The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thayang.c, 2021-04-06 23:24:45

พรบเทศบาล249614

พรบเทศบาล249614

พระราชบญั ญตั ิ
เทศบาล

พ.ศ. ๒๔๙๖

แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๘ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๙
(ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๐ (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๑๑
ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับท่ี ๓๓๖ ลงวนั ที่ ๑๓ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๕
(ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๑๗ (ฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๑๙ (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๒๓

(ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
พระราชกฤษฎีกาแกไ้ ขบทบญั ญตั ิใหส้ อดคลอ้ งกับการโอนอานาจหนา้ ทีข่ องส่วนราชการ
ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบัญญตั ปิ รับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕

(ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๒

ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๖

เป็นปีท่ี ๘ ในรชั กาลปจั จบุ นั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
ประกาศว่า

โดยท่ีเป็นการสมควรปรบั ปรุงกฎหมายว่าด้วยการเทศบาลใหเ้ หมาะสมย่ิงขึน้

จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ตราพระราชบญั ญตั ขิ ้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภา
ผู้แทนราษฎร ดงั ต่อไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั นิ ีเ้ รียกวา่ “พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖”

มาตรา ๒1[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เป็นตน้ ไป

มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเทศบาล พุทธศักราช ๒๔๘๖ และบรรดากฎหมาย กฎ
ขอ้ บังคับอนื่ ๆ ในส่วนท่ีบัญญัตไิ ว้แลว้ ในพระราชบัญญตั นิ ้ี หรอื ซ่งึ แยง้ กบั บทแหง่ พระราชบัญญตั นิ ้ี

มาตรา ๔2[๒] เมื่อพ้นกาหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะ
ทอ้ งถ่ินใดเป็นเทศบาลเมืองหรือเทศบาลนครแล้ว ห้ามมิให้ใช้กฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องท่ีในส่วนท่ี
บัญญตั ถิ งึ การแตง่ ตงั้ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานันในท้องถ่ินน้ัน
และให้บรรดาบุคคลท่ีเป็นกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานันพ้นจาก
ตาแหน่งและหนา้ ท่ีเฉพาะในเขตท้องถิน่ น้นั

ในเขตเทศบาลตาบลใด ถ้าหมดความจาเป็นที่จะต้องมีตาแหน่งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย
ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล หรือสารวัตรกานัน ให้รัฐมนตรีประกาศยกเลิกตาแหน่งดังกล่าวในราชกิจจา
นุเบกษา

มาตรา ๕ ให้เทศบาลท่ีได้จัดตั้งขึ้นแล้วในวันใช้พระราชบัญญัติน้ี คงมีฐานะเป็นเทศบาล
ตาบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร ตามที่เป็นอยู่ แล้วแต่กรณี มีอานาจหน้าที่และอยู่ในบังคับแห่ง
พระราชบัญญัติน้ี

มาตรา ๖ บรรดาเทศบัญญัติท่ีได้ออกโดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบ
เทศบาล พุทธศักราช ๒๔๗๖ พระราชบัญญัติเทศบาล พุทธศักราช ๒๔๘๑ และพระราชบัญญัติเทศบาล
พุทธศกั ราช ๒๔๘๖ หรอื โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอ่นื ให้คงใชบ้ งั คับได้

ในกรณีทผ่ี ู้กระทาผดิ เทศบญั ญตั ิดังกล่าวในวรรคกอ่ นไมช่ าระค่าปรับ ให้นาบทบัญญัติมาตรา
๖๐ วรรคทา้ ยแห่งพระราชบญั ญตั นิ มี้ าใช้บงั คบั

1[๑] ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๗๐/ตอนท่ี ๑๔/หนา้ ๒๒๒/๑๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๔๙๖
2[๒] มาตรา ๔ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

สว่ นท่ี ๑
การจดั ตั้งเทศบาล

มาตรา ๗ เมอื่ ทอ้ งถนิ่ ใดมสี ภาพอันสมควรยกฐานะเป็นเทศบาล ให้จัดตั้งท้องถิ่นน้ัน ๆ เป็น
เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง หรือเทศบาลนคร ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี

ให้เทศบาลเปน็ ทบวงการเมือง มอี านาจหนา้ ทตี่ ามพระราชบญั ญตั นิ แ้ี ละกฎหมายอ่นื

มาตรา ๘3[๓] เมื่อมีการจัดตั้งเทศบาลตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายว่าด้วยสภาตาบล
และองค์การบริหารส่วนตาบล ให้เลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีตามกฎหมายว่าด้วยการ
เลอื กตั้งสมาชิกสภาท้องถ่ินหรอื ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ ภายในสีส่ บิ ห้าวันนบั แตว่ ันทีไ่ ดจ้ ดั ต้ังเป็นเทศบาล

ในระหว่างท่ีไม่มีนายกเทศมนตรี ให้ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลซึ่งดารงตาแหน่งอยู่ก่อน
วันท่ีจัดตั้งเทศบาลปฏิบัติหน้าที่ปลัดเทศบาล และให้ปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรีเท่าท่ีจาเป็นได้เป็นการ
ชัว่ คราว จนถงึ วนั ประกาศผลการเลอื กตัง้ นายกเทศมนตรี

มาตรา ๙4[๔] เทศบาลตาบล ได้แก่ ท้องถิ่นซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะข้ึนเป็น
เทศบาลตาบล ประกาศกระทรวงมหาดไทยน้นั ให้ระบชุ ่อื และเขตเทศบาลไวด้ ว้ ย

มาตรา ๑๐5[๕] เทศบาลเมือง ได้แก่ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือท้องถิ่น
ชุมนุมชนที่มีราษฎรต้ังแต่หนึ่งหม่ืนคนขึ้นไป ท้ังมีรายได้พอควรแก่การท่ีจะปฏิบัติหน้าท่ีอันต้องทาตาม
พระราชบัญญัตินี้ และซ่ึงมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง ประก าศ
กระทรวงมหาดไทยน้ันใหร้ ะบุช่อื และเขตของเทศบาลไว้ด้วย

3[๓] มาตรา ๘ แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
4[๔] มาตรา ๙ แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
5[๕] มาตรา ๑๐ แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๑๑6[๖] เทศบาลนคร ได้แก่ ท้องถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่ห้าหม่ืนคนข้ึนไป ทั้งมี
รายได้พอควรแก่การท่ีจะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทาตามพระราชบัญญัติน้ี และซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทย
ยกฐานะเป็นเทศบาลนคร ประกาศกระทรวงมหาดไทยนัน้ ให้ระบุช่ือและเขตของเทศบาลไวด้ ว้ ย

มาตรา ๑๒7[๗] ภายใต้บังคับมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๑ การเปล่ียนช่ือเทศบาล
หรอื การเปลีย่ นแปลงเขตเทศบาล ให้กระทาโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย

ในกรณที ี่เป็นการเปลย่ี นแปลงเขตเทศบาลเมืองหรอื เทศบาลนคร ให้กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย
ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานัน ในท้องถ่ินที่ได้เปล่ียนแปลงเขตเป็นเทศบาลตามความใน
วรรคหนึ่งส้ินสุดอานาจหน้าท่ีเฉพาะในเขตที่ได้เปล่ียนแปลงนั้นเม่ือพ้นกาหนดหน่ึงปีนับแต่วันที่ประกาศ
กระทรวงมหาดไทยเปลีย่ นแปลงเขตเทศบาลใชบ้ ังคับเป็นต้นไป

มาตรา ๑๓8[๘] ภายใตบ้ ังคบั มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ ท้องถ่ินซึ่งได้
ยกฐานะเป็นเทศบาลแลว้ อาจถกู เปล่ียนแปลงฐานะหรอื ยบุ เลกิ ได้โดยทาเปน็ ประกาศกระทรวงมหาดไทย

ท้องถิ่นท่ีได้เปลี่ยนแปลงฐานะตามความในวรรคหน่ึง ให้พ้นจากสภาพแห่งเทศบาลเดิมนับ
แต่วันทีไ่ ด้ถูกเปล่ยี นแปลงฐานะเป็นต้นไป บรรดาทรพั ย์สิน หน้ี สิทธิ และสิทธเิ รียกรอ้ งของเทศบาลเดิมให้โอน
ไปเป็นของเทศบาลใหม่ในขณะเดียวกันนั้น และบรรดาเทศบัญญัติท่ีได้ใช้บังคับอยู่ก่อนแล้วคงให้ใช้บังคับ
ตอ่ ไป

ในการยุบเลกิ เทศบาล ใหร้ ะบถุ ึงวิธกี ารจัดทรพั ยส์ ินไว้ในประกาศกระทรวงมหาดไทยนัน้ ดว้ ย

สว่ นท่ี ๒
องคก์ ารเทศบาล

มาตรา ๑๔9[๙] องค์การเทศบาลประกอบด้วยสภาเทศบาล และนายกเทศมนตรี

6[๖] มาตรา ๑๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
7[๗] มาตรา ๑๒ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
8[๘] มาตรา ๑๓ แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
9[๙] มาตรา ๑๔ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

บทท่ี ๑
สภาเทศบาล

มาตรา ๑๕10[๑๐] สภาเทศบาลประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกต้ัง
โดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถ่ินตามจานวน
ดังต่อไปน้ี

(๑) สภาเทศบาลตาบล ประกอบดว้ ยสมาชกิ จานวนสิบสองคน
(๒) สภาเทศบาลเมอื ง ประกอบด้วยสมาชิกจานวนสบิ แปดคน
(๓) สภาเทศบาลนคร ประกอบดว้ ยสมาชิกจานวนยส่ี ิบสค่ี น
ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาล นอกจากต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ
ต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นแล้ว จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้น
จากตาแหนง่ สมาชิกสภาท้องถ่นิ คณะผู้บริหารท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่นหรือที่ปรึกษา
หรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถ่ิน เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการท่ี
กระทากับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ยังไม่ถึงห้าปีนบั ถึงวนั รบั สมัครเลอื กตั้ง
ในกรณที ตี่ าแหนง่ สมาชิกสภาเทศบาลว่างลงไมว่ า่ ดว้ ยเหตุใดและยังมิได้มีการเลือกตั้งสมาชิก
สภาเทศบาลขนึ้ แทนตาแหน่งท่ีวา่ ง ให้สภาเทศบาลประกอบดว้ ยสมาชิกสภาเทศบาลเท่าที่มีอยู่

มาตรา ๑๖11[๑๑] สมาชิกสภาเทศบาลให้อยู่ในตาแหน่งได้คราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกต้ัง ถ้า
ตาแหน่งสมาชิกสภาเทศบาลว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระหรือมีการยุบสภา ให้เลือกต้ัง
สมาชิกสภาเทศบาลขึน้ แทนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการเลือกตัง้ สมาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ หรือผูบ้ ริหารท้องถนิ่

สมาชกิ สภาเทศบาลผูเ้ ข้ามาแทนใหอ้ ยู่ในตาแหน่งไดเ้ พียงเทา่ วาระของผซู้ ึง่ ตนแทน

มาตรา ๑๗ กอ่ นเข้ารับหนา้ ท่ี สมาชิกสภาเทศบาลต้องปฏิญาณตนในท่ีประชุมสภาเทศบาล
ว่า จะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ท้ังจะซ่ือสัตย์สุจริตและปฏิบัติหน้าที่เพ่ือ
ประโยชน์ของท้องถิ่น

10[๑๐] มาตรา ๑๕ แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
11[๑๑] มาตรา ๑๖ แกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๑๘ สมาชิกสภาเทศบาลย่อมเป็นผู้แทนของปวงชนในเขตเทศบาลน้ัน และต้อง
ปฏิบตั ิหนา้ ทีต่ ามความเหน็ ของตนโดยบรสิ ุทธิใ์ จ ไม่อยใู่ นความผกู มัดแหง่ อาณัตมิ อบหมายใด ๆ

มาตรา ๑๘ ทวิ12[๑๒] สมาชิกสภาเทศบาลต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือ
ทางอ้อมในสัญญาท่ีเทศบาลน้ันเป็นคู่สัญญาหรือในกิจการท่ีกระทาให้แก่เทศบาลนั้น หรือท่ีเทศบาลน้ันจะ
กระทา

