ืองจากการติดตามและประเมินผลเป็นการประเมินผลงานการปฏิบัติงานของปีที่ผ่านมาว่ามีความสอดคล้องกับ
แผนงานทไี่ ดว้ างเอาไวห้ รือไม่ รวมทั้งการมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชนอย่างแท้จริง เทศบาลตาบลท่ายาง ในฐานะ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีภาระหน้าท่ีที่จะต้องให้การบริการแก่ประชาชนในชุมชน จึงจาเป็นที่จะต้องมีการ
จัดทาแผนติดตามและประเมินผล เพื่อวัดถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการดาเนินการในด้านต่างๆ เพื่อใช้
เปรยี บเทยี บการทางานของปที ่ีผ่านมา
ท้ังน้ี ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. ๒๕61 ได้กาหนดให้องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน ต้องจัดทา
แผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนการดาเนินงาน เพ่ือเป็นเครื่องมือในการใช้งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ และทรัพยากร
ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใส เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ท้องถิ่นและตอบสนองความ
ต้องการของประชาชน ถึงแม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะมีแผนพัฒนาท้องถ่ินที่ดีสักเพียงไรก็ตามแต่หากไม่
สามารถบง่ ชี้ถงึ ผลการดาเนินงานท่เี กดิ ขึน้ ได้ ก็ไมส่ ามารถท่ีจะบ่งบอกความสาเร็จของแผนพัฒนาท้องถิ่นได้ ดังนั้น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงต้องมีเคร่ืองมือที่สาคัญในการตรวจสอบการดาเนินงานว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์
หรือบรรลุเป้าหมายหรือไม่ อย่างไร ซึ่ง “ระบบติดตาม” และ ”ระบบประเมินผล” จะเป็นเครื่องมือในการนา
ข้อมูลต่างๆ มาปรับปรงุ แก้ไขเพ่ิมเติมหรอื แมแ้ ต่ยุติการดาเนินงาน
1. ความสาคญั ของการตดิ ตามและประเมนิ ผล
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา เป็นเคร่ืองมือที่จาเป็นในการปรับปรุงประสิทธิภาพของ
โครงการที่ดาเนินการอยู่ โดยที่การติดตาม หมายถึง กิจกรรมภายในโครงการซ่ึงถูกออกแบบมาเพ่ือให้ข้อมูล
ป้อนกลับเก่ียวกับการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ปัญหาท่ีกาลังเผชิญอยู่ ประสิทธิภาพของวิธีการดาเนินงาน ให้
ลุล่วง ค่าใช้จ่ายโครงการ/กิจกรรมสูงเกินกว่าท่ีกาหนดไว้ กลุ่มเป้าหมายหลักของโครงการ/กิจกรรมไม่ได้รับ
ประโยชน์หรือได้รับน้อยกว่าท่ีควรจะเป็น กลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับประโยชน์จากโครงการ/กิจกรรม การประเมินผล
คือ การตรวจสอบผลการดาเนินงานในระหว่างที่กาลังดาเนินการหรือภายหลังที่การดาเนินการสาเร็จเสร็จส้ินไป
แลว้ ซง่ึ การประเมินผลเป็นส่ิงจาเป็นเช่นเดียวกับการติดตามการประเมินผลแผนงานจะเป็นการบ่งช้ีว่าแผนงานท่ี
กาหนดไว้ได้มีการปฏิบัติหรือไม่ อย่างไร อันเป็นตัวช้ีวัดว่าแผนงานที่ได้ดาเนินการไปแล้วน้ันให้ผลเป็นอย่างไร
นาไปสู่ความสาเร็จตามแผนงานที่กาหนดไว้หรือไม่ ซึ่งผลท่ีได้จากการติดตามและประเมินผลถือว่าเป็นข้อมูล
ย้อนกลบั ท่ีสามารถนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และตดั สินใจในการจดั ทาแผนพัฒนาท้องถ่ินต่อไป
2. วตั ถุประสงค์ของการติดตามและประเมินผล
2.๑ เพ่ือให้การติดตามการประเมินผลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและ
สามารถตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนได้เปน็ อยา่ งดี
2.๒ เพ่ือให้การตดิ ตามและประเมนิ ผลบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายท่วี างไว้
๒
2.๓ เพ่อื รถู้ งึ ความตอ้ งการทแ่ี ทจ้ ริงของประชาชนในพื้นที่เทศบาลตาบลท่ายางและแก้ไขได้ตรงกับปัญหา
ท่เี กดิ ขึน้
2.๔ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ข้อแนะนาผู้บริหารในการจัดทาแผนพฒั นาท้องถ่ินต่อไป
3. ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล
ข้ันตอนท่ี ๑
แต่งตงั้ คณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจดั ทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ และทแี่ ก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๒๘ ดงั น้ี
ให้ผู้บริหารท้องถิน่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ ประกอบดว้ ย
๑) สมาชกิ สภาท้องถนิ่ ทส่ี ภาทอ้ งถน่ิ คดั เลอื ก จานวนสามคน
๒) ผู้แทนประชาคมทอ้ งถน่ิ ที่ประชาคมทอ้ งถ่ินคัดเลอื ก จานวนสองคน
๓) ผแู้ ทนหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องทีผ่ ู้บรหิ ารทอ้ งถนิ่ คดั เลอื ก จานวนสองคน
๔) หัวหนา้ ส่วนการบรหิ ารท่ีคดั เลอื กกันเอง จานวนสองคน
๕) ผทู้ รงคุณวุฒทิ ผี่ ู้บริหารท้องถนิ่ คดั เลอื ก จานวนสองคน
โดยใหค้ ณะกรรมการเลือกกรรมการหนึ่งคนทาหน้าท่ีประธานคณะกรรมการและกรรมการอีกหน่ึงคนทา
หนา้ ทีเ่ ลขานุการของคณะกรรมการ
ขั้นตอนท่ี ๒
(๑) กาหนดแนวทาง วิธกี ารในการติดตามและประเมินผลแผนพฒั นา
(๒) ดาเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
(3) รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถ่ินต่อผู้บริหาร
ท้องถิ่นเพื่อให้ผู้บริหารท้องถ่ินเสนอต่อสภาท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น พร้อมท้ังประกาศผลการ
ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถ่ินให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วัน
รายงานผลและเสนอความเหน็ ดงั กลา่ ว และต้องปิดประกาศไวเ้ ปน็ ระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวันโดยอย่างน้อยปี
ละหนึง่ ครงั้ ภายในเดอื นธันวาคมของทกุ ปี
ข้ันตอนท่ี 3
ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลตาบลท่ายาง ต่อสภาเทศบาล
ตาบลท่ายาง และคณะกรรมการพัฒนาเทศบาลตาบลท่ายาง พร้อมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผล
แผนพัฒนาเทศบาลตาบลท่ายาง ให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในท่ีเปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้บริหาร
ท้องถ่ินเสนอผลการติดตามและประเมินผลดังกล่าว และต้องปิดประกาศไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
โดยอยา่ งน้อยปลี ะหนง่ึ ครั้งภายในเดือนธันวาคมของทุกปี
3. เครื่องมอื การติดตามและประเมินผล
แบบท่ี ๑ แบบประเมนิ คณุ ภาพยุทธศาสตร์ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่
แบบที่ 2 แบบประเมินแผนพัฒนาท้องถิ่น
แบบท่ี 3 แบบติดตามผลการดาเนนิ งานขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
แบบท่ี 4 แบบประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
ข้อมลู ในระบบ e-plan (www.dla.go.th)
๓
4. ประโยชนข์ องการติดตามและประเมนิ ผล
ผู้บริหารเทศบาลตาบลท่ายางใช้การติดตามและประเมินผลเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานได้หลาย
แนวทาง ดังน้ี
4.๑ จัดสรรทรัพยากรของเทศบาลตาบลท่ายาง สามารถพิจารณาจากการติดตามและประเมินผลว่า
กจิ กรรมใดได้ใช้ทรพั ยากรเพียงพอทจ่ี ะปฏิบัตงิ านอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน
หรอื ไม่
4.๒ ตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงาน การประเมินผลจะแสดงใหเ้ ห็นถึงการปฏิบัติงานของ
ส่วนต่างๆ ว่าเป็นไปตามเป้าหมายตัวชวี้ ัดทผี่ บู้ ริหารกาหนดไว้หรอื ไม่
4.๓ เป็นหลักเกณฑ์พิจารณาความดีความชอบและประเมินผลการทางานของเจ้าหน้าท่ี ซึ่งเป็นผล
ตอ่ เน่อื งจากการตดิ ตามผลการปฏบิ ัติงาน ถ้าผู้บรหิ ารหนว่ ยงานสามารถบริหารงานให้ได้ตามเป้าหมายและตัวช้ีวัด
ทีก่ าหนดก็สมควรได้รบั การพจิ ารณาความดคี วามชอบพเิ ศษ
ส่วนที่ 2 การติดตามประเมนิ ผล
1. สรุปผลการตดิ ตามและประเมนิ ผล ปีงบประมาณ พ.ศ.2563
1.1 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาท้องถน่ิ
เทศบาลตาบลท่ายาง ได้บริหารราชการภายใต้วิสัยทัศน์ “ เทศบาลตาบลท่ายาง เป็นเมืองน่าอยู่
ชุมชนเข้มแขง็ มกี ารบรหิ ารจดั การท่ดี ี บนพ้ืนฐานการมีสว่ นร่วม ” และมีพนั ธกจิ ดังนี้
(๑) กอ่ สร้าง ปรบั ปรุงเสน้ ทางคมนาคมในเขตเทศบาลให้มีความสะดวก ปลอดภยั
(๒) จดั ใหม้ แี ละบารุงรกั ษาทางบกและทางน้า ขยายเขตไฟฟ้า ประปา ใหค้ รอบคลุมทัว่ ถงึ
ท้งั เขตเทศบาล
(๓) ผลักดันใหม้ ีการใช้ผงั เมืองเทศบาล และกฎหมายควบคุมอาคารอยา่ งเปน็ รูปธรรม
(๔) จดั ตั้งศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก และส่งเสริม สนับสนนุ เคร่ืองมือเคร่อื งใชใ้ นการเรยี นการสอน
ให้ทนั สมัยและพอเพยี ง
(๕) พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ความเปน็ อยู่ คุณธรรม จริยธรรม สขุ อนามยั สร้างชุมชนเข้มแขง็