มาตรา ๑๙13[๑๓] สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาเทศบาลสิ้นสดุ ลงเม่อื
(๑) ถึงคราวออกตามวาระ หรอื มีการยบุ สภาเทศบาล
(๒) ตาย
(๓) ลาออก โดยยนื่ หนงั สือลาออกตอ่ ผวู้ า่ ราชการจังหวดั
(๔) ขาดคุณสมบตั ิหรือมลี กั ษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง
(๕) ขาดประชมุ สภาเทศบาลสามคร้ังติดตอ่ กนั โดยไม่มเี หตุอันสมควร
(๖) กระทาการอนั ต้องหา้ มตามมาตรา ๑๘ ทวิ
(๗) สภาเทศบาลมีมติให้พ้นจากตาแหน่ง โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนามาซึ่ง
ความเส่ือมเสียหรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่เทศบาลหรือกระทาการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภา
เทศบาล โดยมีสมาชิกสภาเทศบาลจานวนไม่น้อยกว่าหนง่ึ ในสามของจานวนสมาชิกสภาเทศบาลทั้งหมดเท่าท่ี
มีอยู่เข้าช่ือเสนอให้สภาเทศบาลพิจารณา และมติดังกล่าวต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจานวน
สมาชิกสภาเทศบาลทง้ั หมดเทา่ ที่มีอยู่ ทงั้ นี้ ใหส้ มาชิกภาพส้นิ สุดลงนบั แต่วนั ทสี่ ภาเทศบาลมมี ติ
(๘) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกต้ังในเขตเทศบาลมีจานวนไม่น้อยกว่าสามในส่ีของจานวนผู้มีสิทธิ
เลอื กต้งั ทมี่ าลงคะแนนเสยี ง เห็นวา่ สมาชิกสภาเทศบาลผู้ใดไม่สมควรดารงตาแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วย
การลงคะแนนเสียงเพ่ือถอดถอนสมาชิกสภาทอ้ งถ่นิ หรอื ผูบ้ ริหารทอ้ งถิน่
เมื่อมีข้อสงสัยเก่ียวกับสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลผู้ใดส้ินสุดลงตาม (๔) (๕) หรือ
(๖) ใหผ้ วู้ า่ ราชการจังหวดั สอบสวนและวินจิ ฉยั โดยเร็ว คาวินจิ ฉยั ของผู้ว่าราชการจังหวัดใหเ้ ปน็ ที่สดุ
ในกรณีท่ีสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลสิ้นสุดลงตาม (๘) พร้อมกันท้ังหมดให้ถือว่า
เปน็ การยบุ สภาเทศบาล

12[๑๒] มาตรา ๑๘ ทวิ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
13[๑๓] มาตรา ๑๙ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๒๐ สภาเทศบาลมีประธานสภาคนหนึ่ง และรองประธานสภาคนหนึ่ง ซ่ึงผู้ว่า
ราชการจงั หวัดแตง่ ต้ังจากสมาชกิ สภาเทศบาลตามมตขิ องสภาเทศบาล

ประธานสภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาลดารงตาแหน่งจนครบอายุของสภา
เทศบาล14[๑๔]

มาตรา ๒๐ ทวิ15[๑๕] นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๒๐ วรรคสอง ประธานสภา
เทศบาลและรองประธานสภาเทศบาลพน้ จากตาแหน่งเมือ่

(๑) ลาออก โดยย่นื หนงั สือลาออกต่อผู้ว่าราชการจงั หวดั
(๒) สน้ิ สดุ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาล
(๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสงั่ ใหพ้ ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๗๓
(๔) สภาเทศบาลมีมติให้พ้นจากตาแหน่ง โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางท่ีจะนามาซึ่ง
ความเสื่อมเสียแก่ศักด์ิตาแหน่งหรือสภาเทศบาล ปฏิบัติการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของ
ประชาชน หรือละเลยไมป่ ฏบิ ัตกิ ารหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอานาจหน้าท่ี โดยมีสมาชิกสภาเทศบาลจานวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวนสมาชิกสภาเทศบาลท้ังหมดเท่าท่ีมีอยู่เข้าช่ือเสนอให้สภาเทศบาลพิจารณา
และมตดิ ังกลา่ วต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจานวนสมาชิกสภาเทศบาลท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ ทั้งนี้
ใหพ้ ้นจากตาแหนง่ นับแตว่ นั ทีส่ ภาเทศบาลมมี ติ
ผู้ซ่ึงพ้นจากตาแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาลตาม (๓) หรือ (๔)
จะดารงตาแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาลอกี ไม่ได้ตลอดอายุของสภาเทศบาลนนั้
ให้ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาลที่ได้รับเลือกใหม่อยู่ในตาแหน่งตาม
วาระของผูซ้ ึง่ ตนแทน

มาตรา ๒๐ ตรี16[๑๖] ในกรณีที่ตาแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาล
ว่างลงเพราะเหตุใดเหตุหน่ึงตามมาตรา ๒๐ ทวิ ให้สภาเทศบาลเลือกสมาชิกสภาเทศบาลขึ้นแทนตาแหน่งท่ี
ว่างภายในสิบห้าวนั นบั แต่วนั ที่ตาแหน่งวา่ งลง

14[๑๔] มาตรา ๒๐ วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
15[๑๕] มาตรา ๒๐ ทวิ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
16[๑๖] มาตรา ๒๐ ตรี เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓

มาตรา ๒๑ ประธานสภาเทศบาล มีหน้าที่ดาเนินกิจการของสภาเทศบาลให้เป็นไปตาม
ระเบยี บข้อบงั คบั การประชมุ สภาเทศบาล

รองประธานสภาเทศบาล มีหน้าท่ีกระทากิจการแทนประธานสภาเทศบาลในเม่ือ
ประธานสภาเทศบาลไม่อยู่ หรือไม่สามารถปฏบิ ัติหน้าท่ีได้

มาตรา ๒๒ ในเม่ือประธานและรองประธานสภาเทศบาลไม่อยู่ในท่ีประชุม ให้สมาชิกสภา
เทศบาลเลอื กต้ังกนั เองเป็นประธานเฉพาะในคราวประชุมนน้ั

มาตรา ๒๓ ใหก้ ระทรวงมหาดไทยวางระเบยี บขอ้ บงั คบั การประชุมสภาเทศบาลไว้

มาตรา ๒๔17[๑๗] ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญสี่สมัย สมัยประชุมสามัญครั้งแรกและวัน
เรม่ิ ประชุมสมัยสามญั ประจาปีใหส้ ภาเทศบาลกาหนด

ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องกาหนดให้สมาชิกสภาเทศบาลได้มาประชุมสภาเทศบาลคร้ังแรก
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลครบตามจานวนแล้ว และให้ท่ีประชุม
เลอื กประธานสภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาล

กรณที ่สี ภาเทศบาลไม่อาจจัดให้มีการประชุมครั้งแรกได้ตามกาหนดเวลาในวรรคสอง หรือมี
การประชุมสภาเทศบาลแต่ไม่อาจเลือกประธานสภาเทศบาลได้ ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจเสนอรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยให้มีคาส่ังยุบสภาเทศบาล

สมัยประชุมสามัญสมัยหน่ึง ๆ ให้มีกาหนดไม่เกินสามสิบวัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปอีก
จะตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากผู้วา่ ราชการจงั หวดั

มาตรา ๒๕ โดยปกติให้ประธานสภาเทศบาลเป็นผู้เรียกประชุมสภาเทศบาลตามสมัย
ประชมุ และเปน็ ผู้เปดิ หรือปดิ ประชุม

ในกรณีทยี่ ังไมม่ ีประธานสภาเทศบาล หรือประธานสภาเทศบาลไม่เรยี กประชุมตามกฎหมาย
ให้ผูว้ า่ ราชการจงั หวัดเป็นผ้เู รยี กประชมุ และเปน็ ผเู้ ปิดหรือปดิ ประชุม

มาตรา ๒๖ นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจาเป็นเพ่ือประโยชน์แห่ง
เทศบาล ประธานสภาเทศบาลก็ดี หรือนายกเทศมนตรีก็ดี หรือสมาชิกสภาเทศบาลมีจานวนไม่ต่ากว่าก่ึงหน่ึง

17[๑๗] มาตรา ๒๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

ของจานวนสมาชิกทอี่ ยู่ในตาแหนง่ ก็ดี อาจทาคาร้องยื่นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดขอให้เปิดประชุมวิสามัญให้ผู้ว่า
ราชการจังหวัดพจิ ารณา ถา้ เหน็ สมควรก็ใหผ้ ู้ว่าราชการจงั หวัดเรียกประชุมวสิ ามัญได้

สมัยประชุมวิสามัญให้มีกาหนดไม่เกินสิบห้าวัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปอีก จะต้องได้รับ
อนญุ าตจากผวู้ ่าราชการจังหวดั

มาตรา ๒๗18[๑๘] การประชุมสภาเทศบาล ต้องมีสมาชิกสภาเทศบาลมาประชุมไม่น้อยกว่า
ก่งึ หน่งึ ของจานวนสมาชกิ เทา่ ทมี่ ีอยู่ จึงจะเปน็ องคป์ ระชมุ

มาตรา ๒๘ การลงมติวนิ จิ ฉยั ขอ้ ปรึกษาน้นั ใหถ้ อื เอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ เว้นแต่จะมี
บญั ญัติไวเ้ ป็นอย่างอ่นื ในพระราชบญั ญัตนิ ี้

สมาชิกสภาเทศบาลคนหน่ึงย่อมมีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้ามีจานวนลงเสียงลงคะแนน
เท่ากนั ให้ประธานในท่ปี ระชุมออกเสยี งเพ่มิ ข้ึนได้อีกเสยี งหน่ึงเป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา ๒๙ ห้ามมิให้สภาเทศบาลประชุมปรึกษาหารือในเรื่องนอกเหนืออานาจหน้าที่ หรือ
เรอ่ื งท่ีฝ่าฝืนกฎหมาย หรอื เร่ืองการเมืองแห่งรฐั

มาตรา ๓๐ การประชุมของสภาเทศบาลย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่จะได้กาหนดไว้
ในระเบียบข้อบงั คบั การประชุมสภาเทศบาล

เมื่อนายกเทศมนตรี หรือสมาชิกสภาเทศบาลรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวน
สมาชิกท่ีมาประชุมร้องขอให้ทาการประชุมลับ ก็ให้ประธานสภาเทศบาลดาเนินการประชุมลับได้ โดยไม่ต้อง
ขอมติท่ีประชมุ 19[๑๙]

มาตรา ๓๑20[๒๐] ในที่ประชุมสภาเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาลมีสิทธิตั้งกระทู้ถาม
นายกเทศมนตรีหรือรองนายกเทศมนตรีในข้อความใด ๆ อันเกี่ยวกับการงานในหน้าท่ีได้ แต่นายกเทศมนตรี
หรือรองนายกเทศมนตรีมีสิทธิท่ีจะไม่ตอบ เมื่อเห็นว่าข้อความน้ัน ๆ ยังไม่ควรเปิดเผยเพราะเก่ียวกับความ
ปลอดภยั หรือประโยชนส์ าคญั ของเทศบาล

18[๑๘] มาตรา ๒๗ แกไ้ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
19[๑๙] มาตรา ๓๐ วรรคสอง แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
20[๒๐] มาตรา ๓๑ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๓๒21[๒๑] สภาเทศบาลมีอานาจเลือกสมาชิกสภาเทศบาลต้ังเป็นคณะกรรมการ
สามัญของสภาเทศบาล และมีอานาจเลือกบุคคลผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกต้ังเป็นคณะกรรมการวิสามัญของ
สภาเทศบาล เพ่ือกระทากิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเร่ืองใด ๆ อันอยู่ในอานาจหน้าท่ีของสภา
เทศบาล แลว้ รายงานต่อสภาเทศบาล

ในการต้ังคณะกรรมการวิสามัญตามวรรคหนึ่ง นายกเทศมนตรีมีสิทธิเสนอชื่อบุคคลผู้เป็น
หรือมิได้เป็นสมาชิก เพ่ือให้สภาเทศบาลแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ไม่เกินหน่ึงในสี่ของ
จานวนกรรมการทั้งหมด

คณะกรรมการที่สภาเทศบาลตั้งขึ้นตามวรรคหน่ึง จะแต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณา
หรือปฏบิ ตั กิ ารในเรื่องใดเรื่องหน่ึงตามท่ีคณะกรรมการมอบหมายก็ได้

มาตรา ๓๒ ทวิ22[๒๒] ในกรณีกิจการอ่ืนใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของเทศบาลหรือ
ประชาชนในท้องถ่ิน สมาชิกสภาเทศบาลจานวนไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจานวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่หรือ
นายกเทศมนตรีอาจเสนอต่อประธานสภาเทศบาลเพื่อให้มีการออกเสียงประชามติในท้องถิ่นได้ และประกาศ
ใหป้ ระชาชนทราบ

การออกเสียงประชามติต้องเป็นไปเพ่ือประโยชนใ์ นการขอปรึกษาความเห็นของประชาชนว่า
จะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกิจการสาคัญในเร่ืองใดเรื่องหนึ่งตามวรรคหนึ่ง ซึ่งมิใช่เร่ืองท่ีขัดหรือแย้งต่อ
กฎหมาย การออกเสียงประชามติท่ีเก่ียวกับตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือคณะบุคคลใดคณะบุคคลหนึ่ง
โดยเฉพาะจะกระทามิได้

ผู้มีสิทธเิ ลือกตงั้ สมาชกิ สภาเทศบาลย่อมมีสทิ ธิออกเสยี งประชามติ
การออกเสียงประชามติตามมาตรานี้ให้มีผลเป็นเพียงการให้คาปรึกษาแก่สภาเทศบาลหรือ
นายกเทศมนตรีในเร่ืองนนั้
หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารออกเสยี งประชามติใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การออกเสียงประชามติ

มาตรา ๓๓ การประชุมคณะกรรมการตามมาตรา ๓๒ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่ต่ากว่า
กง่ึ จานวนของจานวนกรรมการทง้ั หมด จึงจะเปน็ องคป์ ระชุม

21[๒๑] มาตรา ๓๒ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
22[๒๒] มาตรา ๓๒ ทวิ แกไ้ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

ระเบียบการประชุมของคณะกรรมการให้ใช้ระเบียบข้อบังคับการปร ะชุมสภาเทศบาลโดย
อนุโลม

มาตรา ๓๔23[๒๓] (ยกเลกิ )

มาตรา ๓๕24[๒๔] (ยกเลิก)

บทท่ี ๒
คณะเทศมนตรี25[๒๕]

มาตรา ๓๖26[๒๖] (ยกเลิก)
มาตรา ๓๗27[๒๗] (ยกเลกิ )
มาตรา ๓๘28[๒๘] (ยกเลิก)
มาตรา ๓๙29[๒๙] (ยกเลกิ )
มาตรา ๔๐30[๓๐] (ยกเลิก)

พ.ศ. ๒๕๔๖ 23[๒๓] มาตรา ๓๔ ยกเลิกโดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
24[๒๔] มาตรา ๓๕ ยกเลิกโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
25[๒๕] บทที่ ๒ คณะเทศมนตรี มาตรา ๓๖ ถงึ มาตรา ๔๘ ยกเลิกโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๒)

26[๒๖] มาตรา ๓๖ ยกเลกิ โดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
27[๒๗] มาตรา ๓๗ ยกเลกิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
28[๒๘] มาตรา ๓๘ ยกเลิกโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
29[๒๙] มาตรา ๓๙ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
30[๓๐] มาตรา ๔๐ ยกเลิกโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๔๑31[๓๑] (ยกเลกิ )

มาตรา ๔๒32[๓๒] (ยกเลิก)

มาตรา ๔๓33[๓๓] (ยกเลิก)

มาตรา ๔๔34[๓๔] (ยกเลิก)

มาตรา ๔๕35[๓๕] (ยกเลิก)

มาตรา ๔๖36[๓๖] (ยกเลิก)

มาตรา ๔๗37[๓๗] (ยกเลิก)

มาตรา ๔๘38[๓๘] (ยกเลิก)

บทท่ี ๒ ทวิ
นายกเทศมนตรี39[๓๙]

31[๓๑] มาตรา ๔๑ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
32[๓๒] มาตรา ๔๒ ยกเลกิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
33[๓๓] มาตรา ๔๓ ยกเลิกโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
34[๓๔] มาตรา ๔๔ ยกเลกิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
35[๓๕] มาตรา ๔๕ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
36[๓๖] มาตรา ๔๖ ยกเลิกโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
37[๓๗] มาตรา ๔๗ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
38[๓๘] มาตรา ๔๘ ยกเลิกโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
39[๓๙] บทที่ ๒ ทวิ นายกเทศมนตรี มาตรา ๔๘ ทวิ ถึง มาตรา ๔๘ ปัญจวีสติ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติ
เทศบาล (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓

มาตรา ๔๘ ทวิ40[๔๐] ให้เทศบาลมนี ายกเทศมนตรีคนหน่ึงซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ
ประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาทอ้ งถ่นิ หรอื ผ้บู ริหารทอ้ งถน่ิ

มาตรา ๔๘ ตรี41[๔๑] (ยกเลกิ )

มาตรา ๔๘ จัตวา42[๔๒] (ยกเลิก)

มาตรา ๔๘ เบญจ43[๔๓] บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเป็นนายกเทศมนตรีต้องมีคุณสมบัติ
และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น และต้องมี
คณุ สมบัตแิ ละไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้ ดว้ ย

(๑) มีอายุไมต่ ่ากวา่ สามสบิ ปบี รบิ รู ณใ์ นวันเลอื กตั้ง
(๒) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาท้องถ่ิน
ผูบ้ ริหารทอ้ งถ่นิ หรือสมาชกิ รฐั สภา
(๓) ไมเ่ ป็นผู้ที่พน้ จากตาแหนง่ สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถิ่น
รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือที่ปรึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถ่ิน เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรง
หรือทางอ้อมในสญั ญาทก่ี ระทากบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ยงั ไม่ถงึ หา้ ปนี ับถึงวนั รับสมคั รเลอื กต้ัง
(๔) เคยเป็นสมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถ่ิน ซ่ึงถูกให้พ้นจากตาแหน่งเนื่องจาก
กระทาการทจุ ริตหรอื ประพฤตมิ ิชอบ

มาตรา ๔๘ ฉ44[๔๔] (ยกเลกิ )

มาตรา ๔๘ สัตต45[๔๕] ให้นายกเทศมนตรดี ารงตาแหนง่ นับตงั้ แตว่ นั เลือกตั้ง และมีระยะการ
ดารงตาแหน่งคราวละสีป่ ีนับแตว่ นั เลอื กต้ัง

40[๔๐] มาตรา ๔๘ ทวิ แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
41[๔๑] มาตรา ๔๘ ตรี ยกเลิกโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
42[๔๒] มาตรา ๔๘ จตั วา ยกเลิกโดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
43[๔๓] มาตรา ๔๘ เบญจ แก้ไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
44[๔๔] มาตรา ๔๘ ฉ ยกเลกิ โดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
45[๔๕] มาตรา ๔๘ สตั ต แก้ไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๒

มาตรา ๔๘ อัฏฐ46[๔๖] นายกเทศมนตรีอาจแต่งต้ังรองนายกเทศมนตรีซึ่งมิใช่สมาชิกสภา
เทศบาลเป็นผู้ช่วยเหลือในการบริหารราชการของเทศบาลตามท่ีนายกเทศมนตรีมอบหมายได้ตามเกณฑ์
ดงั ต่อไปนี้

(๑) เทศบาลตาบล ให้แตง่ ตง้ั รองนายกเทศมนตรไี ดไ้ มเ่ กนิ สองคน
(๒) เทศบาลเมอื ง ให้แตง่ ตั้งรองนายกเทศมนตรไี ดไ้ ม่เกินสามคน
(๓) เทศบาลนคร ใหแ้ ตง่ ต้งั รองนายกเทศมนตรไี ดไ้ ม่เกนิ ส่ีคน
นายกเทศมนตรีอาจแต่งต้ังท่ีปรึกษานายกเทศมนตรีและเลขานุการนายกเทศมนตรีซ่ึงมิใช่
สมาชิกสภาเทศบาลได้ โดยในกรณีเทศบาลตาบลให้แต่งตั้งได้จานวนรวมกันไม่เกินสองคน ในกรณีเทศบาล
เมืองให้แต่งตั้งได้จานวนรวมกันไม่เกินสามคน และในกรณีเทศบาลนครให้แต่งตั้งได้จานวนรวมกันไม่เกินห้า
คน

มาตรา ๔๘ นว47[๔๗] รองนายกเทศมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม
มาตรา ๔๘ เบญจ

มาตรา ๔๘ ทศ48[๔๘] ก่อนนายกเทศมนตรีเข้ารับหน้าที่ ให้ประธานสภาเทศบาลเรียก
ประชุมสภาเทศบาลเพื่อให้นายกเทศมนตรีแถลงนโยบายต่อสภาเทศบาล โดยไม่มีการลงมติ ท้ังนี้ ภายใน
สามสบิ วันนับแต่วันประกาศผลการเลอื กต้งั นายกเทศมนตรี

กรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งประธานสภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาลหรือสภา
เทศบาลถูกยุบตามมาตรา ๒๔ หากมีกรณีที่สาคัญและจาเป็นเร่งด่วนซึ่งปล่อยให้เน่ินช้าไปจะกระทบต่อ
ประโยชน์สาคัญของราชการหรือราษฎร นายกเทศมนตรีจะดาเนินการไปพลางก่อนเท่าท่ีจาเป็นก็ได้ เม่ือได้มี
การเลือกประธานสภาเทศบาลแล้วให้ประธานสภาเทศบาลเรียกประชุมสภาเทศบาลเพื่อให้นายกเทศมนตรี
แถลงนโยบายโดยไมม่ ีการลงมตภิ ายในสบิ หา้ วันนับแตว่ นั ท่ีมกี ารเลอื กประธานสภาเทศบาล

การประชุมเพอื่ แถลงนโยบายของนายกเทศมนตรีให้กระทาโดยเปิดเผย โดยนายกเทศมนตรี
ต้องจัดทานโยบายเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรแจกใหส้ มาชกิ สภาเทศบาลทกุ คนที่มาประชุมดว้ ย

หากนายกเทศมนตรีไม่สามารถแถลงนโยบายต่อสภาเทศบาลได้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้ง
ให้นายกเทศมนตรีจัดทานโยบายแจ้งเป็นหนังสือส่งให้สมาชิกสภาเทศบาลทุกคนภายในเจ็ดวัน โดยให้นา

46[๔๖] มาตรา ๔๘ อฎั ฐ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
47[๔๗] มาตรา ๔๘ นว แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
48[๔๘] มาตรา ๔๘ ทศ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

วิธีการแจ้งคาสั่งทางปกครองเป็นหนังสือตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชก ารทางปกครองมาใช้บังคับโดย
อนโุ ลม ในกรณเี ชน่ นใ้ี ห้ถือวา่ นายกเทศมนตรไี ดแ้ ถลงนโยบายต่อสภาเทศบาลแลว้

ให้นายกเทศมนตรีจัดทารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายท่ีได้แถลงไว้ต่อสภา
เทศบาลเปน็ ประจาทุกปี

คาแถลงนโยบายของนายกเทศมนตรีและรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานให้ประกาศไว้ โดย
เปดิ เผยท่ีสานักงานเทศบาลดว้ ย

มาตรา ๔๘ เอกาทศ49[๔๙] นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี หรือผู้ซ่ึงนายกเทศมนตรี
มอบหมาย มีสิทธิเข้าประชุมสภาเทศบาลและมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงตลอดจนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงาน
ในหน้าท่ขี องตนตอ่ ทปี่ ระชุม แตไ่ ม่มสี ิทธิออกเสยี งลงคะแนน

มาตรา ๔๘ ทวาทศ50[๕๐] สมาชิกจานวนไม่น้อยกว่าหนง่ึ ในสามของจานวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่
มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายท่ัวไปในท่ีประชุมสภาเทศบาลเพ่ือให้นายกเทศมนตรีแถลงข้อเท็จจริง
หรอื แสดงความเห็นในปญั หาอันเกี่ยวกับการบรหิ ารราชการเทศบาลโดยไมม่ กี ารลงมติ

ญัตติตามวรรคหน่ึงให้ยื่นต่อประธานสภาเทศบาล และให้ประธานสภาเทศบาลกาหนดวัน
สาหรับการอภิปรายทั่วไป ซึ่งต้องไม่เร็วกว่าห้าวันและไม่ช้ากว่าสิบห้าวันนับแต่วันท่ีได้รับญัตติ แล้วแจ้งให้
นายกเทศมนตรที ราบ

มาตรา ๔๘ เตรส51[๕๑] นายกเทศมนตรีมีอานาจหนา้ ที่ ดังต่อไปนี้
(๑)52[๕๒] กาหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการของ
เทศบาลใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ เทศบัญญตั ิ และนโยบาย
(๒) สั่ง อนุญาต และอนุมัตเิ กย่ี วกบั ราชการของเทศบาล
(๓) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี และเลขานุการ
นายกเทศมนตรี
(๔) วางระเบียบเพ่อื ให้งานของเทศบาลเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย

49[๔๙] มาตรา ๔๘ เอกาทศ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
50[๕๐] มาตรา ๔๘ ทวาทศ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
51[๕๑] มาตรา ๔๘ เตรส เพิ่มโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
52[๕๒] มาตรา ๔๘ เตรส (๑) แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

(๕) รักษาการใหเ้ ปน็ ไปตามเทศบัญญตั ิ
(๖) ปฏิบตั ิหน้าท่อี ื่นตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ วใ้ นพระราชบัญญัติน้ีและกฎหมายอืน่
มาตรา ๔๘ จตุทศ53[๕๓] นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี
และเลขานกุ ารนายกเทศมนตรี ตอ้ งไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปน้ี
(๑) ดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าท่ีอื่นใดในส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
เว้นแตต่ าแหนง่ ทด่ี ารงตามบทบัญญตั แิ ห่งกฎหมาย
(๒) รบั เงนิ หรอื ประโยชนใ์ ด ๆ เป็นพิเศษจากส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
นอกเหนือไปจากทส่ี ่วนราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรือรฐั วิสาหกิจ ปฏบิ ตั กิ บั บคุ คลในธรุ กิจการงานตามปกติ
(๓) เป็นผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่เทศบาลน้ันเป็นคู่สัญญา
หรือในกิจการทกี่ ระทาให้แกเ่ ทศบาลนั้น หรือท่ีเทศบาลนน้ั จะกระทา54[๕๔]
บทบัญญัติตามมาตราน้ีมิให้ใช้บังคับกับกรณีที่บุคคลดังกล่าวตามวรรคหน่ึงได้รับเบ้ียหวัด
บาเหน็จบานาญหรือเงินปีพระบรมวงศานุวงศ์ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน และมิให้ใช้บังคับกับกรณีท่ี
บุคคลดังกล่าว ตามว รรคหน่ึงรับเงินตอบแทนค่าเบี้ยประชุมหรือเงินอื่นใดเน่ื องจากการดารงตาแหน่ง
กรรมาธิการของรฐั สภาหรือวฒุ ิสภาหรอื สภาผแู้ ทนราษฎรหรือสภาเทศบาลหรือสภาท้องถิ่นอ่ืน หรือกรรมการ
ทมี่ กี ฎหมายบญั ญตั ใิ ห้เปน็ โดยตาแหนง่

มาตรา ๔๘ ปญั จทศ55[๕๕] นายกเทศมนตรพี ้นจากตาแหนง่ เมื่อ
(๑) ถึงคราวออกตามวาระ
(๒) ตาย
(๓) ลาออก โดยยนื่ หนังสือลาออกตอ่ ผวู้ ่าราชการจงั หวัด
(๔) ขาดคุณสมบตั หิ รอื มีลักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๔๘ เบญจ
(๕) กระทาการฝา่ ฝนื มาตรา ๔๘ จตุทศ
(๖) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งให้พ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๖๒ ตรี วรรคห้า
หรือมาตรา ๗๓
(๗) ถูกจาคกุ โดยคาพิพากษาถึงทส่ี ุดใหจ้ าคุก

53[๕๓] มาตรา ๔๘ จตุทศ เพมิ่ โดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
54[๕๔] มาตรา ๔๘ จตทุ ศ วรรคหนงึ่ แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
55[๕๕] มาตรา ๔๘ ปญั จทศ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

(๘) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกต้ังในเขตเทศบาลมีจานวนไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจานวนผู้มีสิทธิ
เลือกต้ังที่มาลงคะแนนเสียง เห็นว่านายกเทศมนตรีไม่สมควรดารงตาแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการ
ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชกิ สภาทอ้ งถ่นิ หรอื ผูบ้ รหิ ารท้องถิ่น

ในระหว่างท่ีไม่มีนายกเทศมนตรี ให้ปลัดเทศบาลปฏิบัติหน้าที่ของนายกเทศมนตรีเท่าท่ีจา
เป็นได้เปน็ การชว่ั คราวจนถึงวันประกาศผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี

เมื่อมีข้อสงสัยเกี่ยวกับความเป็นนายกเทศมนตรีสิ้นสุดลงตาม (๔) หรือ (๕) ให้ผู้ว่าราชการ
จังหวดั สอบสวนและวนิ ิจฉยั โดยเรว็ คาวนิ จิ ฉัยของผูว้ ่าราชการจงั หวัดใหเ้ ปน็ ท่ีสดุ

มาตรา ๔๘ โสฬส56[๕๖] รองนายกเทศมนตรีพน้ จากตาแหนง่ เมอ่ื
(๑) นายกเทศมนตรพี น้ จากตาแหนง่
(๒) นายกเทศมนตรีมคี าสงั่ ใหพ้ ้นจากตาแหนง่
(๓) ตาย
(๔) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายกเทศมนตรี
(๕)57[๕๗] ขาดคุณสมบัตหิ รอื มีลักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๔๘ นว
(๖) กระทาการฝา่ ฝนื ตามมาตรา ๔๘ จตทุ ศ
(๗) ถูกจาคกุ โดยคาพิพากษาถึงทสี่ ดุ ให้จาคุก
(๘) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาสอบสวนและส่ังให้ออกจากตาแหน่งตาม
มาตรา ๗๓
ให้นาความใน (๑) (๒) (๓) (๔) (๖) และ (๗) มาใชบ้ งั คบั กบั การพน้ จากตาแหน่งของที่ปรึกษา
นายกเทศมนตรแี ละเลขานุการนายกเทศมนตรีด้วยโดยอนุโลม58[๕๘]
ใหน้ าความในวรรคสามของมาตรา ๔๘ ปญั จทศ มาใชบ้ งั คับกับกรณีของรองนายกเทศมนตรี
ทีป่ รกึ ษานายกเทศมนตรี และเลขานุการนายกเทศมนตรีดว้ ยโดยอนุโลม59[๕๙]

มาตรา ๔๘ สัตตรส60[๖๐] ให้นายกเทศมนตรีควบคุมและรบั ผดิ ชอบในการบริหารกิจการของ
เทศบาลและเปน็ ผู้บังคับบัญชาพนกั งานเทศบาลและลกู จา้ งเทศบาล

56[๕๖] มาตรา ๔๘ โสฬส เพิ่มโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
57[๕๗] มาตรา ๔๘ โสฬส (๕) แก้ไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
58[๕๘] มาตรา ๔๘ โสฬส วรรคสอง แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
59[๕๙] มาตรา ๔๘ โสฬส วรรคสาม เพมิ่ โดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
60[๖๐] มาตรา ๔๘ สัตตรส เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓

มาตรา ๔๘ อัฏฐารส61[๖๑] เทศบาลแบ่งส่วนราชการ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) สานกั ปลัดเทศบาล
(๒) ส่วนราชการอ่ืนตามที่นายกเทศมนตรีประกาศกาหนดโดยความเห็นชอบของ
กระทรวงมหาดไทย
การกาหนดอานาจหน้าท่ีของสานกั ปลัดเทศบาลและส่วนราชการอืน่ ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไป
ตามที่นายกเทศมนตรปี ระกาศกาหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงมหาดไทย

มาตรา ๔๘ เอกูนวีสติ62[๖๒] ให้มีปลัดเทศบาลคนหน่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานเทศบาล
และลูกจ้างเทศบาลรองจากนายกเทศมนตรี และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการประจาของเทศบาลให้เป็นไป
ตามนโยบาย และมอี านาจหนา้ ท่ีอืน่ ตามท่ีมกี ฎหมายกาหนดหรือตามทน่ี ายกเทศมนตรมี อบหมาย

การบรหิ ารงานบคุ คลของเทศบาลให้เป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการนน้ั

มาตรา ๔๘ วีสติ63[๖๓] อานาจหน้าที่ในการสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรอง
นายกเทศมนตรี ใหเ้ ปน็ ไปตามที่นายกเทศมนตรีมอบหมาย

ในกรณีที่นายกเทศมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองนายกเทศมนตรี ตามลาดับที่
นายกเทศมนตรีจดั ไวเ้ ปน็ ผรู้ ักษาราชการแทน ถ้าไม่มีรองนายกเทศมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้
ปลัดเทศบาลเปน็ ผูร้ ักษาราชการแทน

อานาจในการส่ัง การอนุญาต การอนุมัติ หรือการปฏิบัติราชการท่ีนายกเทศมนตรีจะพึง
ปฏิบัติหรือดาเนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ หรือคาสั่งใด หรือมติของ
คณะรัฐมนตรใี นเร่ืองใด ถา้ กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ หรือคาสั่งน้ัน หรือมติของ
คณะรัฐมนตรีในเรื่องน้ันไม่ได้กาหนดในเร่ืองการมอบอานาจไว้เป็นอย่างอื่น นายกเทศมนตรีอาจมอบอานาจ
โดยทาเป็นหนังสือให้รองนายกเทศมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติราชการแทนนายกเทศมนตรีก็ได้ แต่ถ้ามอบให้
ปลดั เทศบาลหรือรองปลัดเทศบาลปฏบิ ตั ิราชการแทน ใหท้ าเป็นคาสัง่ และประกาศให้ประชาชนทราบ

การปฏบิ ัติราชการแทนนายกเทศมนตรีตามวรรคสาม ต้องกระทาภายใต้การกากับดูแลและ
กรอบนโยบายทีน่ ายกเทศมนตรีกาหนดไว้

61[๖๑] มาตรา ๔๘ อัฏฐารส เพิม่ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
62[๖๒] มาตรา ๔๘ เอกนู วีสติ เพิ่มโดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
63[๖๓] มาตรา ๔๘ วีสติ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓

มาตรา ๔๘ เอกวีสติ64[๖๔] ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ ให้นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี และ
พนักงานเทศบาลเป็นเจา้ พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๔๘ ทวาวสี ติ65[๖๕] ถา้ ในเขตเทศบาลใด รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเห็นเป็น
การสมควรใหน้ ายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล รองปลัดเทศบาล หรอื หวั หนา้ ส่วนราชการใน
เขตเทศบาลน้ันมีอานาจเปรยี บเทียบคดลี ะเมดิ เทศบญั ญัตไิ ด้ ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษา

ในการเปรียบเทียบคดีตามวรรคหนึ่ง ให้นาบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญามาใช้บังคับโดยอนุโลม เม่ือได้เปรียบเทียบคดีใดแล้ว ให้รีบส่งบันทึกการเปรียบเทียบพร้อมด้วย
สานวนไปยังพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบแห่งเขตท้องท่ีซึ่งเทศบาลน้ันตั้งอยู่เพ่ือดาเนินการต่อไปตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาโดยไมช่ กั ชา้

มาตรา ๔๘ เตวีสติ66[๖๖] เมื่อพ้นกาหนดเวลาหน่ึงปีนับแต่วันท่ีได้มีประกาศ
กระทรวงมหาดไทยยกฐานะทอ้ งถิ่นใดเปน็ เทศบาลแลว้ ใหน้ ายกเทศมนตรีมอี านาจหนา้ ทีอ่ ย่างเดียวกับอานาจ
หน้าที่ของกานันและผใู้ หญ่บา้ น บรรดาท่ีบัญญัตไิ วใ้ นกฎหมายวา่ ด้วยลักษณะปกครองท้องที่ หรือกฎหมายอื่น
ทง้ั นี้ ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

ในกรณีท่ีเทศบาลตาบลใดมีท้ังนายกเทศมนตรี และกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
แพทยป์ ระจาตาบล และสารวัตรกานัน ให้บุคคลดังกล่าวมีอานาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครอง
ทอ้ งทีห่ รือกฎหมายอน่ื ในเขตเทศบาลตาบลตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๔๘ จตุวีสติ67[๖๗] เงินเดือนและประโยชนต์ อบแทนอย่างอ่นื ของนายกเทศมนตรี รอง
นายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี และเลขานุการนายกเทศมนตรี ให้เป็นไปตามระเบียบท่ี
กระทรวงมหาดไทยกาหนด

64[๖๔] มาตรา ๔๘ เอกวสี ติ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
65[๖๕] มาตรา ๔๘ ทวาวสี ติ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
66[๖๖] มาตรา ๔๘ เตวสี ติ แก้ไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
67[๖๗] มาตรา ๔๘ จตุวีสติ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๔๘ ปัญจวีสติ68[๖๘] ในกรณีที่บทบัญญัติมาตราใดในพระราชบัญญัติน้ีกล่าวถึงคณะ
เทศมนตรี ให้หมายถงึ นายกเทศมนตรี บทบัญญัติมาตราใดกล่าวถึงเทศมนตรี ให้หมายถึงรองนายกเทศมนตรี
เว้นแตบ่ ทบัญญตั ิมาตราใดมขี ้อความเปน็ อย่างเดียวกนั หรือขดั แย้งกันกบั บทบญั ญัตใิ นบทน้ี ให้ใช้บทบัญญัติใน
บทน้ีแทน