และสง่ เสรมิ กระบวนการมีส่วนร่วม
(๖) รณรงคใ์ ห้ความรู้ และร่วมกับหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการป้องกนั แกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ
(๗) เสริมสร้างความม่ันคง การจดั ระเบียบชุมชน ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพย์สนิ
(๘) ส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี วและสนับสนนุ การเล่นกีฬา /หรืออปุ กรณก์ ารกฬี า
(๙) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ฟื้นฟู บารุงรกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณที างศาสนาและวัฒนธรรม
ทอ้ งถิ่น
(๑๐) เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของชุมชน โดยมงุ่ เนน้ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
พง่ึ ตนเอง
(๑๑) ส่งเสรมิ สนับสนุนการสรา้ งอาชพี โดยการลดรายจา่ ยเพ่มิ รายได้ ตามหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง
(๑๒) จัดใหม้ ีการจดั การสิง่ แวดล้อมและการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
๔
(๑๓) จัดใหม้ ีการจดั การคดั แยกขยะ การรีไซเคิล และการรับซื้อขยะจากประชาชน
(๑๔) รณรงค์ เผยแพร่ ใหค้ วามรู้แก่ประชาชนเกย่ี วกบั หลักการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ และปกปอ้ งสถาบันสาคัญของชาติ
(๑๕) จดั ใหม้ ีการประชาสมั พนั ธข์ ้อมลู ข่าวสาร
(๑๖) จัดให้มีการจัดเวทีประชาคมเพื่อการจดั ทาแผนพัฒนาท้องถน่ิ
(๑๗) จดั ให้มเี ครอื่ งมอื เครอ่ื งใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานที่มปี ระสทิ ธิภาพ
(๑๘) สง่ เสริมใหผ้ ้บู รหิ าร สมาชกิ สภาเทศบาล พนกั งานเทศบาล ลูกจา้ ง ได้มีการพฒั นา
ศกั ยภาพในการปฏบิ ัตงิ าน
โดยกาหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละแนวทางการพัฒนา ดงั น้ี
1. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน
1.1 พฒั นาเสน้ ทางคมนาคมภายในเขตเทศบาลให้ได้มาตรฐาน สะดวกปลอดภัยอย่าง
ท่ัวถงึ
1.2 พฒั นาสาธารณูปโภค สาธารณปู การทีม่ ีประสิทธิภาพใหท้ ่ัวถึงทุกพ้ืนที่
1.3 ผลักดันใหม้ กี ารใช้ผังเมอื งรวมเทศบาล และการใช้กฎหมายควบคุมอาคารเปน็ กรอบและ
แนวทางในการพัฒนาด้านกายภาพ
2. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาคนและเสริมสร้างความม่นั คงทางสงั คม
2.1 พฒั นาคุณภาพการศึกษาใหเ้ ด็กและเยาวชน
2.2 สนบั สนนุ การสงั คมสงเคราะห์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน รวมถึงผสู้ งู อายุ
ผ้ดู ้อยโอกาส ให้ครอบคลุมทั้งด้านกาย จิต ปัญญา พัฒนาสถานท่ีอยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ และส่งเสริม สนับสนุนการ
บริหาร จัดการแพทยแ์ ผนไทย
๒.๓ ป้องกัน และแกไ้ ขป้ ญั หายาเสพตดิ
๒.๔ ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนเพื่อเสรมิ สรา้ งความมัน่ คง ส่งเสรมิ ให้มกี ารจัด
ระเบยี บชมุ ชน สงั คมและการรักษาความสงบเรียบร้อย เพ่อื ความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส์ นิ
๒.๕ ส่งเสรมิ การท่องเทยี่ ว สนบั สนุนการกฬี า ลานกจิ กรรมและ/หรอื อปุ กรณ์
สาหรบั การออกกาลงั กาย
๒.๖ ส่งเสรมิ อนรุ ักษ์ ฟนื้ ฟูกิจกรรมดา้ นศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปญั ญา
ทอ้ งถนิ่ การดารงชีวติ ตามวิถไี ทย ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
๒.๗ สรา้ งความเข้มแขง็ ชุมชน สนับสนุนการดาเนนิ งานของแผนชมุ ชนร่วมกับทอ้ งถน่ิ
ส่งเสรมิ กจิ กรรมชมุ ชน และใหป้ ระชาชนมีบทบาทในการรว่ มพัฒนา
3. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาเศรษฐกจิ
3.1 ส่งเสรมิ พฒั นาอาชีพ กลุ่มอาชพี กลุ่มสหกรณ์ ลานค้าชมุ ชน กระต้นุ ใหเ้ กิดการ
กระจายรายได้ และเพ่ิมรายไดใ้ ห้แกป่ ระชาชน ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาสิ่งแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ
๔.๑ รณรงค์ เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ เพอื่ สรา้ งจิตสานึกเกีย่ วกับการบริโภคที่ยงั่ ยืน และ
ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การฟ้ืนฟู การอนุรักษ์เพ่ือลดมลพิษและควบคุม
กจิ กรรมทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม
๔.๒ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพของกลไกการจดั การขยะ การคดั แยกขยะ การรไี ซเคลิ และสนับสนุน
ให้มรี ะบบเก็บขนและกาจัดขยะแบบรวมศูนย์
๕
5. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการบริหารจัดการบ้านเมอื งทดี่ ี
๕.๑ รณรงคส์ ร้างกระบวนการเรยี นรู้ ปลูกฝงั จิตสานึก ค่านิยมตามหลักการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
๕.๒ บริการเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารต่างๆ เพื่อให้ความรูป้ ระชาชนในท้องถ่ิน
๕.๓ พัฒนาและส่งเสรมิ การจดั ทาแผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ การจัดทางบประมาณทส่ี นองตอบ
ความต้องการของชุมชนภายใต้กระบวนการมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น รวมทั้งสนับสนุนใหม้ กี ารตดิ ตามและประเมนิ ผล
๕.๔ พัฒนาการบรหิ ารจดั การองค์กรให้มีประสทิ ธภิ าพโปร่งใส และสนบั สนนุ การใช้
ทรัพยากรในการบริหารอยา่ งคุ้มคา่
๕.๕ พฒั นาศักยภาพขององคก์ ร บคุ ลากร อย่างสมา่ เสมอและการเตรียมความพรอ้ ม
เพอ่ื เข้าสู่ประชาคมอาเซยี น
1.2 ผลการดาเนนิ งานตามงบประมาณท่ไี ดร้ บั การเบิกจา่ ยงบประมาณ
จากการติดตามผลการดาเนินงานตามแผน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖๓ ประเมินผลการ
ดาเนนิ งานได้วา่ เทศบาลตาบลท่ายางไดด้ าเนนิ การพัฒนาเทศบาลตามแผนงานโครงการท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนา
ทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565) และตามงบประมาณที่ต้ังไว้ตามงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 256๓ แต่ไม่
ครบถ้วนท้ังหมดตามท่ีวางแผนและตั้งงบประมาณไว้ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 256๓ แต่
ทั้งนี้โครงการกิจกรรมต่างๆ ที่ได้ดาเนินโครงการไปแล้วได้ก่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา ท้ังด้านโครงสร้าง
พ้ืนฐาน ด้านคนและสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และด้านการบริหาร บัดน้ี คณะกรรมการ
ตดิ ตามและประเมินผลแผนพัฒนาได้ดาเนินการเสร็จเรยี บรอ้ ยแล้ว จงึ มีข้อเสนอแนะร่วมกนั ดงั นี้
การติดตามผลสัมฤทธิ์ในการใช้จ่ายงบประมาณ
1. โครงการตามแผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ.2561 – 2565) ทีบ่ รรจุในปี 256๓ จานวน 1๗4
โครงการ นามาดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๓ จานวน ๗๘ โครงการ คิดเปน็ ร้อยละ ๔๔.๘๒ %
2. โครงการตามแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น (พ.ศ.2561 – 2565) ที่นามาดาเนินการในปีงบประมาณ
พ.ศ. 256๓ จานวน 7๘ โครงการ สามารถดาเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน 256๓ จานวน ๕๕
โครงการ คิดเปน็ ร้อยละ ๗๐.๕๑ %
ขอ้ คิดเห็น/ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ
๑. ถนนสายทงุ่ ใหญ่ - หลกั ช้าง คณุ ภาพของงานไมเ่ รียบรอ้ ย ผวิ ถนนไม่เรียบ บางจุดเริ่มมรี อย
แตกร้าว
๒. เทศบาลควรแก้ปัญหาเร่ืองน้าทว่ มให้ตรงจุด โดยการสารวจครู ะบายน้าทั้งหมดในเขต
เทศบาลแล้วทาการขดุ ลอกสิง่ กดี ขวางทางนา้
๓. เทศบาลควรควบคุมการถมดินของประชาชนไมใ่ ห้ปิดขวางทางระบายน้า
๔. การบันทกึ ขอ้ มูลด้านการเบิกจ่ายในระบบ e – plan ยังไม่ครบถว้ น 100 % จึงควร
ดาเนนิ การใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในเดอื นธันวาคม พ.ศ.256๓
2. แนวทางการติดตามและประเมนิ ผล ปงี บประมาณ พ.ศ.2564
2.1 การตดิ ตามประเมนิ ผลยุทธศาสตร์
๖
การติดตามประเมินผลยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาท้องถ่ิน พ.ศ. 2561-2565 ใช้แนวทางการ
ประเมินผลตามหนังสือส่ังการของกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0810.3/ว 2931 ลงวันท่ี 15
พฤษภาคม 2562
2.2 การตดิ ตามประเมินผลโครงการ
การติดตามประเมินผลโครงการของแผนพัฒนาท้องถนิ่ พ.ศ. 2561-2565 ใชแ้ นวทางการ
ประเมินผลตามหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ท่ี มท 0810.3/ว 2931 ลงวันที่ 15
พฤษภาคม 2562
2.3 กรอบแนวทางในการตดิ ตามประเมินผล
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2561 กาหนดให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งต้ังคณะกรรมการติดตาม