บรรดาบทบัญญัตแิ หง่ กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ขอ้ บัญญัติ เทศบัญญัติ ประกาศ หรือ
คาส่ังใดที่อ้างถึงคณะเทศมนตรีหรือเทศมนตรีให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
ข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ประกาศ หรือคาสั่งน้ัน อ้างถึงนายกเทศมนตรีตามบทน้ี ท้ังนี้ เท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับ
บทบญั ญัติแห่งบทนี้

สว่ นท่ี ๓
หน้าทีข่ องเทศบาล

บทท่ี ๑
เทศบาลตาบล

มาตรา ๔๙69[๖๙] (ยกเลิก)

ดังต่อไปนี้ มาตรา ๕๐70[๗๐] ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตาบลมีหน้าที่ต้องทาในเขตเทศบาล
ส่ิงปฏิกลู
(๑) รักษาความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน
(๒) ให้มีและบารุงทางบกและทางนา้
(๓) รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมท้ังการกาจัดมูลฝอยและ

(๔) ปอ้ งกนั และระงับโรคติดต่อ

68[๖๘] มาตรา ๔๘ ปัญจวีสติ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
69[๖๙] มาตรา ๔๙ ยกเลกิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
70[๗๐] มาตรา ๕๐ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๖ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม

พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๕

(๕) ใหม้ เี ครอื่ งใชใ้ นการดบั เพลงิ
(๖) ใหร้ าษฎรได้รับการศกึ ษาอบรม
(๗)71[๗๑] ส่งเสรมิ การพฒั นาสตรี เดก็ เยาวชน ผสู้ ูงอายุ และผพู้ กิ าร
(๘)72[๗๒] บารุงศลิ ปะ จารีตประเพณี ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของทอ้ งถิน่
(๙)73[๗๓] หนา้ ทีอ่ ืน่ ตามที่กฎหมายบญั ญัติใหเ้ ปน็ หนา้ ทขี่ องเทศบาล
การปฏิบัติงานตามอานาจหน้าท่ีของเทศบาลต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนโดย
ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี และให้คานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทาแผนพัฒนา
เทศบาล การจัดทางบประมาณ การจัดซ้ือจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการ
เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ท้ังน้ี ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการน้ัน และหลักเกณฑ์และ
วิธีการท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด74[๗๔]

มาตรา ๕๑75[๗๕] ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตาบลอาจจัดทากิจการใด ๆ ในเขต
เทศบาล ดงั ต่อไปนี้

(๑) ให้มีนา้ สะอาดหรือการประปา
(๒) ให้มโี รงฆา่ สัตว์
(๓) ใหม้ ตี ลาด ท่าเทยี บเรือและท่าขา้ ม
(๔) ให้มสี สุ านและฌาปนสถาน
(๕) บารุงและสง่ เสรมิ การทามาหากินของราษฎร
(๖) ใหม้ ีและบารุงสถานท่ีทาการพทิ ักษ์รักษาคนเจบ็ ไข้
(๗) ใหม้ แี ละบารงุ การไฟฟา้ หรือแสงสวา่ งโดยวิธอี ่ืน
(๘) ให้มแี ละบารุงทางระบายนา้
(๙) เทศพาณชิ ย์

71[๗๑] มาตรา ๕๐ (๗) แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
72[๗๒] มาตรา ๕๐ (๘) เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
73[๗๓] มาตรา ๕๐ (๙) เพม่ิ โดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
74[๗๔] มาตรา ๕๐ วรรคสอง เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
75[๗๕] มาตรา ๕๑ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๑๑

บทที่ ๒
เทศบาลเมือง

มาตรา ๕๒76[๗๖] (ยกเลิก)

ดังตอ่ ไปนี้ มาตรา ๕๓77[๗๗] ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลเมืองมีหน้าท่ีต้องทาในเขตเทศบาล

(๑) กิจการตามทรี่ ะบุไว้ในมาตรา ๕๐
(๒) ให้มนี า้ สะอาดหรือการประปา
(๓) ให้มีโรงฆา่ สตั ว์
(๔) ใหม้ แี ละบารุงสถานทท่ี าการพิทักษ์และรักษาคนเจ็บไข้
(๕) ให้มแี ละบารงุ ทางระบายน้า
(๖) ให้มแี ละบารุงส้วมสาธารณะ
(๗) ใหม้ ีและบารุงการไฟฟา้ หรือแสงสวา่ งโดยวิธีอนื่
(๘) ใหม้ กี ารดาเนนิ กิจการโรงรับจานาหรือสถานสินเชือ่ ท้องถิน่

มาตรา ๕๔78[๗๘] ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลเมืองอาจจัดทากิจการใด ๆ ในเขต
เทศบาล ดงั ต่อไปน้ี

(๑) ใหม้ ีตลาด ทา่ เทียบเรือและท่าข้าม
(๒) ให้มีสสุ านและฌาปนสถาน
(๓) บารงุ และสง่ เสรมิ การทามาหากินของราษฎร
(๔) ใหม้ แี ละบารงุ การสงเคราะหม์ ารดาและเดก็
(๕) ให้มแี ละบารงุ โรงพยาบาล
(๖) ให้มกี ารสาธารณปู การ
(๗) จัดทากจิ การซงึ่ จาเปน็ เพ่ือการสาธารณสขุ

76[๗๖] มาตรา ๕๒ ยกเลิกโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
77[๗๗] มาตรา ๕๓ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๑๗
78[๗๘] มาตรา ๕๔ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๑๑

(๘) จดั ตง้ั และบารงุ โรงเรียนอาชวี ศึกษา
(๙) ใหม้ แี ละบารงุ สถานทส่ี าหรับการกฬี าและพลศกึ ษา
(๑๐) ให้มีและบารงุ สวนสาธารณะ สวนสัตวแ์ ละสถานทพ่ี ักผอ่ นหย่อนใจ
(๑๑) ปรบั ปรงุ แหลง่ เส่อื มโทรม และรกั ษาความสะอาดเรยี บรอ้ ยของทอ้ งถ่นิ
(๑๒) เทศพาณชิ ย์

บทที่ ๓
เทศบาลนคร

มาตรา ๕๕79[๗๙] (ยกเลิก)

ดงั ต่อไปนี้ มาตรา ๕๖ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลนครมีหน้าที่ต้องทาในเขตเทศบาล
บริการอนื่
(๑) กิจการตามทรี่ ะบุไว้ในมาตรา ๕๓
(๒) ให้มแี ละบารงุ การสงเคราะห์มารดาและเดก็
(๓) กจิ การอยา่ งอื่นซึ่งจาเป็นเพื่อการสาธารณสุข
(๔)80[๘๐] การควบคุมสุขลักษณะและอนามัยในร้านจาหน่ายอาหาร โรงมหรสพ และสถาน

(๕)81[๘๑] จัดการเกย่ี วกับทอี่ ยู่อาศัยและการปรับปรงุ แหล่งเส่ือมโทรม
(๖)82[๘๒] จดั ใหม้ ีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าขา้ ม และที่จอดรถ
(๗)83[๘๓] การวางผงั เมืองและการควบคมุ การก่อสร้าง
(๘)84[๘๔] การส่งเสริมกิจการการทอ่ งเท่ยี ว

79[๗๙] มาตรา ๕๕ ยกเลกิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
80[๘๐] มาตรา ๕๖ (๔) เพิม่ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
81[๘๑] มาตรา ๕๖ (๕) เพิ่มโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
82[๘๒] มาตรา ๕๖ (๖) เพมิ่ โดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
83[๘๓] มาตรา ๕๖ (๗) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
84[๘๔] มาตรา ๕๖ (๘) เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒

มาตรา ๕๗ เทศบาลนครอาจจดั ทากิจการอนื่ ๆ ตามมาตรา ๕๔ ได้

บทท่ี ๓ ทวิ
การทาการนอกเขตเทศบาล
และการทาการร่วมกบั บคุ คลอืน่ 85[๘๕]

มาตรา ๕๗ ทวิ86[๘๖] เทศบาลอาจทากิจการนอกเขต เมอื่
(๑) การน้ันจาเป็นต้องทาและเป็นการที่เกี่ยวเน่ืองกับกิจการที่ดาเนินตามอานาจหน้าที่อยู่
ภายในเขตของตน
(๒) ได้รับความยินยอมจากสภาเทศบาล คณะกรรมการสุขาภิบาล สภาจังหวัด หรือสภา
ตาบลแหง่ ทอ้ งถนิ่ ทเ่ี ก่ียวข้อง และ
(๓) ได้รบั อนมุ ัตจิ ากรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย

มาตรา ๕๗ ตรี87[๘๗] เทศบาลอาจทาการร่วมกับบุคคลอื่นโดยก่อต้ังบริษัทจากัด หรือถือหุ้น
ในบรษิ ทั จากดั เมอื่

(๑) บรษิ ัทจากัดนน้ั มวี ตั ถุประสงคเ์ ฉพาะเพือ่ กจิ การคา้ ขายอันเปน็ สาธารณปู โภค
(๒) เทศบาลต้องถือหุ้นเป็นมูลค่าเกินกว่าร้อยละห้าสิบของทุนท่ีบริษัทนั้นจดทะเบียนไว้ ใน
กรณีท่ีมีหลายเทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตาบลหรือสุขาภิบาล ถือหุ้นอยู่ใน
บริษทั เดยี วกนั ใหน้ ับห้นุ ท่ีถอื นัน้ รวมกัน และ
(๓) ไดร้ บั อนมุ ตั ิจากรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย
ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง จ า น ว น หุ้ น ท่ี เ ท ศ บ า ล ถื อ อ ยู่ ใ น บ ริ ษั ท จ า กั ด ต้ อ ง ไ ด้ รั บ อ นุ มั ติ จ า ก
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

85[๘๕] บทท่ี ๓ ทวิ การทาการนอกเขตเทศบาลและการทาการร่วมกบั บคุ คลอ่ืน มาตรา ๕๗ ทวิ ถึง มาตรา
๕๗ ตรี เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๑๑

86[๘๖] มาตรา ๕๗ ทวิ เพม่ิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๑๑
87[๘๗] มาตรา ๕๗ ตรี เพิม่ โดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๑๑

ความใน (๑) และ (๒) ของวรรคหน่ึง ไม่ใช้บังคับในกรณีท่ีบริษัทจากัดที่เทศบาลร่วมก่อตั้ง
หรือถอื หุ้นนั้น ไมม่ ีเอกชนถอื หุ้นอย่ดู ้วย

บทท่ี ๔
สหการ

มาตรา ๕๘ ถ้ามีกิจการใดอันอยู่ภายในอานาจหน้าที่ของเทศบาลต้ังแต่สองแห่งขึ้นไปที่จะ
ร่วมกันทาเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่ง ก็ให้จัดตั้งเป็นองค์การขึ้นเรียกว่าสหการ มีสภาพเป็นทบวงการเมือง
และมีคณะกรรมการบริหาร ประกอบดว้ ยผู้แทนของเทศบาลทเี่ กย่ี วข้องอยดู่ ว้ ย

การจดั ต้ังสหการจะทาได้กแ็ ตโ่ ดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาซ่ึงจะได้กาหนดชื่อ อานาจหน้าท่ี
และระเบยี บการดาเนนิ งานไว้

การยบุ เลกิ สหการให้ตราเปน็ พระราชกฤษฎกี าโดยกาหนดวธิ กี ารจัดทรัพยส์ ินไวด้ ว้ ย

มาตรา ๕๙ สหการอาจได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และอาจกู้เงินได้ภายใต้บังคับมาตรา
๖๖ (๕) หรือ (๖)

ส่วนที่ ๔
เทศบญั ญตั ิ

มาตรา ๖๐88[๘๘] เทศบาลมีอานาจตราเทศบัญญัติโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อบทกฎหมายในกรณี
ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) เพอ่ื ปฏิบตั ิการให้เป็นไปตามหน้าท่ีของเทศบาลทีก่ าหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั นิ ้ี
(๒) เม่อื มกี ฎหมายบัญญัติให้เทศบาลตราเทศบัญญัตหิ รอื ใหม้ ีอานาจตราเทศบญั ญัติ
ในเทศบญั ญตั ิน้นั จะกาหนดโทษปรับผู้ละเมิดเทศบัญญัติไว้ด้วยก็ได้ แต่ห้ามมิให้กาหนดเกิน
กว่าหน่ึงพนั บาท