และประเมินผลแผนพัฒนาท้องถ่ิน ซึ่งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลตาบลท่ายาง
ประกอบด้วย
(๑) นายเชื้อชาย มงคลหล้า ผทู้ รงคณุ วุฒิ (ดา้ นการศึกษา) ประธานกรรมการ
(๒) นางสาวฐิติมา วอ่ งศรี สมาชกิ สภาเทศบาลตาบลทา่ ยาง กรรมการ
(๓) นายพงพนั ธ์ แซ่อยุ้ สมาชกิ สภาเทศบาลตาบลทา่ ยาง กรรมการ
(๔) นายนนั ทรัตน ช่วยคมุ้ สมาชกิ สภาเทศบาลตาบลท่ายาง กรรมการ
(๕) นางจงจติ หมรี กั ษา ผ้แู ทนประชาคมท้องถิ่น กรรมการ
(ผู้แทนชุมชนโคกว่าน)
(๖) นายทนงชัย เพชรชว่ ย ผ้แู ทนประชาคมท้องถนิ่ กรรมการ
(ผแู้ ทนชมุ ชนวัดควนสระบัว)
(๗) นายประภาส ปาตปิ าเลท ผแู้ ทนภาคราชการ กรรมการ
(เกษตรอาเภอทุ่งใหญ่)
(๘) นางกม้ิ ตนั้ ศรชี าย ผแู้ ทนภาคราชการ กรรมการ
(พฒั นากรอาเภอทุ่งใหญ่)
(๙) นายวรี ศกั ดิ์ ตรีโชติ ผทู้ รงคุณวุฒิ (ด้านศาสนาและวฒั นธรรม) กรรมการ
(๑๐) นายจกั ราวธุ แคลว้ อาวุธ ผอู้ านวยการกองสาธารณสขุ กรรมการ
(๑๑) นางสาวปวีณา พัฒนะจารูญ ผอู้ านวยการกองคลัง กรรมการ/เลขาฯ
ใหค้ ณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน มีอานาจหนา้ ท่ีตามระเบียบข้างตน้
ข้อ ๒๙ ดงั น้ี
(๑) กาหนดแนวทาง วธิ กี ารในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
(๒) ดาเนนิ การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
(๓) รายงานผลและเสนอความคิดเห็นซงึ่ ไดจ้ ากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาต่อผูบ้ รหิ าร
ท้องถ่ินเพ่ือให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถ่ิน คณะกรรมการพัฒนาท้องถ่ิน และประกาศผลการติดตามและ
ประเมินผลแผนพฒั นาให้ประชาชนในทอ้ งถนิ่ ทราบโดยท่ัวกันอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครงั้ ภายในเดือนธนั วาคมของทุกปี ท้ังน้ี
ใหป้ ดิ ประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวนั
(๔) แตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพอ่ื ชว่ ยปฏบิ ตั งิ านตามท่ีเห็นสมควร
๗
คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพฒั นาเทศบาลตาบลทา่ ยางได้ประชุมเพื่อกาหนดแนว
ทางการตดิ ตามและประเมินผลในคราวประชมุ วันท่ี ๑๖ ตุลาคม 2563 ดงั น้ี
1. ให้จดั เตรยี มเอกสารในการติดตามประเมินผลแผนโดยทาเปน็ สรุปแตล่ ะโครงการพร้อม
ภาพถา่ ยการดาเนนิ โครงการทั้งกอ่ นและหลงั การดาเนินโครงการโดยแยกเป็นยทุ ธศาสตร์
2. ใหห้ วั หน้าส่วนราชการแตล่ ะกอง/ฝา่ ย เข้าร่วมประชมุ เพอ่ื ชีแ้ จงรายละเอียดโครงการในสว่ น
ที่เก่ียวขอ้ งหากมขี ้อซกั ถามจากกรรมการ
2.4 แบบสาหรับการติดตามและประเมนิ ผล
แบบตัวบ่งช้ีการปฏิบัติงาน
กาหนดตัวบง่ ชี้การปฏิบตั ิงาน คะแนนเต็ม 300 คะแนน ดงั น้ี
(๑) แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561 - 2565
ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๑ : ขน้ั ตอนการกาหนดยุทธศาสตร์ ( 25 คะแนน)
ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๒ : คุณภาพยุทธศาสตร์ (100 คะแนน)
ตวั บ่งชี้ที่ ๓ : ข้นั ตอนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถนิ่ (2๕ คะแนน)
ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๔ : คณุ ภาพแผนพัฒนาท้องถิน่ (100 คะแนน)
(2) การนาแผนไปปฏิบัติ
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๕ : การดาเนินโครงการ (2๕ คะแนน)
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๖ : ผลกระทบหรือความเสียหายจากการดาเนินโครงการ (2๕ คะแนน)
๔.๒ กาหนดเกณฑ์การประเมินตวั บ่งชี้ คะแนนเตม็ ๓๐0 คะแนน ดังน้ี
คะแนน 250 - ๓๐0 คะแนน = ดีมาก
คะแนน 200 - ๒๕0 ขึน้ ไป = พอใช้
ตา่ กว่า ๒๐0 = ตอ้ งปรบั ปรุง
ตวั บ่งชที้ ่ี ๑ : ขน้ั ตอนการกาหนดยุทธศาสตร์
เกณฑต์ วั ชี้วดั : มกี ารดาเนินการครบทกุ ขนั้ ตอน คะแนนเตม็ 2๕ คะแนน
มีการดาเนนิ การครบทุกข้นั ตอน (๑๐ ขัน้ ตอน) ได้ 2๕ คะแนน
มีการดาเนนิ การ ๘ – ๙ ขน้ั ตอน ได้ 23 คะแนน
มกี ารดาเนนิ การ ๖ – ๗ ขั้นตอน ได้ 20 คะแนน
มีการดาเนินการไม่ถึง ๖ ขนั้ ตอน ไมไ่ ด้คะแนน
ผลการตดิ ตามและประเมิน คะแนนเตม็ 25
ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๑ : ขัน้ ตอนการกาหนดยุทธศาสตร์ คะแนนทไี่ ด้ .
ลาดบั ท่ี การดาเนนิ การ มกี ารดาเนินการ
(ใส่เคร่ืองหมาย )
๑ คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล จัดประชุมประชาคมท้องถ่ิน ส่วน
๘
ราชการและรัฐวิสาหกิจท่ีเก่ียวข้อง เพื่อแจ้งแนวทางการพัฒนา
ท้องถิ่น รับทราบปัญหา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนา และ
ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องตลอดจนความช่วยเหลือทางวิชาการ และ
แนวทางปฏิบัติท่ีเหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ เพื่อนามากาหนดแนว
ทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยให้นาข้อมูลพื้นฐานใน
การพัฒนามาจากหน่วยงานต่างๆ และขอ้ มลู ในแผนชุมชนมาพิจารณา
ประกอบการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา
2 คณะกรรมการมีการรวบรวมปัญหา ความต้องการ มาวิเคราะห์ในการ
กาหนดยุทธศาสตร์
3 คณะกรรมการมีการกาหนดแนวทางการพฒั นา
๔ คณะกรรมการไดน้ าข้อมูลพน้ื ฐานในการพัฒนามาจากหน่วยงานต่างๆ
และข้อมูลในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการกาหนดยุทธศาสตร์
การพัฒนา
๕ มกี ารกาหนดวสิ ยั ทัศนท์ ี่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา
๖ มีการเสนอโครงการจากทป่ี ระชาคมท้องถ่ิน
๗ มีการพิจารณาโครงการที่เกินศักยภาพของแผนชุมชนมากาหนด
เปา้ หมายในการพัฒนา
๘ มกี ารกาหนดความเชือ่ มโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม
๙ มีการประชุมคณะกรรมการสนับสนุนในการกาหนดยุทธศาสตร์
๑๐ มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนาในการกาหนดยุทธศาสตร์
มีการดาเนนิ การครบ ๑๐ ขน้ั ตอน
ตัวบง่ ชที้ ่ี ๒ : คณุ ภาพยทุ ธศาสตร์
เกณฑต์ วั ชี้วัด : มกี ารดาเนนิ การตามประเดน็ การพิจารณาการจัดทาแผน คะแนนเตม็ 100 คะแนน
ผลการตดิ ตามและประเมนิ คะแนนเต็ม 100
คะแนนที่ได้ .
ตัวบ่งชี้ที่ ๒ : คณุ ภาพยทุ ธศาตร์
คะแนนทไ่ี ด้
แผนพฒั นา การติดตามและประเมิน คะแนนประเมนิ
แผนพฒั นาท้องถิน่ การประเมินคุณภาพ ๑๐๐ คะแนน
(พ.ศ. ๒๕61 – ๒๕๖5 ของยุทธศาสตร์
๙
1. แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมนิ ผลยุทธศาสตร์เพือ่ ความสอดคล้องแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น
ประกอบดว้ ย
ประเด็นการพิจารณา คะแนน
1.ข้อมูลสภาพท่วั ไปและข้อมลู พื้นฐานขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ 20
2.การวิเคราะห์สภาวการณ์และศกั ยภาพ 20
3.ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 60
3.1ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ (10)
3.2 ยทุ ธศาสตรข์ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในเขตจงั หวัด (10)
3.3 ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวัด (10)
3.4 วสิ ัยทัศน์ (5)
3.5 กลยุทธ์ (5)
3.6 เปา้ ประสงคข์ องแต่ละประเด็นกลยทุ ธ์ (5)
3.7 จุดยนื ทางยทุ ธศาสตร์ (5)
3.8 แผนงาน (5)
3.9 ความเชื่อมโยงของยทุ ธศาสตรใ์ นภาพรวม (5)
100
รวมคะแนน
คะแนนรวม 100 คะแนน เกณฑท์ ี่ควรไดเ้ พอื่ ใหเ้ กอดความสอดคลอ้ งและขบั เคลอ่ื นการพัฒนาทอ้ งถน่ิ ขององคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน ไมค่ วรน้อยกว่าร้อยละ 80 (80 คะแนน)
ประเด็นการพจิ ารณา รายละเอียดหลกั เกณฑ์ คะแนนเตม็ คะแนนทีไ่ ด้
1. ข้อมูลสภาพท่วั ไปและขอ้ มลู พ้ืนฐาน ควรประกอบด้วยขอ้ มลู ดังน้ี 20
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (1) ข้อมูลเกี่ยวกับด้านกายภาพเช่นที่ตั้งของ (3)
ห มู่ บ้ า น / ชุ ม ช น / ต า บ ล ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ
ลักษณะภูมิอากาศลักษณะของดิน ลักษณะของ (2)
แหล่งน้าลักษณะของไม้/ป่าไม้ ฯลฯ ด้าน
การเมือง/การปกคลอง เช่น เขตการปกคลอง (2)
การเลอื กตัง้ ฯลฯ (2)
(2) ข้อมูลเกี่ยวกับด้านการเมือง/การปกครอง (2)
เช่น เขตการปกครองการเลือกต้ัง ฯลฯ ประชากร
เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับจ้านวนประชากร และ ช่วง
อายุและจ้านวนประชากร ฯลฯ
(3) ข้อ มูลเก่ียว กับ สภ าพ ท า งสังคม เช่น
การศึกษาสาธารณสุข อาชญากรรม ยาเสพติด
การสงั คมสงเคราะห์ ฯลฯ
(4) ขอ้ มูลเกย่ี วกับระบบบริการพ้ืนฐาน เช่น การ
คมนาคมขนส่ง การ ไฟฟ้า การประปา โทรศัพท์
ฯลฯ
(5) ขอ้ มูลเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ เช่นการเกษตร
การประมง การปศุสัตว์ การบริการ การ
ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม การพาณิชย์/กลุ่มอาชีพ
แรงงาน ฯลฯ และเศรษฐกิจพอเพียงท้องถ่ิน
๑๐
(ดา้ นการเกษตรและแหล่งนา้ )
2. การวิเคราะห์สภาวการณ์และศกั ยภาพ (6) ข้อมูลเก่ียวกับศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม (2)
เชน่ การนบั ถอื ศาสนา ประเพณแี ละงานประจาปี (2)
3. ยทุ ธศาสตร์ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภาษาถ่ิน สินค้าพ้ืนเมือง และ (2)
3.1 ยทุ ธศาสตร์ขององค์กรปกครองสว่ น ของท่รี ะลึก ฯลฯ และอื่นๆ (3)
(7) ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้า 20
ป่าไม้ ภูเขา คุณภาพของทรัพยากรธรรมราช (5)
ฯลฯ
(3)
(8) การสารวจและจัดเก็บข้อมูลเพื่อการจัดทา (3)
แผนพัฒนาทอ้ งถิ่นหรือ การใช้ข้อมูล จปฐ. (3)
(3)
(9) การประชุมประชาคมท้องถิ่น รูปแบบ วิธีการ (3)
และการดาเนินการ ประชุมประชาคมท้องถ่ิน
โดยใช้กระบวนการร่วมคิดร่วมทา ร่วม ตัดสินใจ 60
ร่วมตรวจสอบ ร่วมรับประโยชน์ร่วมแก้ปัญหา
ปรึกษาหารือแลกเปล่ียนเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา
ปรกึ ษาหารือแลกเปล่ียนเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหาสา
หลับการพัฒนาท้องถ่ินตามอานาจหน้าท่ีของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ควรประกอบด้วยขอ้ มูลดงั น้ี
(1) การวเิ คราะห์ท่คี รอบคลมุ ความเช่ือโยง ความ
สอดคล้องยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์การ
พัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต
จังหวัด ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นนโยบายของผบู้ รหิ ารทอ้ งถ่ิน รวมถึงความ
เช่ือโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ และ Thailand 4.0
(2) การวิเคราะห์การใช้ผังเมืองรวมหรือผังเมือง
เฉพาะ และการบังคับใช้ ผลของการบังคับใช้
สภาพการณท์ ีเ่ กดิ ขน้ึ ตอ่ การพฒั นาท้องถ่นิ
(3) การวิเคราะห์สังคม เช่น ด้านแรงงาน
การศึกษาสาธารณสุขความยากจน อาชญากรรม
ปัญหายาเสพติด เทคโนโลยี จารีตประเพณี
วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินเปน็ ตน้
(4) การวเิ คราะห์ทางเศรษฐกิจ ข้อมูลด้านรายได้
ครัวเรือน การสง่ เสริมอาชีพ กลุ่มอาชีพ กลุ่มทาง
สังคม การพัฒนาอาชีพและกลุ่มต่าง สภาพทาง
เศรษฐกิจและความเปน็ อยทู่ ัว่ ไป เป็นต้น
(5) การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม พื้นที่สีเขียว
ธรรมชาติ ตา่ งๆ ทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการหรือ
ส่ิงท่ีเกิดขึ้น การประดิษฐ์ที่มีผลต่อส่ิงแวดล้อม
และการพฒั นา
(6) การวิเคราะห์ศกั ยภาพเพื่อประเมนิ สถานภาพ
การพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาใน
อนาคตของทอ้ งถน่ิ ด้วยเทคนิค SWOT Analysis
ที่อาจส่งผลต่อการนาเนินงานได้แก่ S-Strength
(จุดแข็ง) Weakness (จุดอ่อน) O-Opportunity
(โอกาส) และ T-Threat(อุปสรรค)
ควรประกอบด้วยข้อมูลดังน้ี
สอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม
๑๑
ทอ้ งถ่นิ ของท้องถิ่น ประเด็นปัญหาการพัฒนาและแนว (10)
3.2 ยทุ ธศาสตรข์ ององค์กร ทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ (10)
ปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตจงั หวัด องค์ กรปกครองส่วนท้องถ่ินและเช่ือมโยงหลัก (10)
3.3 ยุทธศาสตรจ์ งั หวดั ประชารัฐแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 แผนพัฒนา
3.4 วสิ ัยทัศน์ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ Thailand 4.0 (5)
3.5 กลยุทธ์ สอดคล้องและเชอ่ื มโยงกับสภาพสงั คมเศรษฐกิจ (5)
3.6 เปา้ ประสงคข์ องแตล่ ะประเดน็ กลยทุ ธ์ สง่ิ แวดล้อมของทอ้ งถิ่น และยทุ ธศาสตร์จังหวัด (5)
3.7 จุดยนื ทางยทุ ธศาสตร์ และเช่ือมโยงหลกั ประชารัฐแผนยุทธศาสตร์ชาติ (5)
3.8 แผนงาน 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (5)
และ Thailand 4.0
3.9 ความเช่อื มโยงของยุทธศาสตรใ์ น (5)
ภาพรวม สอดคล้องกบั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม
แหง่ ชาติ แผนการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ 100
รวมคะแนน นโยบาย/ยุทธศาสตร์ คสช. และนโยบายรฐั บาล
หลักประชารัฐ แผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และ
Thailand 4.0
วิสัยทศั น์ ซึง่ มลี ักษณะแสดงสถานภาพทอี่ งคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ตอ้ งการจะเป็นหรอื บรรลุถึง
อนาคตอย่างชัดเจน สอดคล้องกับโอกาสและ
ศักยภาพทเ่ี ปน็ ลกั ษณะเฉพาะขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิน่ และสัมพนั ธ์กบั โครงการพฒั นา
ท้องถิน่
แสดงใหเ้ หน็ ชอ่ งทาง วิธีการ ภารกจิ หรือสิ่งที่ต้อง
ทาตามอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นจะนาไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ หรือแสดง
ให้เห็นถึงความชัดเจนในสิ่งที่จะดาเนินการให้
บรรลวุ ิสัยทศั น์นน้ั
เป้าประสงค์ของแต่ละประเด็นกลยุทธ์มีความ
สอดคล้อง และสนับสนุนต่อกลยุทธ์จะเกิดข้ึน มุ่ง
หมายส่ิงหนึ่งสง่ิ ใดท่ีชัดเจน
คว า ม มุ่ ง ม่ั น อั น แ น่ ว แ น่ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น พั ฒ น า
ท้องถิน่ เพอ่ื ให้บรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นซ่ึงเกิดจากศักยภาพของพ้ืนท่ีจริง ท่ี
จะนาไปสู่ผลสาเรจ็ ทางยทุ ธศาสตร์
แผนงานหรอื จุดมุ่งหมายเพ่อื การพัฒนาในอนาคต
ก า ห ม ด จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ใ น เ ร่ื อ ง ไ ด เ รื่ อ ง ห นึ่ ง ห รื อ
แผนงานที่เกิดจากเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดค่า
เป้าหมาย กลยุทธ์ จุดยืนทางยุทธศาสตร์และ
ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มี
ความชัดเจน นาไปสู่การจัดทาโครงการพัฒนา
ท้องถิ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่นส่ีปี โดยระบุ
แผนงานและความเชื่อมโยงดงั กลา่ ว
ความเช่ือมโยงองค์รวมท่ีนาไปสู่การพัฒนา
ท้อ งถิ่ นท่ีเก อ ดผลผลิต/ โ รงก ารจ า ก แ ผน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 แผนพัฒนาภาค/
แ ผ น พั ฒ น า ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด / แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นในเขตจังหวัดและยุทธศาสตร์ขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
๑๒
ตัวบ่งช้ีที่ ๓ : ขนั้ ตอนการจัดทาแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ
เกณฑ์ตวั ช้ีวดั : มีการดาเนินการครบทกุ ขนั้ ตอน คะแนนเต็ม 2๕ คะแนน
มกี ารดาเนนิ การครบทุกขัน้ ตอน (๑๐ ขน้ั ตอน) ได้ 2๕ คะแนน
มีการดาเนินการ ๘ – ๙ ขัน้ ตอน ได้ 23 คะแนน
มกี ารดาเนนิ การ ๖ – ๗ ขน้ั ตอน ได้ 20 คะแนน
มีการดาเนนิ การไม่ถงึ ๖ ขน้ั ตอน ไมไ่ ด้คะแนน
ผลการติดตามและประเมนิ คะแนนเตม็ 2๕
ตวั บ่งชี้ท่ี ๓ : ขัน้ ตอนการจดั ทาแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น คะแนนทีไ่ ด้ .
ลาดับที่ การดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ
(ใสเ่ คร่ืองหมาย )
๑ กาหนดสัดสว่ นในการจัดประชมุ ประชาคมตามหนงั สอื ตามหนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท ๐๘๑๐.๒/ว ๐๖๐๐ ลงวนั ที่ ๒๙
มกราคม ๒๕๕๙ เรอื่ ง แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทาและประสาน
แผนพัฒนาท้องถ่นิ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่
2 มีการประชาสมั พนั ธ์ แจง้ ใหผ้ ู้เข้ารว่ มประชุมประชาคมทราบอย่างทัว่ ถึง
๓ มกี ารมอบหมายเจา้ หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบแต่ละชุมชนอย่างชดั เจน
๔ มกี ารเสนอโครงการจากทป่ี ระชาคมท้องถนิ่
๕ มกี ารสรุปปัญหา ความตอ้ งการ จากเวทปี ระชาคม
๖ มีการพิจารณาแผนชุมชนที่เกินศักยภาพมาบรรจุในแผนพัฒนา
๗ มกี ารจัดลาดับความสาคัญของโครงการ
๘ มกี ารดาเนนิ การประชมุ คณะกรรมการสนบั สนนุ ในการจัดทารา่ งแผนพฒั นา
๙ มกี ารประชุมคณะกรรมการพัฒนาพิจารณาร่างแผนพัฒนา
๑๐ ผูบ้ ริหารประกาศใช้แผนพัฒนาไดท้ นั ภายในวันท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ. ๒๕62
มกี ารดาเนินการครบ ๑๐ ขน้ั ตอน
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๔ : คณุ ภาพแผนพัฒนาท้องถิ่น
เกณฑต์ ัวช้ีวัด : มกี ารดาเนินการตามประเดน็ การพจิ ารณาการจดั ทาแผน คะแนนเตม็ 100 คะแนน
ผลการตดิ ตามและประเมิน คะแนนเต็ม ๕
คะแนนทไ่ี ด้ .