88[๘๘] มาตรา ๖๐ แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๐

มาตรา ๖๑89[๘๙] เทศพาณิชย์ของเทศบาล ให้ตราเป็นเทศบัญญัติ กิจการใดท่ีเทศบาลมี
รายไดห้ รือผลพลอยไดอ้ ันเกดิ จากการกระทาตามอานาจหน้าที่ จะไม่ตราเปน็ เทศบัญญัติกไ็ ด้

มาตรา ๖๑ ทวิ90[๙๐] ร่างเทศบัญญัตจิ ะเสนอไดก้ ็แตโ่ ดย
(๑) นายกเทศมนตรี
(๒) สมาชิกสภาเทศบาล หรอื
(๓) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกต้ังในเขตเทศบาลตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอข้อบัญญัติ
ท้องถนิ่
ในกรณีท่ีสมาชิกสภาเทศบาลเป็นผู้เสนอร่างเทศบัญญัติต้องมีสมาชิกสภาเทศบาลลงนาม
รับรองไม่นอ้ ยกว่าสองคน
ร่างเทศบัญญัติเก่ียวกับการเงิน สมาชิกสภาเทศบาลจะเสนอได้ต่อเม่ือมีคารับรองของ
นายกเทศมนตรี

มาตรา ๖๑ ตรี91[๙๑] ร่างเทศบัญญตั เิ กยี่ วกับการเงนิ หมายความถึงรา่ งเทศพาณิชย์ หรือร่าง
เทศบัญญตั วิ า่ ด้วยเรื่องใดเร่อื งหนึ่ง ดังต่อไปนี้

(๑) การจดั เกบ็ ยกเลกิ ลด เปล่ียนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวางระเบียบ การบังคับอันเก่ียวกับ
ภาษอี ากร

(๒) การเกบ็ รกั ษาเงนิ การจา่ ยเงนิ หรอื การโอนงบประมาณของเทศบาล
(๓) การกู้เงนิ การคา้ ประกนั หรือการใช้เงินกู้
(๔) การคลัง การงบประมาณ การเงิน ทรัพย์สิน การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน การ
จ้าง และการพสั ดุ
ในกรณีเป็นท่ีสงสัยว่าร่างเทศบัญญัติใดเป็นร่างเทศบัญญัติเก่ียวกับการเงินที่จะต้องมีคา
รับรองของนายกเทศมนตรี ให้ประธานสภาเทศบาลเป็นผู้วนิ จิ ฉัย

89[๘๙] มาตรา ๖๑ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๓๓๖ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม
พุทธศักราช ๒๕๑๕

90[๙๐] มาตรา ๖๑ ทวิ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
91[๙๑] มาตรา ๖๑ ตรี เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓

มาตรา ๖๒92[๙๒] ภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีสภาเทศบาลได้มีมติเห็นชอบด้วยกับร่างเทศ
บัญญัติใด ในกรณีเทศบาลตาบล ให้ประธานสภาเทศบาลส่งร่างเทศบัญญัติไปยังนายอาเภอเพ่ือส่งไปยังผู้ว่า
ราชการจังหวัดพิจารณา ในกรณีเทศบาลเมืองและเทศบาลนคร ให้ประธานสภาเทศบาลส่งไปยังผู้ว่าราชการ
จังหวัดพจิ ารณา

ผ้วู ่าราชการจงั หวดั ตอ้ งพิจารณารา่ งเทศบญั ญตั ิตามวรรคหนึ่งใหเ้ สรจ็ และส่งคืนประธานสภา
เทศบาลภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับร่างเทศบัญญัติน้ัน ถ้าผู้ว่าราชการจังหวัดไม่พิจารณาให้แล้วเสร็จ
ภายในระยะเวลาทก่ี าหนด ให้ถอื ว่าผู้ว่าราชการจังหวดั เหน็ ชอบดว้ ยกับรา่ งเทศบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว

ในกรณีที่ผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นชอบด้วยกับร่างเทศบัญญัติตามวรรคหน่ึง ให้ส่ง
นายกเทศมนตรีลงนามใช้บังคับเป็นเทศบัญญัติต่อไป แต่ถ้าผู้ว่าราชการจังหวัดไม่เห็นชอบด้วย ให้ส่งร่างเทศ
บัญญัติน้ันพร้อมด้วยเหตุผลคืนไปยังสภาเทศบาล และให้สภาเทศบาลพิจารณาใหม่ภายในสามสิบวันนับแต่
วันที่ได้รับร่างเทศบัญญัติคนื มา ถ้าสภาเทศบาลมมี ติยนื ยนั ตามร่างเทศบัญญัติเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า
สองในสามของสมาชกิ สภาเทศบาลเท่าทีม่ อี ยู่ ใหป้ ระธานสภาเทศบาลส่งร่างเทศบัญญัติน้ันให้นายกเทศมนตรี
ลงนามใชบ้ ังคับเป็นเทศบัญญัติ และแจ้งให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบต่อไป แต่ถ้าสภาเทศบาลไม่ยืนยันภายใน
สามสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับร่างเทศบัญญัติคืนจากผู้ว่าราชการจังหวัด หรือยืนยันตามร่างเทศบัญญัติเดิมด้วย
คะแนนเสียงนอ้ ยกว่าสองในสามของสมาชกิ สภาเทศบาลเทา่ ทีม่ อี ยู่ ให้ร่างเทศบัญญตั ิน้นั เป็นอันตกไป93[๙๓]

มาตรา ๖๒ ทวิ94[๙๔] (ยกเลิก)

มาตรา ๖๒ ตรี95[๙๕] ในกรณีท่ีสภาเทศบาลไม่รับหลักการแห่งร่างเทศบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการคณะ
หน่ึงประกอบด้วยกรรมการจานวนสิบห้าคน เพ่ือพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยแก้ไข ปรับปรุง หรือ
ยืนยนั สาระสาคญั ในรา่ งเทศบัญญัติน้ัน ทั้งน้ี ให้ยึดถือหลักเกณฑ์ตามกฎหมาย ระเบียบที่เก่ียวข้อง ตลอดจน
ประโยชน์ของทอ้ งถ่นิ และประชาชนเป็นสาคัญ

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้ประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งสภาเทศบาลเสนอ
จานวนเจ็ดคน และบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งนายกเทศมนตรีเสนอจานวนเจ็ดคน โดย
ให้แตง่ ตั้งภายในเจด็ วันนับแต่วันท่ีสภาเทศบาลมีมติไม่รับหลักการ และให้กรรมการทั้งสิบสี่คนร่วมกันปรึกษา

92[๙๒] มาตรา ๖๒ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓
93[๙๓] มาตรา ๖๒ วรรคสาม แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
94[๙๔] มาตรา ๖๒ ทวิ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
95[๙๕] มาตรา ๖๒ ตรี แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

และเสนอบุคคล ซึ่งมิได้เป็นนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษา
นายกเทศมนตรี และมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลคนหนึ่ง ทาหน้าที่เป็นประธานกรรมการดังกล่าวภายในเจ็ด
วนั นับแตว่ นั ทีก่ รรมการครบจานวนสบิ สีค่ น

ในกรณีทไ่ี ม่สามารถเสนอบุคคลท่ีจะทาหน้าท่ีเป็นกรรมการหรือประธานกรรมการได้ภายใน
กาหนดเวลาตามวรรคสอง หรือกรรมการหรือประธานกรรมการไม่ปฏิบัติ หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้ผู้ว่า
ราชการจงั หวัดต้งั บุคคลซึ่งมิได้เป็นนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ท่ีปรึกษา
นายกเทศมนตรี และมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลทาหน้าที่กรรมการหรือประธานกรรมการดังกล่าวให้ครบ
ตามจานวน

ให้คณะกรรมการตามวรรคหนงึ่ พจิ ารณาร่างเทศบญั ญัติให้แลว้ เสรจ็ ภายในสิบห้าวันนับต้ังแต่
วันท่ีได้แต่งต้ังประธานกรรมการในคราวแรก แล้วรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ในกรณีท่ีคณะกรรมการไม่
สามารถพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด ให้ประธานกรรมการรวบรวมผลการพิจารณาแล้ว
วินจิ ฉัยชข้ี าดโดยเร็ว แลว้ รายงานต่อผวู้ า่ ราชการจังหวัด

ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดส่งร่างเทศบัญญัติที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการหรือประธาน
กรรมการในวรรคสี่ให้นายกเทศมนตรีโดยเร็ว แล้วให้นายกเทศมนตรีเสนอร่างเทศบัญญัติดังกล่าวต่อสภา
เทศบาลตามมาตรา ๖๑ ทวิ ภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีได้รับร่างเทศบัญญัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด หาก
นายกเทศมนตรไี มเ่ สนอร่างเทศบัญญัตินัน้ ตอ่ สภาเทศบาลภายในเวลาที่กาหนด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดรายงาน
ต่อรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยเพือ่ ส่ังใหน้ ายกเทศมนตรพี น้ จากตาแหนง่

มาตรา ๖๒ จัตวา96[๙๖] ให้สภาเทศบาลพิจารณาร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายตาม
มาตรา ๖๒ ตรี วรรคห้า ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับร่างเทศบัญญัติจากนายกเทศมนตรี
หากสภาเทศบาลพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในกาหนดหรือมีมติไม่เห็นชอบให้ตราเทศบัญญัตินั้น ให้ร่างเทศ
บัญญัตินัน้ ตกไป และใหใ้ ช้เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายในปีงบประมาณปที ่ีแล้วไปพลางก่อน ในกรณีเช่นว่า
นี้ ให้ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั เสนอรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยใหม้ คี าส่งั ยบุ สภาเทศบาล

ในการพิจารณารา่ งเทศบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายของสภาเทศบาล การเสนอ การแปรญัตติ
หรือการกระทาด้วยประการใด ๆ ที่มีผลให้สมาชิกมีส่วนไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในการใช้งบประมาณ
รายจ่าย จะกระทามไิ ด้

96[๙๖] มาตรา ๖๒ จัตวา เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๖๓ นอกจากท่ีได้มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น เทศบัญญัติน้ันให้ใช้บังคับได้
เม่ือประกาศไว้โดยเปิดเผยที่สานักงานเทศบาลแล้วเจ็ดวัน เว้นแต่ในกรณีฉุกเฉิน ถ้ามีความระบุไว้ในเทศ
บัญญตั ินนั้ วา่ ใหใ้ ช้บงั คับทันที กใ็ หใ้ ช้บงั คบั ในวันทไ่ี ด้ประกาศนนั้

มาตรา ๖๔ ในกรณีฉุกเฉินซึ่งจะเรียกประชุมสภาเทศบาลให้ทันท่วงทีมิได้ คณะเทศมนตรี
อาจออกเทศบัญญัติชั่วคราวได้เมื่อได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด และเมื่อได้ประกาศไว้โดยเปิดเผยท่ี
สานกั งานเทศบาลแลว้ ก็ให้ใช้บังคับได้

ในการประชมุ สภาเทศบาลคราวตอ่ ไป ให้นาเทศบญั ญตั ิช่วั คราวนนั้ เสนอต่อสภาเทศบาลเพื่อ
อนุมตั ิ ถา้ สภาเทศบาลอนุมัติแลว้ เทศบญั ญตั ชิ วั่ คราวน้ันก็เป็นเทศบัญญัติต่อไป ถ้าสภาเทศบาลไม่อนุมัติ เทศ
บญั ญตั ชิ ั่วคราวนัน้ กเ็ ป็นอันตกไป แต่ทงั้ นี้ไม่กระทบถึงกิจการที่ไดเ้ ป็นไปในระหวา่ งที่ใช้เทศบัญญตั ชิ ว่ั คราวนัน้

คาอนุมตั แิ ละไมอ่ นุมัตขิ องสภาเทศบาลท่ีกล่าวน้ี ใหท้ าเปน็ เทศบัญญัติ

ส่วนที่ ๕
การคลงั และทรพั ยส์ นิ ของเทศบาล

มาตรา ๖๕ งบประมาณประจาปีของเทศบาลต้องตราขึ้นเป็นเทศบัญญัติ ถ้าเทศบัญญัติ
งบประมาณออกไม่ทนั ปีใหม่ ให้ใช้เทศบญั ญัติงบประมาณปกี อ่ นนัน้ ไปพลาง