ตัวบ่งชีท้ ี่ ๔ : คุณภาพแผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน
คะแนนที่ได้
แผนพฒั นา การตดิ ตามและประเมนิ คะแนนประเมนิ
แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ 100 คะแนน
(พ.ศ. ๒๕๖1 – ๒๕๖5) สาหรับแผนพัฒนาเพ่อื ความสอดคล้อง
๑๓
ของยุทธศาสตร์และโครงการ
1. แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมนิ ผลโครงการเพ่อื ความสอดคลอ้ งแผนพัฒนาท้องถน่ิ
ประกอบด้วย
ประเด็นการพจิ ารณา คะแนน
1.การสรปุ สถานการณก์ ารพฒั นา 10
2.การประเมนิ ผลการนาแผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ สป่ี ไี ปปฏบิ ตั ใิ นเชิงปริมาณ 10
3.การประเมินผลการนาแผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ ส่ีปไี ปปฏิบตั ใิ นเชิงคณุ ภาพ 10 10
4.แผนงานและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา 10 10
5.โครงการพฒั นา ประกอบดว้ ย 60
5.1ความชดั เจนของช่ือโครงการ (5)
5.2กาหนดวัตถุประสงคส์ อดคล้องกบั โครงการ (5)
5.3เปา้ หมาย (ผลผลิตของโครงการ) มคี วามชัดเจนนาไปสู่การตั้งงบประมาณได้ถูกต้อง (5)
5.4โครงการมีความสอดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (5)
5.5เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ (5)
สงั คมแห่งชาติ
5.6โครงการมคี วามสอดคลอ้ งกับ Thailand 4.0 (5)
5.7โครงการสอดคล้องกับยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั (5)
5.8โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนหรือการเสริมสร้างให้ประเทศชาติม่ันคง มั่งมี (5)
ยง่ั ยืน
5.9งบประมาณ มคี วามสอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย (ผลผลิตของโครงการ) (5)
5.10มกี ารประมาณการราคาถูกตอ้ งตามหลักวิธกี ารงบประมาณ (5)
5.11มีการกาหนดตัวชี้วัด (KPI) และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าจะ (5)
ได้รบั
5.12ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ (5)
100
รวมคะแนน
คะแนนรวม 100 คะแนน เกณฑ์ที่ควรได้เพอื่ ให้เกดิ ความสอดคล้องและขับเลอื่ งการพฒั นาทอ้ งถิ่นขององค์กร
ปกคลองสว่ นทอ้ งถ่นิ ไมค่ วรนอ้ ยกว่าร้อยละ 80 (80 คะแนน)
ประเด็นการพจิ ารณา รายละเอยี ดหลักเกณฑ์ คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้
1.การสรปุ สถานการณ์การพัฒนา เ ป็ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ก ร อ บ ก า ร จั ด ท า 10
ยทุ ธศาสตรข์ ององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10
2.การประเมินผลการนาแผนพัฒนาท้องถ่ิน (ใช้การวิเคราะSWOT Analysis/Demand
ไปปฏิบัตใิ นเชิงปริมาณ (DemandAnalysis)/Global Demand
และ Trend ปัจจัยและสถานการณ์การ
เปลย่ี นแปลงท่มี ผี ลต่อการพัฒนา อยา่ งน้อย
ต้องประกอบด้วยการเคราะห์ศักยภาพด้วน
เศรษฐกิจม, ด้านสังคม, ด้านทรัพยากธรรม
ชาติและสิ่งแวดล้อม)
1)การควบคุมที่มีการใช้ตัวเลขต่างๆ เพ่ือ
นามาใช้วัดผลในเชิงปริมาณเช่น การวัด
จานวนโครงการ กิจกรรม งานต่างๆ ก็คือ
ผลผลิตน่ันเองว่าเป็นไปตามท่ีต้ังเป้าหมาย
๑๔
เอาไว้หรือไม่จานวนท่ีดาเนินการจริงตามท่ี
ได้กาหมดไว้เท่าไหร่ จานวนที่ไม่สามารถ
ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ มี จ า น ว น เ ท่ า ไ ห ร่ ส า ม า ร ถ
อ ธิ บ า ย ไ ด้ ต า ม ห ลั ก ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
(Efficiency) ของการพัฒนาท้องถิ่นตาม
อานาจหน้าท่ีที่ได้กาหนดไว้
2) วิเคาระห์ผลกระทบ/สิ่งท่ีกระทบ
(lmpact) โครงการท่ีดาเนินการในเชิง
ปรมิ าณ (Quantitative)
3.การประเมินผลการนาแผนพัฒนาท้องถ่ิน 1) การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนา 10
ไปปฏิบัติในเชงิ คุณภาพ 10 ใรเชงิ คณุ ภาพคอื การนาเอาเทคนคิ ตา่ งๆ มา
ใชเ้ พอ่ื วัดว่าภารกิจ โครงการ กิจกรรม งาน 10
ต่างๆ ทดี่ าเนนิ การในพ้ินที่น้ัน ตรงต่อความ
ต้องการของประชาชนหรือไม่ และเป็นไป 60
ตามอานาจหน้าที่หรือไม่ ประชาชนพึง (5)
พอใจหรือไม่ ส่ิงของ วัสดุครุภัณฑ์ การ
ดาเนินการต่างๆ มีสภาพหรือลักษณะ
ถูกต้อง คงทน ถาวรสามารถใช้การได้ตาม
วัตถุประสงค์หรือไม่ ซึ่งเป็นไปตามหลัก
ประสทิ ธิผล (Effectiveness) ผลการปฏิบัติ
ราชการทบี่ รรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ข อ ง แ ผ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ต า ม ที่ ไ ด้ รั บ
งบประมาณมาดาเนินการ รวมถึงสามารถ
เทียบเคยี งกับส่วนราชการหรือหน่วย
2) วิเคาระห์ผลกระทบ/สิ่งท่ีกระทบ
(lmpact) โครงการท่ีดาเนินการในเชิง
คณุ ภาพ (Qualitative)
4.แผนงานและยุทธศาสตร์พฒั นา 1) วเิ คราะห์แผนงาน งาน ที่เกิดจากดา้ น
ตา่ งๆ มีความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตรข์ อง
องค์ปกครองส่วนท้องถิน่ ในมติ ติ ่างๆ จน
นาไปสู่การจดั ทาโครงการพฒั นาทอ้ งถนิ่
โดยใช้ SMOT
Analysis/Demand(Demand
Analysis)/Global Demand/Trend หรือ
หลกั การบูรณาการ (lntegration) กบั
องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ ีพน้ื ที่
ตดิ ตอ่ กัน
2)วิเคราะะห์แผนงาน งาน ท่ีเกิดจากด้าน
ตา่ งๆ ทส่ี อดคล้องกับการแกไ้ ขปัญหาความ
ยากจน หลักประชารัฐ
5.โครงการพัฒนาประกอบด้วย ควรประกอบด้วยขอ้ มลู ดงั น้ี
5.1 ความชดั เจนของชื่อโครงการ เปน็ โครงการที่มีวัตถุประสงค์สนองต่อแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครอง
ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ ด า เ นิ น ก า ร เ พ่ื อ ใ ห้ ก า ร
พั ฒ น า บ ร ร ลุ ต า ม วิ สั ย ทั ศ น์ ข อ ง อ ง ค์ ก ร
ปกครองส่วนท้องถ่ินที่กาหนดไว้ ชื่อ
โครงการมีความชัดเจน มุ่งไปเรื่องใดเรื่อง
หนึ่ง อ่านแล้วเข้าใจได้ว่าจะพัฒนาอะไรใน
อนาคต
๑๕
5.2 กาหนดวัตถปุ ระสงคส์ อดคลอ้ งกบั โครง มีวัตถุประสงค์ชัดเจน (clear objective) (5)
โ ค ร ง ก า ร ต้ อ ง ก า ห น ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ (5)
สอดคล้องกับความเป็นมาของโครงการ
สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล วิธี (5)
ดาเนินงานต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (5)
มีความเป็นไปได้ชัดเจน มีลักษณะเฉพาะ
เจาะจง
5.3 เปา้ หมาย (ผลผลติ ของโครงการ) มีความ ส ภ า พ ท่ี อ ย า ก ใ ห้ เ กิ ด ข้ึ น ใ น อ น า ค ต เ ป็ น
ชดั เจนนาไปสู่การตั้งงบประมาณไดถ้ กู ต้อง ทิศทางที่ต้องไปให้ถึงเป้าหมายต้องชัดเจน
สามารถระบจุ านวนเท่าไรกลุ่มเป้าหมายคือ
อะไร มผี ลผลติ อยา่ งไร กลุ่มเป้าหมายพ้ืนที่
ดาเนินงาน และระยะเวลาดาเนินงาน
อธิบายให้ชัดเจนว่าโครงกาน้ีจะทาท่ีไหน
เริ่มต้นในช่วงเวลาใด และจบลงเมื่อไร ใคร
คือกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ห าก
กลมุ่ เป้าหมายมีหลายกลุ่ม ให้บอกชัดลงไป
ว่าใครคือกลุ่มเป้าหมายหลัก ใครคือ
กลุม่ เป้าหมายรอง
5.4 โครงการมีความสอดคล้องกับแผน โครงการสอดคล้องกับ (1) ความม่ังคง (2)
ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (3)
การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน (4)
การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่า
เทยี มกันทางสังคม (5) การสร้างการเติมโต
บนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(6) การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ
บรหิ ารจัดการภาครฐั เพื่อให้เกดิ ความมง่ั คง
ม่งั ค่ัง ยัง่ ยนื
5.5 เปา้ หมาย (ผลผลติ ของโครงการ) มีความ โครงการมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนา
สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
แห่งชาติ โดย ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ เพียง (2)
ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา (3)ยึด
วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(4) ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทย
2579 (5) ยึดหลักการนาไปสู่การปฏิบัติ
ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิอย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อ
ยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นเป้าหมายระยะ
ยาว ภายใตแ้ นวทางการพัฒนา
(1) การยกระดับศักยภาพการแข่งขันและ
การหลดุ พน้ กบั ดักรายได้ปานกลางสู่รายได้
สงู
(2)การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัยและ
การปฏิรูประบบเพ่ือสร้างสังคมสูงวัยอย่าง
มีคณุ ภาพ
(3)การรองรับการเชื่อมโยงภูมิภาคและ
ความเปน็ เมอื ง
(5)ก า รสร้า งคว ามเจริญเติมโ ตทา ง
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม อ ย่ า ง เ ป็ น มิ ต ร กั บ
สงิ่ แวดลอ้ ม
( 6 ) ก า ร บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร แ ผ่ น ดิ น ท่ี มี
ประสิทธภิ าพ
๑๖
5.6 โครงการมีความสอดคล้องกับ Thailand โครงการมีลักษณะหรือสอดคล้องกับการ (5)
4.0 ป รั บ เ ป ล่ี ย น โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ไ ป สู่
Value-Based Economy หรือเศรษฐกิจที่ (5)
5.7 โครงการสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ ขับเคล่ือนด้วยวัตกรรม ทาน้อย ได้มาก (5)
เช่น (1)เปล่ียนจากการผลิตสินค้า โภค (5)
ภัณฑ์ไปสู่สินค้า เชิงวัตกรรม (2) เปล่ียน (5)
จ า ก ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ป ร ะ เ ท ศ ด้ ว ย
ภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคล่ือนด้วย
เทคโ นโ ลยีคว า มคิดสร้า งสรรค์แ ละ
นวตั กรรม
(3) เปล่ียนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า
ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น รวมถึง
โครงการที่เติมเต็มด้วยวิทยาการ ความคิด
สร้ า ง ส ร ร ค์ น วั ต ก ร ร ม วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนาแล้วต่อ
ยอดความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ เช่น
ด้านเกษตรเทคโนโลยีชีวภาพ สาธารณสุข
วฒั นธรรม ฯลฯ
เปน็ การพัฒนาท้องถ่นิ มคี วามสอดคล้องกับ
ห้วงระยะเวลาของแผนพัฒนาจังหวัดที่ได้
กาหนดขึ้น เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนา
ท้ อ ง ถ่ิ น เ ส มื อ น ห นึ่ ง ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ก า ร
พัฒนาจังหวัด ซ่ึงไม่สามารถแยกส่วนใด
ส่ว นห น่ึงออ ก จา กกันได้ นอก จา ก นี้
โครงการพัฒนาท้องถ่ินต้องเป็นโครงการ
เ ช่ื อ ต่ อ ห รื อ เ ดิ น ท า ง ไ ป ด้ ว ย กั น กั บ
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ได้กาหนดข้ึนท่ีเป็น
ปัจจุบนั
5.8 โครงการแก้ปัญหาความยากจนหรือการ เป็นโครงการดาเนินการภายในพ้ืนฐาน
เสริมสร้างให้ประเทศชาติมั่งคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน ความพอเพียงที่ประชาชนดาเนินการเอง
ภายใตห้ ลักประชารัฐ หรือร่วมดาเนินการ เป็นโครงการต่อยอด
แ ล ะ ข ย า ย ไ ด้ เ ป็ น โ ค ร ง ก า ร ท่ี ป ร ะ ช า ช น
ตอ้ งการเพื่อให้เกิดความยั่งยนื ซ่ึงมีลักษณะ
ที่จะให้ท้องถ่ินมีความม่ังคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน
เป็นท้องถ่ินที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา
ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5.9 งบประมาณ มีความสอดคล้องกับ งบประมาณโครงการพัฒนาจะตอ้ งคานงึ ถงึ
เป้าหมาย (ผลผลติ ของโครงการ) หลกั สาคัญ 5 ประการในการจัดทา
โครงการไดแ้ ก่
5.10 มีการประมาณการราคาถูกต้องตาม (1)ความประหยดั (E c o n o m y)
หลักวิธีการ งบประมาณ (2) ความมปี ระสิทธภิ าพ (Ef f ici en cy)
(3) ความมีประสทิ ธิผล(Effectiveness)
(4) ความยุธธิ รรม (E q u i t y)
(5) ความโปร่งใส (T r a n s p a r e n c y)
การประมาณการราคาเพ่ือการพัฒนาต้อง
ให้สอดคล้องกับโครงการถูกต้องตามหลัก
วชิ าการทางช่าง หลักของราคากลาง ราคา
กลางท้องถ่ินมีความโปร่งใสในการกาหนด
ราคาและตรวจสอบได้ในเชิงประจักษ์มี
ความคลาดเคลอ่ื นไมม่ ากกว่าหรือไม่ต่ากว่า
ร้อยละห้าของการนาไปต้ังงบประมาณ
๑๗
รายจ่ายใน ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติเงิน
สะสม หรือรายจ่ายพัฒนาที่ปรากฏใน
รูปแบบอน่ื ๆ
5.11 มีความกาหมดตัวช้ีวัด (KPI) และ มีก า รก า ห นดดัชนีชี้วัด ผลงา น ( Key (5)
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และผลที่คาดว่า Performancelndicator : EPI) ได้ เช่น (5)
จะได้รับ การกาหนดความพึงพอใจการกาหนดร้อย
ล ะ ก า ร ก า ห น ด อั น เ กิ ด จ า ก ผ ล ข อ ง 100
วัตถุประสงค์ท่ีเกิดท่ีสิ่งท่ีได้รับ (การ
คาดการณ์ คาดว่าจะได้รบั )
5.12 ผลที่คาดว่าจะได้รับสอดคล้องกับ ผลท่ีรับเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนได้จริงจากการ
วัตถุประสงค์ ดาเนนิ การตามโครงการพัฒนาซึง่ สอดคลอ้ ง
กับวัตถุประสงคท์ ี่ตั้งไว้ การได้ผลหรือผลท่ี
เกอดขึ้นจะต้องเท่ากับวัตถุประสงค์หรือ
มากกว่าวัตถุประสงค์ ซ่ึงการเขียน
วตั ถปุ ระสงค์ควรคานงึ ถงึ
( 1 ) มี ค ว า ม เ ป็ น ไ ป ไ ด้ แ ล ะ มี ค ว า ม
เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง ใ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ต า ม
โครงการ
( 2 ) วั ต แ ล ะ ป ร ะ ม า ณ ผ ล ร ะ ดั บ ข อ ง
ความสาเรจ็ ได้
(3)ระบุสิ่งทตี่ ้องการดาเนินงานอย่างชัดเจน
และเฉพาะเจาะจงมากที่สุดและสามารถ
ปฏบิ ัติได้
(4) เป็นเหตุเป็นผล สอดคล้องกับความ
เป็นจริง
(5) สง่ ผลต่อการบ่งบอกเวลาได้
รวม
ตัวบ่งชท้ี ่ี ๕ : การดาเนนิ โครงการ
เกณฑต์ ัวช้ีวัด : มกี ารดาเนนิ การครบทกุ ขนั้ ตอน คะแนนเตม็ 2๕ คะแนน
มีการดาเนินการครบทุกข้ันตอน ( 8 ขน้ั ตอน) ได้ 2๕ คะแนน
มกี ารดาเนินการ 6 – 7 ขน้ั ตอน ได้ 23 คะแนน
มีการดาเนนิ การ 4 – 5 ขนั้ ตอน ได้ 20 คะแนน
มีการดาเนนิ การไม่ถึง 5 ข้นั ตอน ไมไ่ ดค้ ะแนน
แบบตัวบ่งชี้การปฏบิ ัติงานรายโครงการ
(การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓)
ชือ่ โครงการ : ..............................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ : ช่อื -สกุล .................................................ตาแหนง่ ..............................................
๑๘
สงั กดั : สานัก/กอง ...................................................................................................................................
คาอธิบาย : ให้ใส่เคร่อื งหมาย ในชอ่ งท่เี ลือก
ลาดบั ท่ี ประเด็นการประเมิน (ตัวบ่งชี)้ ใช่ ไม่ใช่
๑ เป็นโครงการท่ีประชาคมท้องถิ่นเสนอ หรือเห็นชอบ หรือจาก
แผนชุมชน
๒ เป็นโครงการทีอ่ ยใู่ นแผนพัฒนา
๓ สอดคล้องกบั แนวทางการพัฒนาของเทศบาล
๔ ไดด้ าเนนิ โครงการ
๕ ดาเนินโครงการตามห้วงเวลาท่ีกาหนดเอาไว้ในแผนการ
ดาเนนิ งาน
๖ งบประมาณเพยี งพอในการดาเนินโครงการ
๗ กลมุ่ เป้าหมายร้อยละ ๕๐ ขนึ้ ได้รบั ประโยชน์
๘ การเบิกจา่ ยงบประมาณไดร้ อ้ ยละ ๕๐ ข้นึ ไป
ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๖ : ผลกระทบหรือความเสยี หายจากการดาเนนิ โครงการ
เกณฑต์ ัวช้ีวดั : ไม่มผี ลกระทบเลย คะแนนเตม็ 2๕ คะแนน ได้ 23 คะแนน
ไมม่ ผี ลกระทบเลย ได้ 2๕ คะแนน ได้ 20 คะแนน
มผี ลกระทบ ร้อยละ 5 ของโครงการทั้งหมด ไม่ไดค้ ะแนน
มผี ลกระทบ รอ้ ยละ 10 ของโครงการท้งั หมด
มผี ลกระทบมากกวา่ ร้อยละ 10 ของโครงการทงั้ หมด
ลาดบั ท่ี ประเดน็ การประเมนิ (ตัวบ่งช)้ี มี ไมม่ ี
1 มีผลกระทบหรอื ความเสียหายทเี่ กิดขน้ึ ในการดาเนินโครงการ
โปรดระบุผลกระทบ ...............................................................
...................................................................................................
๑๙
สว่ นท่ี 3 ผลการวิเคราะหก์ ารตดิ ตามและประเมนิ ผล
1. ผลการพจิ ารณาการตดิ ตามและประเมนิ ผลยุทธศาสตรเ์ พ่ือความสอดคลอ้ งแผนพัฒนาท้องถ่นิ
1.1 สรปุ คะแนนประเมินผลยทุ ธศาสตร์
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑ : ขนั้ ตอนการกาหนดยุทธศาสตร์
เกณฑต์ วั ชี้วดั : มกี ารดาเนนิ การครบทกุ ข้นั ตอน คะแนนเตม็ 2๕ คะแนน
มกี ารดาเนินการครบทุกขัน้ ตอน (๑๐ ข้ันตอน) ได้ 2๕ คะแนน
มีการดาเนินการ ๘ – ๙ ขน้ั ตอน ได้ 23 คะแนน
มีการดาเนนิ การ ๖ – ๗ ขัน้ ตอน ได้ 20 คะแนน
มีการดาเนนิ การไม่ถึง ๖ ขั้นตอน ไม่ได้คะแนน
ผลการติดตามและประเมิน คะแนนเต็ม 25
ตวั บง่ ช้ีที่ ๑ : ขั้นตอนการกาหนดยุทธศาสตร์ คะแนนท่ไี ด้ 25
.