ถ้าในปีใดจานวนเงินซึ่งได้อนุญาตไว้ตามงบประมาณปรากฏว่าไม่พอสาหรับการใช้จ่าย
ประจาปีก็ดี หรือมีความจาเป็นที่จะต้องตั้งรายรับหรือรายจ่ายข้ึนใหม่ในระหว่างปีก็ดี ให้ตราข้ึนเป็นเทศ
บญั ญตั ิงบประมาณเพ่ิมเติม

มาตรา ๖๖97[๙๗] เทศบาลอาจมรี ายได้ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ภาษอี ากรตามแต่จะมีกฎหมายกาหนดไว้
(๒) คา่ ธรรมเนียม ค่าใบอนญุ าต และค่าปรับ ตามแตจ่ ะมกี ฎหมายกาหนดไว้
(๓) รายไดจ้ ากทรัพย์สินของเทศบาล
(๔) รายได้จากการสาธารณปู โภคและเทศพาณิชย์
(๕) พันธบตั ร หรอื เงินกู้ ตามแต่จะมีกฎหมายกาหนดไว้

97[๙๗] มาตรา ๖๖ แกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๘

(๖) เงนิ กูจ้ ากกระทรวง ทบวง กรม องค์การ หรอื นติ บิ ุคคลต่าง ๆ
(๗) เงินอุดหนนุ จากรัฐบาลหรอื องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด
(๘) เงินและทรัพย์สนิ อยา่ งอื่นที่มีผูอ้ ทุ ศิ ให้
(๙) รายไดอ้ ื่นใดตามแตจ่ ะมีกฎหมายกาหนดไว้
การกู้เงินตาม (๖) เทศบาลจะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากสภาเทศบาล และได้รับ
อนุมตั ิจากรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยแล้ว

มาตรา ๖๗98[๙๘] เทศบาลอาจมีรายจ่าย ดังต่อไปน้ี
(๑) เงินเดอื น
(๒) ค่าจา้ ง
(๓) เงินตอบแทนอน่ื ๆ
(๔) คา่ ใช้สอย
(๕) คา่ วัสดุ
(๖) ค่าครุภัณฑ์
(๗) คา่ ท่ดี นิ สิ่งกอ่ สร้าง และทรพั ย์สนิ อ่นื ๆ
(๘) เงินอดุ หนุน
(๙) รายจ่ายอื่นใดตามข้อผูกพันหรือตามที่มีกฎหมายหรือระเบียบของกระทรวงมหาดไทย

กาหนดไว้

มาตรา ๖๗ ทวิ99[๙๙] การจ่ายเงินตามมาตรา ๖๗ (๘) และการจ่ายเงินเพื่อการลงทุน
เทศบาลจะกระทาได้เมอ่ื ได้รบั ความเห็นชอบจากสภาเทศบาลและผ้วู ่าราชการจังหวดั อนุมัตแิ ล้ว

มาตรา ๖๗ ตรี100[๑๐๐] การจ่ายเงินตามมาตรา ๖๗ (๙) ถ้าเป็นการชาระเงินกู้เม่ือถึงกาหนด
ชาระ เทศบาลจะต้องชาระเงินกู้น้ันจากทรัพย์สินของเทศบาลไม่ว่าจะต้ังงบประมาณรายจ่ายประเภทน้ีไว้
หรือไม่

98[๙๘] มาตรา ๖๗ แก้ไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕
99[๙๙] มาตรา ๖๗ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕
100[๑๐๐] มาตรา ๖๗ ตรี เพิ่มโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕

มาตรา ๖๘101[๑๐๑] การจ่ายเงินค่าตอบแทนแก่ประธานสภาเทศบาล รองประธานสภา
เทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล และการจ่ายเงินค่าเบ้ียประชุมให้แก่กรรมการที่สภาเทศบาลแต่งต้ังขึ้น ให้
เป็นไปตามระเบยี บทก่ี ระทรวงมหาดไทยกาหนด

มาตรา ๖๙ ให้กระทรวงมหาดไทยตราระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการคลังรวมตลอดถึงวิธีการ
งบประมาณ การรักษาทรัพย์สิน การจดั หาประโยชน์จากทรัพย์สิน การจัดหาพัสดแุ ละการจ้างเหมาขึ้นไว้

มาตรา ๗๐ โดยปกติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจัดให้มีการตรวจสอบการคลัง
การบัญชี หรอื การเงนิ อนื่ ๆ ของเทศบาลปลี ะคร้ัง

สว่ นที่ ๖
การควบคมุ เทศบาล

มาตรา ๗๑ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอานาจหน้าท่ีควบคุมดูแลเทศบาลในจังหวัดน้ันให้
ปฏิบัตกิ ารตามอานาจหนา้ ท่โี ดยถกู ต้องตามกฎหมาย ในการนี้ให้มีอานาจหน้าท่ีชี้แจงแนะนาตักเตือนเทศบาล
และตรวจสอบกจิ การ เรียกรายงานและเอกสารหรอื สถติ ิใด ๆ จากเทศบาลมาตรวจ ตลอดจนเรียกสมาชิกสภา
เทศบาลหรือพนักงานเทศบาลมาช้แี จงหรอื สอบสวนกไ็ ด้

ให้นายอาเภอมีอานาจหน้าท่ีช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดควบคุมดูแลเทศบาลตาบลในอาเภอน้ัน
ให้ปฏิบัติการตามอานาจหน้าท่ีโดยถูกต้องตามกฎหมาย ในการน้ีให้มีอานาจหน้าที่ช้ีแจงแนะนาตักเตือน
เทศบาลตาบล และตรวจสอบกิจการ เรียกรายงานและเอกสารหรือสถิติใด ๆ จากเทศบาลมาตรวจ ตลอดจน
เรยี กสมาชิกสภาเทศบาลหรอื พนกั งานเทศบาลมาชีแ้ จงหรอื สอบสวนก็ได้

มาตรา ๗๒ เม่ือนายอาเภอ ในกรณีแห่งเทศบาลตาบลในอาเภอน้ัน หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
ในกรณีแหง่ เทศบาลเมืองและเทศบาลนครเหน็ ว่า นายกเทศมนตรี หรอื รองนายกเทศมนตรีผู้ใดปฏิบัติการของ
เทศบาลไปในทางท่ีอาจเป็นการเสียหายแก่เทศบาล หรือเสียหายแก่ราชการ และนายอาเภอหรือผู้ว่าราชการ
จังหวัด แล้วแต่กรณี ได้ชี้แจงแนะนาตักเตือนแล้วไม่ปฏิบัติตามนายอาเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่
กรณี มีอานาจท่ีจะสั่งเพิกถอนหรือสั่งให้ระงับการปฏิบัติของนายกเทศมนตรีหรือรองนายกเทศมนตรีนั้นไว้

101[๑๐๑] มาตรา ๖๘ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

ก่อนได้ แลว้ ให้ผวู้ า่ ราชการจังหวัดรบี รายงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยทราบภายในกาหนดสิบห้าวัน
นบั แต่วันทีม่ คี าสัง่ เพือ่ ใหร้ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยวนิ จิ ฉยั สั่งการตามสมควร102[๑๐๒]

คาส่งั ของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยตามความในวรรคก่อน ไม่กระทบกระเทือนสิทธิ
ของบคุ คลภายนอกผกู้ ระทาการโดยสุจรติ

มาตรา ๗๓103[๑๐๓] ในกรณีทผ่ี ูว้ า่ ราชการจังหวดั เหน็ วา่ นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี
ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาล ปฏิบัติการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพ
ของประชาชน ละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอานาจหน้าท่ี หรือมีความประพฤติในทางจะ
นามาซ่งึ ความเส่ือมเสียแกศ่ กั ด์ติ าแหน่ง หรอื แกเ่ ทศบาล หรือแก่ราชการ ให้เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยพร้อมด้วยหลักฐาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอาจใช้ดุลพินิจส่ังให้
นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ประธานสภาเทศบาล หรอื รองประธานสภาเทศบาลพ้นจากตาแหน่งก็ได้
คาสัง่ ของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยใหเ้ ปน็ ทีส่ ดุ

มาตรา ๗๔104[๑๐๔] เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนในเขตเทศบาลหรือประโยชน์ของ
ประเทศเป็นสว่ นรวม ผูว้ า่ ราชการจงั หวัดจะรายงานเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพ่ือ
ยุบสภาเทศบาลก็ได้

เมื่อมีกรณีตามวรรคหน่ึงหรือกรณีอื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยมีอานาจยุบสภาเทศบาลและใหแ้ สดงเหตุผลไว้ในคาสง่ั ด้วย

เมื่อมีการยุบสภาเทศบาลหรือถือว่ามีการยุบสภาเทศบาลตามพระราชบัญญัตินี้ ให้มีการ
เลอื กตง้ั สมาชกิ สภาเทศบาลขนึ้ ใหมต่ ามกฎหมายวา่ ด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลภายในส่ีสบิ ห้าวัน

มาตรา ๗๕ ในเมื่อเห็นจาเป็นที่จะให้เทศบาลใดอยู่ในความควบคุมดูแลของ
กระทรวงมหาดไทยโดยตรง ก็ให้ทาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา

เมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เทศบาลใดอยู่ในความควบคุมดูแลของกระทรวงมหาดไทยตาม
ความในวรรคกอ่ น บรรดาอานาจและหน้าที่ของนายอาเภอหรือผู้ว่าราชการจังหวัดอันเกี่ยวกับเทศบาลน้ัน ให้
เปน็ อานาจหนา้ ทข่ี องรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยหรอื ผู้ท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย

102[๑๐๒] มาตรา ๗๒ วรรคหน่ึง แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
103[๑๐๓] มาตรา ๗๓ แกไ้ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
104[๑๐๔] มาตรา ๗๔ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒

ส่วนที่ ๗
คณะกรรมการทีป่ รกึ ษาการเทศบาล105[๑๐๕]

มาตรา ๗๕ ทวิ106[๑๐๖] ให้มีคณะกรรมการท่ีปรึกษาการเทศบาลคณะหนึ่ง ประกอบด้วย
ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น* อธิบดีกรมโยธาธิการและผัง
เมือง* อธิบดีกรมตารวจ อธิบดีกรมสามัญศึกษา อธิบดีกรมวิสามัญศึกษา อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรม
อนามัย ผู้อานวยการสานักงบประมาณ ผู้อานวยการส่วนการปกครองท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถ่ิน* เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง และกรรมการอ่ืนซ่ึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งต้ังอีกไม่เกิน
หา้ คน

ให้ผู้อานวยการส่วนการปกครองท้องถ่ิน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น* เป็นเลขานุการ
คณะกรรมการที่ปรกึ ษาการเทศบาล

ให้คณะกรรมการท่ีปรึกษาการเทศบาลมีหน้าที่ให้คาปรึกษาและเสนอข้อแนะนาแก่
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยเก่ียวกับกิจการเทศบาลโดยทั่วไป

มาตรา ๗๕ ตรี107[๑๐๗] กรรมการทปี่ รึกษาการเทศบาลซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
แตง่ ตงั้ อยู่ในตาแหนง่ คราวละสี่ปี

กรรมการทป่ี รึกษาการเทศบาลซ่ึงพน้ จากตาแหนง่ อาจไดร้ บั แตง่ ต้ังอกี ได้

มาตรา ๗๕ จัตวา108[๑๐๘] นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๗๕ ตรี
กรรมการทีป่ รึกษาการเทศบาลพ้นจากตาแหนง่ เม่ือ

(๑) ตาย
(๒) ลาออก

105[๑๐๕] ส่วนที่ ๗ คณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล มาตรา ๗๕ ทวิ ถึง มาตรา ๗๕ ฉ เพิ่มโดย
พระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕

106[๑๐๖] มาตรา ๗๕ ทวิ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕
107[๑๐๗] มาตรา ๗๕ ตรี เพิม่ โดยพระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕
108[๑๐๘] มาตรา ๗๕ จัตวา เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕

(๓) เปน็ บุคคลล้มละลาย
(๔) เป็นบคุ คลไรค้ วามสามารถหรือเสมือนไรค้ วามสามารถ
(๕) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่คดีความผิดท่ีเป็นลหุโทษหรือ
ความผิดอันไดก้ ระทาโดยประมาท
เมื่อกรรมการท่ีปรึกษาการเทศบาลพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยอาจแตง่ ตง้ั ผูอ้ นื่ แทนได้
กรรมการท่ีปรึกษาการเทศบาลผู้ไดร้ บั แต่งตัง้ ตามความในวรรคก่อน อยู่ในตาแหน่งตามวาระ
เท่าผทู้ ตี่ นแทน