ลาดบั ที่ การดาเนินการ มีการดาเนนิ การ
(ใส่เคร่อื งหมาย )
๑ คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล จัดประชุมประชาคมท้องถิ่น ส่วน
ราชการและรัฐวิสาหกิจท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือแจ้งแนวทางการพัฒนา
ท้องถ่ิน รับทราบปัญหา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนา และ
ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องตลอดจนความช่วยเหลือทางวิชาการ และ
แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ เพื่อนามากาหนดแนว
ทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยให้นาข้อมูลพื้นฐานใน
การพฒั นามาจากหน่วยงานตา่ งๆ และขอ้ มลู ในแผนชุมชนมาพิจารณา
ประกอบการกาหนดยทุ ธศาสตร์การพฒั นา
2 คณะกรรมการมีการรวบรวมปัญหา ความต้องการ มาวิเคราะห์ในการ
กาหนดยุทธศาสตร์
3 คณะกรรมการมกี ารกาหนดแนวทางการพฒั นา
๔ คณะกรรมการได้นาข้อมูลพืน้ ฐานในการพัฒนามาจากหน่วยงานต่างๆ
และข้อมูลในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการกาหนดยุทธศาสตร์
การพัฒนา
๕ มีการกาหนดวสิ ัยทัศน์ท่ีสอดคล้องกับแนวทางการพฒั นา
๖ มีการเสนอโครงการจากทป่ี ระชาคมท้องถนิ่
๗ มีการพิจารณาโครงการที่เกินศักยภาพของแผนชุมชนมากาหนด
เป้าหมายในการพฒั นา ๒๐
๘ มีการกาหนดความเช่อื มโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม
๙ มกี ารประชุมคณะกรรมการสนบั สนุนในการกาหนดยุทธศาสตร์
๑๐ มกี ารประชมุ คณะกรรมการพัฒนาในการกาหนดยุทธศาสตร์
มกี ารดาเนินการครบ ๑๐ ขั้นตอน
ตัวบ่งชีท้ ี่ ๒ : คณุ ภาพยทุ ธศาสตร์
เกณฑ์ตวั ชี้วัด : มีการดาเนินการตามประเด็นการพิจารณาการจัดทาแผน คะแนนเตม็ 100 คะแนน
ผลการติดตามและประเมนิ คะแนนเต็ม 100
คะแนนทไ่ี ด้ 85.40
ตัวบ่งชที้ ่ี ๒ : คุณภาพยุทธศาตร์
คะแนนท่ไี ด้
แผนพัฒนา การตดิ ตามและประเมนิ คะแนนประเมิน 85.40
แผนพัฒนาท้องถิ่น การประเมินคณุ ภาพ ๑๐๐ คะแนน
(พ.ศ. ๒๕61 – ๒๕๖5 ของยุทธศาสตร์
2. แนวทางการพจิ ารณาการตดิ ตามและประเมนิ ผลยุทธศาสตร์เพ่ือความสอดคล้องแผนพฒั นา
ท้องถ่ิน ประกอบดว้ ย
ประเดน็ การพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้
1.ขอ้ มูลสภาพท่วั ไปและขอ้ มูลพ้นื ฐานขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ 20 17.70
2.การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ 20 16.10
3.ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 60 51.60
3.1ยุทธศาสตรข์ ององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ (10) 8.60
3.2 ยทุ ธศาสตรข์ ององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในเขตจังหวัด (10) 8.80
3.3 ยุทธศาสตรจ์ งั หวดั (10) 8.60
3.4 วิสยั ทศั น์ (5)
3.5 กลยทุ ธ์ (5) 4
3.6 เป้าประสงค์ของแตล่ ะประเด็นกลยุทธ์ (5) 4.20
3.7 จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (5) 4.30
3.8 แผนงาน (5) 4.30
3.9 ความเช่อื มโยงของยทุ ธศาสตรใ์ นภาพรวม (5) 4.40
100 4.40
รวมคะแนน 85.40
๒๑
2. ผลการพจิ ารณาตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการเพ่อื ความสอดคล้องกบั แผนพัฒนาท้องถิ่น
2.1 สรปุ คะแนนประเมินผลโครงการ
ตวั บ่งช้ีท่ี ๓ : ขนั้ ตอนการจดั ทาแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น
เกณฑ์ตวั ช้ีวดั : มกี ารดาเนนิ การครบทุกข้นั ตอน คะแนนเต็ม 2๕ คะแนน
มกี ารดาเนินการครบทุกขัน้ ตอน (๑๐ ขั้นตอน) ได้ 2๕ คะแนน
มกี ารดาเนนิ การ ๘ – ๙ ขั้นตอน ได้ 23 คะแนน
มกี ารดาเนินการ ๖ – ๗ ข้ันตอน ได้ 20 คะแนน
มกี ารดาเนินการไม่ถงึ ๖ ขั้นตอน ไมไ่ ด้คะแนน
ผลการตดิ ตามและประเมิน คะแนนเตม็ 2๕
ตวั บง่ ชี้ที่ ๓ : ข้นั ตอนการจดั ทาแผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ คะแนนท่ีได้ 25
ลาดบั ที่ การดาเนินการ มกี ารดาเนินการ
(ใสเ่ ครอื่ งหมาย )
๑
กาหนดสดั สว่ นในการจดั ประชุมประชาคมตามหนงั สอื ตามหนังสอื
2
๓ กระทรวงมหาดไทย ดว่ นท่ีสดุ ที่ มท ๐๘๑๐.๒/ว ๐๖๐๐ ลงวันที่ ๒๙
๔
๕ มกราคม ๒๕๕๙ เรอ่ื ง แนวทางและหลักเกณฑก์ ารจดั ทาและประสาน
๖
๗ แผนพฒั นาท้องถิ่นขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
๘
๙ มกี ารประชาสัมพันธ์ แจ้งใหผ้ ู้เขา้ รว่ มประชุมประชาคมทราบอยา่ งท่ัวถึง
๑๐
มีการมอบหมายเจ้าหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบแตล่ ะชุมชนอย่างชดั เจน
มกี ารเสนอโครงการจากทปี่ ระชาคมท้องถ่นิ
มกี ารสรปุ ปัญหา ความต้องการ จากเวทีประชาคม
มกี ารพิจารณาแผนชุมชนที่เกินศกั ยภาพมาบรรจุในแผนพัฒนา
มีการจัดลาดับความสาคญั ของโครงการ
มกี ารดาเนนิ การประชุมคณะกรรมการสนับสนนุ ในการจดั ทาร่างแผนพฒั นา
มีการประชมุ คณะกรรมการพัฒนาพจิ ารณารา่ งแผนพัฒนา
ผู้บรหิ ารประกาศใช้แผนพฒั นาไดท้ นั ภายในวนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕62
มกี ารดาเนนิ การครบ ๑๐ ข้ันตอน
๒๒
ตวั บ่งช้ที ่ี ๔ : คุณภาพแผนพฒั นาท้องถิ่น
เกณฑ์ตวั ช้ีวดั : มกี ารดาเนินการตามประเด็นการพิจารณาการจัดทาแผน คะแนนเตม็ 100 คะแนน
ผลการติดตามและประเมนิ คะแนนเตม็ 100
คะแนนทไี่ ด้ 90.60
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๔ : คณุ ภาพแผนพฒั นาสามปี
คะแนนที่ได้
แผนพฒั นา การติดตามและประเมิน คะแนนประเมนิ 90.60
แผนพฒั นาท้องถน่ิ การตดิ ตามและประเมนิ ผล 100 คะแนน
(พ.ศ. ๒๕๖1 – โครงการสาหรบั แผนพฒั นาเพ่อื
๒๕๖5) ความสอดคล้องของยุทธศาสตร์
และโครงการ
3. แนวทางการพจิ ารณาการตดิ ตามและประเมินผลโครงการเพ่ือความสอดคล้องแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ
ประกอบด้วย
ประเด็นการพิจารณา คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้
10
1.การสรุปสถานการณก์ ารพัฒนา 10 8.80
2.การประเมนิ ผลการนาแผนพฒั นาท้องถ่ินสป่ี ไี ปปฏบิ ัติในเชิงปริมาณ 10 9
3.การประเมินผลการนาแผนพัฒนาทอ้ งถ่ินส่ีปีไปปฏบิ ัตใิ นเชงิ คณุ ภาพ 10 10
4.แผนงานและยุทธศาสตร์การพัฒนา 10 60 9.20
5.โครงการพฒั นา ประกอบดว้ ย (5) 9.20
5.1ความชดั เจนของชื่อโครงการ (5) 54.40
5.2กาหนดวัตถุประสงค์สอดคลอ้ งกับโครงการ (5) 4.20
5.3เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความชัดเจนนาไปสู่การตั้ง
งบประมาณไดถ้ ูกตอ้ ง (5) 5
5.4โครงการมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (5) 4.80
5.5เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ (5) 4.60
5.6โครงการมีความสอดคลอ้ งกับ Thailand 4.0 (5) 4.60
5.7โครงการสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรจ์ ังหวดั (5)
5.8โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนหรือการเสริมสร้างให้ประเทศชาติ 4.60
มั่นคง มง่ั มี ยง่ั ยืน (5) 4.60
5.9งบประมาณ มีความสอดคล้องกบั เปา้ หมาย (ผลผลติ ของโครงการ) 4.40
5.10มีการประมาณการราคาถกู ต้องตามหลักวิธีการงบประมาณ 100
5.11มีการกาหนดตัวชี้วัด (KPI) และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลที่ 4.20
คาดวา่ จะไดร้ ับ 4
5.12ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์
4.60
รวมคะแนน
4.80
90.60
๒๓
2.2 การประเมนิ ผลการนาแผนพัฒนาท้องถิ่นไปปฏบิ ัตใิ นเชิงปริมาณ
เทศบาลตาบลทา่ ยาง ไดจ้ ัดทาแผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565) โดยผ่านการมสี ว่ นร่วม
ของประชาชนในการจัดประชุมประชาคม เพ่ือรับฟังปัญหาและความต้องการท่ีแท้จริงของประชาชนในพื้นท่ีก่อน
นามาจัดทาโครงการเพ่ือพัฒนา โดยกาหนดโครงการที่จะดาเนินการตามแผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2561 -
2565) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 194 โครงการ งบประมาณ 341,338,260 บาท และสามารถ
จาแนกตามยทุ ธศาสตร์ ไดด้ ังนี้
เทศบาลตาบลท่ายาง ได้นาแผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ.2561 - 2565) ไปสู่การปฏิบัติโดยได้
จัดทาเทศบัญญัติงบประมาณร่ายจ่ายประจาปี 2564 และประกาศใช้เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
พ.ศ. 2564 เม่ือวันท่ี 28 กันยายน 2563 โดยมีโครงการตามแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561 - 2565) ไป
บรรจุอยู่ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2563 จานวน 52 โครงการ งบประมาณ
20,472,74๐ บาท สามารถจาแนกตามยุทธศาสตร์ ได้ดงั นี้
จานวนโครงการ /งบประมาณตามเทศบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564
ยทุ ธศาสตร์ โครงการ งบประมาณ
(บาท)
1. การพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน 6 3,789,800
2. การพัฒนาคนและเสริมสรา้ งความมัน่ คงทางสงั คม 35 14,809,940
3. การพฒั นาเศรษฐกิจ 1 30,000
4. การพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม 2 550,000
5. การพัฒนาการเมอื ง การบริหาร 8 1,293,000
รวม 52 20,472,74๐
3. การวิเคราะห์เชงิ ปริมาณ
จากผลการดาเนนิ การตดิ ตามประเมนิ ผลแผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ เทศบาลตาบลทา่ ยาง ไดป้ ระเมินผล
การดาเนินการตามแผนพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ต้ังแต่เดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนกันยายน
2564 ตามแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565) จานวนโครงการท้ังหมด 194 โครงการ มีรายละเอียด
ดังนี้
1. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาด้านโครงสร้างพน้ื ฐาน
จานวนโครงการตามแผนพัฒนาท้องถ่ินทั้งหมด 90 โครงการ จานวนโครงการท่ีได้รับงบประมาณ
ดาเนนิ การ 6 โครงการ คดิ เป็นร้อยละ 6.67 %
2. ยุทธศาสตร์การพฒั นาดา้ นคนและเสรมิ สรา้ งความมั่นคงทางสังคม
จานวนโครงการตามแผนพัฒนาท้องถิ่นท้ังหมด 80 โครงการ จานวนโครงการที่ได้รับงบประมาณ
ดาเนินการ 35 โครงการ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 43.75 %
๒๔
3. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาด้านเศรษฐกจิ
จานวนโครงการตามแผนพัฒนาท้องถิ่นท้ังหมด 5 โครงการ จานวนโครงการที่ได้รับงบประมาณ
ดาเนนิ การ 1 โครงการ คดิ เปน็ ร้อยละ 20 %
4. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
จานวนโครงการตามแผนพัฒนาท้องถ่ินทั้งหมด 4 โครงการ จานวนโครงการที่ได้รับงบประมาณ
ดาเนินการ 2 โครงการ คดิ เป็นรอ้ ยละ 50 %
5. ยุทธศาสตร์ดา้ นการบริหารจัดการบ้านเมอื งทดี่ ี
จานวนโครงการตามแผนพัฒนาท้องถิ่นทั้งหมด 14 โครงการ จานวนโครงการที่ได้รับงบประมาณ
ดาเนินการ 8 โครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ 57
สรุปผลการดาเนินงานตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาทงั้ 5 ยุทธศาสตร์
- โครงการตามแผนพฒั นาท้องถ่นิ (ปี 2564) จานวน 19๔ โครงการ
- โครงการตามเทศบญั ญตั ิ ประจาปี 2564 จานวน 52 โครงการ
- โครงการทีไ่ ดร้ บั เงินอุดหนุนเฉพาะกจิ ประจาปี 2564 จานวน 1 โครงการ
- โครงการทีไ่ ด้ดาเนินการแล้วเสร็จ จานวน 28 โครงการ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.84 %
4. การวเิ คราะห์เชงิ คุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพพบว่าเทศบาลตาบลท่ายางได้ดาเนินการพัฒนาเทศบาลตามแผนงาน
โครงการที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565) และตามงบประมาณที่ต้ังไว้ตามงบประมาณ
รายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 แต่ไม่ครบถ้วนท้ังหมดตามท่ีวางแผนและต้ังงบประมาณไว้ในเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 แต่ทง้ั นีโ้ ครงการกิจกรรมตา่ งๆ ท่ไี ด้ดาเนินโครงการไปแล้วได้ก่อให้เกิด
ประโยชน์ในการพัฒนา ทั้งด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านคนและสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
และด้านการบริหาร
สรุปผลการดาเนินโครงการตา่ ง ๆ ตามแต่ละยุทธศาสตร์
ยทุ ธศาสตร์ โครงการ โครงการ โครงการท่ี โครง
จ่ายจากเงินกู้ ท่ีไดร้ ับ
ท่ีตั้งงบประมาณ ท่ีจา่ ยจากเงินทนุ อดุ หน
กสท. เฉพา
ดาเนินการ สารองเงนิ สะสม
1
1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 7 - - -
35 - -
2. การพัฒนาคนและเสรมิ สรา้ ง -
ความมนั่ คงทางสังคม 1 - - -
2 - -
3. การพัฒนาเศรษฐกจิ -
8 - -
4. การพฒั นาทรัพยากร 1
ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 52 - - 1
1 - -
5. การพฒั นาการบรหิ ารจัดการ
บา้ นเมอื งทีด่ ี
รวมโครงการจากงบประมาณ
รายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2564
รวมโครงการจาก
เงนิ อดุ หนุนเฉพาะกิจ
งการ ดาเนินการ อย่รู ะหวา่ ง ไม่ได้ เบกิ จ่าย ผกู พนั
บเงนิ แล้วเสร็จ ดาเนินการ ดาเนินการ งบประมาณ งบประมาณ
นุน
าะกิจ (บาท) (บาท)
23 1 326,800 1,442,500
11,588,450 543,000
16 2 17
-- 1 - -
2- - 568,050 -
7- 1 715,866 -
27 4 20 13,199,166 1,985,500
-1 - - 786,000
25
ยทุ ธศาตร์ท่ี 5 การพัฒนาการบริหารจดั การบา้ นเมอื งท่ีดี
5.1 แผนงาน บริหารท่ัวไป
งบประมาณท่ีตั้งไว้ งบประมาณ
ลาดับ โครงการ/กิจกรรม แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ เทศบญั ญัติ ดาเนินงาน
ที่
(พ.ศ.2561 - งบประมาณ (เบกิ จา่ ย)
1 โครงการปกปอ้ งสถาบนั ของชาติ
2565) พ.ศ.2564 รายจา่ ยประจาปี
2564
10,000 3,000 3,000 เพอ่ื จ
คา่ จดั
2 โครงการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา 30,000 20,000 ไมใ่ ชง้ บประมาณ เพอ่ื จ
การทจุ รติ ปัญห
คา่ ปา้
และอ
3 อุดหนุนโครงการจดั ตัง้ ศูนยป์ ฏิบตั กิ าร 25,000 25,000 25,000 เพ่อื จ
ร่วมในการชว่ ยเหลือประชาชนของ บางร
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน สว่ นท
ระดบั อาเภอ
รายละเอียดของโครงการ/กจิ กรรม หน่วยงานที่ หมายเหตุ
รับผิดชอบ
จา่ ยเปน็ ค่าใช้จา่ ยในการจัดกิจกรรม เชน่ สานักปลัดฯ ดาเนินการแลว้ เสรจ็
ดสถานท่ี ค่าป้าย และค่าใช้จา่ ยอ่นื ๆ
จ่ายเป็นค่าใชจ้ า่ ยในโครงการปอ้ งกันและแก้ไข สานักปลัดฯ ดาเนนิ การแล้วเสร็จ
หาการทจุ รติ เชน่ ค่าวทิ ยากร คา่ อาหาร ค่าอาหารว่าง
าย ค่าเครือ่ งด่ืม ค่าวสั ดุอปุ กรณ์ที่ใช้ในโครงการ
อื่นๆ
จ่ายเป็นเงนิ อุดหนุนใหแ้ ก่องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล สานักปลดั ฯ ดาเนนิ การแล้วเสร็จ
รูปในโครงการจัดตงั้ ศูนยป์ ฏบิ ัติการองคก์ รปกครอง
ทอ้ งถิ่นระดับอาเภอ
46
งบประมาณที่ต้ังไว้ งบประมาณ
ลาดับ โครงการ/กิจกรรม แผนพัฒนาท้องถ่ิน เทศบญั ญัติ ดาเนินงาน
ที่
(พ.ศ.2561 - งบประมาณ (เบกิ จา่ ย)
4 จัดทาวารสาร
2565) พ.ศ.2564 รายจา่ ยประจาปี
2564
100,000 100,000 100,000 เพื่อจ
5 โครงการจัดทาแผนพัฒนาเทศบาล 60,000 20,000 ไมใ่ ชง้ บประมาณ เพ่อื จ
ว่าง ค
6 โครงการสารวจความพึงพอใจ 25,000 25,000 เพอ่ื จ
ความ
7 ค่าจดั การเลือกตั้ง 300,000 400,000 535,722 เพอ่ื จ
สมาช
โอนเพม่ิ 200,000 บาท
8 ปรับปรุงแผนที่ภาษีและทะเบียน 500,000 70,000 52,139 เพอ่ื จ
ทรัพยส์ ิน ทะเบ
และจ
เวลา
รายละเอียดของโครงการ/กิจกรรม หน่วยงานที่ หมายเหตุ
รับผิดชอบ
จา่ ยเปน็ ค่าจดั ทาวารสารประชาสมั พันธ์กจิ กรรมต่างๆ สานักปลดั ฯ ดาเนนิ การแลว้ เสรจ็
จ่ายเปน็ ค่าจัดประชุมประชาคม คา่ อาหาร คา่ อาหาร สานักปลดั ฯ ดาเนินการแล้วเสร็จ
ค่าเคร่ืองด่ืม คา่ ปา้ ย คา่ วสั ดอุ ปุ กรณต์ ่างๆ และอืน่ ๆ
จ่ายเปน็ ค่าจา้ งเหมาหน่วยงานภายนอกในการสารวจ สานักปลดั ฯ ไมไ่ ด้ดาเนินการ
มพึงพอใจของประชาชนในเขตเทศบาล (เนอื่ งจากงบประมาณ
ไมเ่ ขา้ ตามเป้าหมาย)
จ่ายเป็นค่าจดั การเลือกตง้ั ของผูบ้ ริหารท้องถนิ่ และ สานกั ปลัดฯ ดาเนนิ การแลว้ เสรจ็
ชกิ สภาทอ้ งถ่นิ และค่าใชจ้ ่ายเกีย่ วกบั การเลอื กตง้ั
จา่ ยเปน็ คา่ ใช้จ่ายในโครงการปรบั ปรงุ แผนทภี่ าษีและ กองคลัง ดาเนินการแลว้ เสร็จ
บียนทรพั ย์สนิ เชน่ คา่ จา้ งชา่ งโยธา เจา้ หน้าทส่ี ารวจ
จัดเก็บขอ้ มูล ค่าจา้ งเหมาบริการ คา่ อาหารนอก 47
า ค่าวสั ดุ อปุ กรณ์ และค่าใชจ้ ่ายอื่นๆ
48
1. ข้อเสนอแนะในการจดั ทาแผนพัฒนาท้องถน่ิ ในอนาคต
จากการติดตามผลการดาเนินงานตามแผน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖๔ ประเมินผลการ
ดาเนินงานได้ว่า เทศบาลตาบลท่ายางได้ดาเนินการพัฒนาเทศบาลตามแผนงานโครงการท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนา
ท้องถ่ิน (พ.ศ. 2561 – 2565) และตามงบประมาณท่ีตั้งไว้ตามงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 256๔ แต่ไม่
ครบถ้วนท้ังหมดตามที่วางแผนและตั้งงบประมาณไว้ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 256๔
เนื่องจากงบประมาณไม่เข้าตามเป้าหมายท่ีประมาณการไว้ และการเกิดโรคระบาด โควิด ๑๙ จึงไม่สามารถดาเนิน
โครงการในลักษณะของการรวมกลุ่มได้ แต่ท้ังน้ีโครงการกิจกรรมต่างๆ ที่ได้ดาเนินโครงการไปแล้วได้ก่อให้เกิด
ประโยชน์ในการพฒั นา ท้งั ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ดา้ นคนและสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และ
ด้านการบริหาร บัดน้ี คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาได้ดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงมี
ข้อเสนอแนะร่วมกนั ดงั น้ี
การตดิ ตามผลสัมฤทธ์ิในการใช้จา่ ยงบประมาณ
1. โครงการตามแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561 – 2565) ท่ีบรรจุในปี 2564 จานวน 194
โครงการ นามาดาเนนิ การในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 52 โครงการ คิดเปน็ ร้อยละ 26.๘0 %
2. โครงการตามแผนพฒั นาท้องถ่ิน (พ.ศ.2561 – 2565) ท่นี ามาดาเนนิ การในปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 จานวน 52 โครงการ สามารถดาเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน 2564 จานวน 28
โครงการ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.84 %
3. โครงการที่อยรู่ ะหว่างดาเนนิ การ จานวน 5 โครงการ คิดเปน็ ร้อยละ 9.61 %
4. โครงการท่ไี ม่ไดด้ าเนนิ การ จานวน 20 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 38.46 %
5. การบันทกึ ข้อมูลการจดั ทาแผน และด้านการเบกิ จา่ ยในระบบ e – plan ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 บันทกึ ไดค้ รบถว้ น 100 %
นายเช้อื ชาย มงคลหล้า
ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาเทศบาลตาบลท่ายาง
๑๘ ตลุ าคม 256๔