มาตรา ๗๕ เบญจ109[๑๐๙] ในการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล ถ้า
ประธานกรรมการท่ีปรึกษาการเทศบาลไม่อยู่ในที่ประชุม หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้กรรมการท่ีปรึกษา
การเทศบาลทมี่ าประชุมเลือกกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาลคนหน่ึงเปน็ ประธานในท่ปี ระชมุ

มาตรา ๗๕ ฉ110[๑๑๐] การประชมุ ทกุ คราวตอ้ งมีกรรมการท่ีปรึกษาการเทศบาลมาประชุมไม่
ต่ากว่ากึง่ จานวนของกรรมการท่ีปรกึ ษาการเทศบาลท้งั หมดจึงจะเป็นองค์ประชุม

การวนิ จิ ฉัยชี้ขาดของท่ปี ระชุมให้ถือเสยี งขา้ งมาก
กรรมการท่ีปรกึ ษาการเทศบาลคนหน่ึงให้มีเสยี งหนง่ึ ในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน
ให้ประธานในทป่ี ระชุมออกเสียงเพ่ิมข้นึ อกี เสยี งหนงึ่ เป็นเสียงชี้ขาด

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๗๖ ให้สมาชิกสภาเทศบาลและคณะเทศมนตรีแห่งเทศบาลที่ได้จัดต้ังอยู่แล้วในวัน
ใช้พระราชบัญญัตินี้ พ้นจากตาแหน่ง และให้ดาเนินการเลือกตั้งและแต่งต้ังสมาชิกสภาเทศบาลใหม่ภายใน
กาหนดเวลาเก้าสิบวันนับแต่วันใช้พระราชบัญญัติน้ี แต่ให้คณะเทศมนตรีท่ีพ้นจากตาแหน่งดาเนินกิจการใน
หน้าท่ีของคณะเทศมนตรีต่อไปจนกว่าคณะเทศมนตรีที่แต่งต้ังขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าท่ี เว้นแต่เทศบาลใด

109[๑๐๙] มาตรา ๗๕ เบญจ เพมิ่ โดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕
110[๑๑๐] มาตรา ๗๕ ฉ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้ส่ังแต่งตั้งเจ้าพนักงานเท่าจานวนคณะเทศมนตรีแห่งเทศบาลน้ันเข้า
ดาเนินกิจการแทน กใ็ ห้คณะเทศมนตรนี ้นั พน้ จากหน้าที่

การรกั ษาพระราชบญั ญัติ

มาตรา ๗๗ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มี
อานาจออกกฎกระทรวงหรือระเบยี บข้อบังคับ เพอื่ ปฏบิ ัติการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

กฎกระทรวงน้นั เม่อื ไดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว้ ใหใ้ ช้บังคับได้

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม
นายกรัฐมนตรี

พระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๘111[๑๑๑]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ซึ่งใช้บังคับอยู่ในเวลาน้ีบางมาตรายังไม่เหมาะสม เช่น ให้เทศบาลกู้เงินได้เฉพาะจากกระทรวง ทบวง กรม
หรือองค์การต่าง ๆ เท่าน้ัน และบางกรณีก็มิได้กาหนดความรั บผิดชอบผูกพันการชาระเงินกู้ที่
กระทรวงการคลังค้าประกันไว้ใหแ้ นน่ อน จึงจาเปน็ ต้องปรบั ปรุงเพื่อให้เหมาะสมและรัดกุมยง่ิ ขึ้น

พระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๔๙๙112[๑๑๒]

มาตรา ๑๐ สมาชิกสภาเทศบาลประเภทที่สองแห่งเทศบาลที่ดารงตาแหน่งอยู่แล้ว ในวันท่ี
พระราชบัญญตั นิ ใี้ ชบ้ งั คบั ใหค้ งอยใู่ นตาแหนง่ ไดต้ ่อไปจนถึงคราวออกตามวาระ และถ้าตาแหน่งว่างลงเพราะ
เหตุอื่นก่อนถึงคราวออกตามวาระจะแต่งต้ังสมาชิกข้ึนแทนต่อไป ตามมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เน่ืองจากสมควรที่จะยกเลิกสมาชิกสภา
เทศบาลประเภทท่ีสอง เพ่ือให้มีแต่สมาชิกสภาเทศบาลซ่ึงราษฎรเป็นผู้เลือกต้ังแต่ประเภทเดียว กับแก้ไข
เพ่ิมเติมไม่ต้องให้มีการแต่งต้ังผู้มีคุณสมบัติ และวิทยฐานะเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในฐานะเป็นผู้เร่ิมการ
สาหรับท้องถ่ินท่ีเป็นสุขาภิบาลอยู่ก่อนแล้วจัดตั้งขึ้นเป็นเทศบาล เพราะท้องถิ่นที่เป็นสุขาภิบาลอยู่ก่อนแล้ว
น้ันได้มีการปฏิบัติหน้าท่ีของท้องถิ่นต่อเน่ืองกันมาโดยมีกรรมการเลือกตั้งจากราษฎรเข้าสมทบเป็นกรรมการ
สขุ าภิบาลอยแู่ ล้ว จึงไมจ่ าเป็นตอ้ งใหม้ ีสมาชิกสภาเทศบาลในฐานะเปน็ ผเู้ ร่มิ การอกี นอกจากน้ี การเปลี่ยนช่ือ
เทศบาลยังไม่มีบทบัญญัติระบุไว้ชัดแจ้งว่าจะกระทาได้โดยวิธีใดเพ่ือไม่ให้มีปัญหาจึงสมควรจะได้มีบทบัญญัติ
ไว้เสียให้ชัดว่า การเปลี่ยนช่ือเทศบาลให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา จึงจาเป็นต้องแก้ไขเพ่ิมเติม
พระราชบญั ญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ บางมาตรา

111[๑๑๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๗๒/ตอนท่ี ๙๘/หน้า ๑๖๒๕/๒๗ ธนั วาคม ๒๔๙๘
112[๑๑๒] ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๗๔/ตอนท่ี ๑๑/หนา้ ๓๔๕/๒๙ มกราคม ๒๕๐๐

พระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕113[๑๑๓]

มาตรา ๖ ในกรณีที่เห็นสมควรกระทรวงมหาดไทยอาจแต่งต้ังข้าราชการไปดารงตาแหน่ง
หรอื ปฏิบัติกจิ การของเทศบาลใดเปน็ การช่ัวคราวได้ โดยไมข่ าดจากความเปน็ ขา้ ราชการและคงได้รับเงินเดือน
ทางสังกัดเดิม ถ้าแต่งต้ังข้าราชการสังกัดกระทรวงอื่น ให้กระทรวงมหาดไทยทาความตกลงกับกระทรวงเจ้า
สงั กดั กอ่ นแตง่ ต้ัง

ใหข้ า้ ราชการผไู้ ดร้ ับแต่งต้ังมีฐานะอยา่ งเดียวกับพนักงานเทศบาลทกุ ประการ

มาตรา ๗ การจัดทากิจการตามมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๔ หรือมาตรา ๕๗ แห่ง
พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ของเทศบาลใดให้เปน็ ไปตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย

ความในวรรคก่อนไมก่ ระทบกระทั่งกิจการใด ๆ ท่ีเทศบาลจัดทาอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ี
ใช้บังคับ

ประกาศของกระทรวงมหาดไทยตามมาตรานี้ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เพื่อแก้ไขข้อขัดข้องทางปฏิบัติตาม
พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล และเพ่ือกาหนดรายจ่ายของเทศบาลให้สอดคล้องกับหลกั การงบประมาณ

พระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๑๐114[๑๑๔]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เนื่องจากการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ยังมขี ้อขัดขอ้ งเก่ียวกบั การมอบหมายอานาจของคณะเทศมนตรีและนายกเทศมนตรีใน
การปฏิบัติงานประจาทั้งการเปรียบเทียบคดีละเมิดเทศบัญญัติและอัตราค่าปรับคดีละเมิดเทศบัญญัติก็ยังไม่
อยูใ่ นระดบั ทส่ี มควร จึงเหน็ สมควรแกไ้ ขพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ดงั นี้

๑. ให้คณะเทศมนตรีมอบอานาจให้นายกเทศมนตรี เทศมนตรี หรือพนักงานเทศบาล หรือ
นายกเทศมนตรีจะมอบอานาจให้เทศมนตรีหรือพนักงานเทศบาลทากิจการใด ๆ ซึ่งมีลักษณะเป็นงานประจา
ตามปกติ ซึง่ กฎหมายระบวุ า่ เปน็ อานาจหนา้ ที่ของคณะเทศมนตรหี รือนายกเทศมนตรไี ด้

113[๑๑๓] ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๗๙/ตอนที่ ๑๘/หนา้ ๒๐๐/๒๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๐๕
114[๑๑๔] ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๘๔/ตอนท่ี ๒๖/หน้า ๑๔๘/๒๑ มีนาคม ๒๕๑๐

๒. แก้ไขบทบัญญัติเก่ียวกับอานาจเปรียบเทียบคดีละเมิดเทศบัญญัติของนายกเทศมนตรี
และเทศมนตรี เพอ่ื ให้มีอานาจสง่ั เรียกพยานมาเพ่ือบันทึกถ้อยคาประกอบการพิจารณาเปรียบเทียบคดีได้ ถ้า
ไม่มาใหถ้ ือวา่ เป็นการขดั คาสง่ั เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

๓. แกไ้ ขอัตราคา่ ปรบั คดลี ะเมดิ เทศบญั ญัตใิ ห้สงู ขึ้นจากหนง่ึ ร้อยบาท เปน็ หนึ่งพันบาท

พระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๑๑115[๑๑๕]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.
๒๔๙๖ ซ่ึงใชบ้ ังคบั อยูใ่ นปจั จบุ ันเทศบาลยังไมอ่ าจจัดทากจิ การในหน้าทีบ่ างอย่างนอกเขตเทศบาล หรือลงทุน
รว่ มกบั ราชการสว่ นท้องถน่ิ หรือกับบุคคลอ่ืนได้ ฉะน้ัน เพื่อให้เทศบาลดาเนินกิจการดังกล่าวให้เป็นประโยชน์
แก่ประชาชนในท้องถ่นิ ย่ิงข้นึ จึงต้องแก้ไขเพิม่ เตมิ กฎหมายว่าดว้ ยเทศบาลบางมาตราเสียใหม่

ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๓๓๖ ลงวนั ท่ี ๑๓ ธันวาคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๕116[๑๑๖]

โดยท่ีคณะปฏิวัติพิจารณาเห็นว่า เทศบาลเป็นหน่วยบริหารราชการของท้องถิ่น ควรจะได้ปฏิบัติงานตาม
อานาจหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ และมุ่งขจัดปัญหาความเดือดร้อนบาบัดทุกข์บารุงสุขของประชาชนอย่าง
แทจ้ ริง จึงมีความจาเป็นทีจ่ ะตอ้ งแกไ้ ขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยเทศบาลบางมาตราให้รัดกมุ และชัดเจนยงิ่ ข้ึน

พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๑๗117[๑๑๗]

มาตรา ๔ ใหเ้ ทศบาลเมอื ง และเทศบาลนคร ซึ่งยงั ไม่มีโรงรบั จานาหรือสถานสินเช่ือท้องถ่ิน
จดั ตงั้ โรงรับจานาหรอื สถานสนิ เชอ่ื ท้องถ่ินขึ้นภายในกาหนดสามปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ แต่ถ้า
มีเหตุอันสมควรรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยอาจอนุญาตให้ขยายเวลาต่อไปได้อกี ไม่เกินสองปี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.
๒๔๙๖ ได้กาหนดหน้าท่ีต่าง ๆ ให้เทศบาลต้องจัดทาภายในเขตเทศบาล แต่กิจการบางอย่างท่ีเป็นประโยชน์

115[๑๑๕] ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๘๕/ตอนที่ ๔๖/หนา้ ๒๖๖/๒๑ พฤษภาคม ๒๕๑๑
116[๑๑๖] ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๘๙/ตอนที่ ๑๙๐/ฉบับพเิ ศษ หน้า ๒๐๒/๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕
117[๑๑๗] ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๙๑/ตอนที่ ๒๐๒/ฉบับพิเศษ หนา้ ๗/๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๗

แก่ประชาชนผ้ยู ากจน คอื กจิ การโรงรบั จานาและกจิ การสถานสินเชื่อเทศบาลยังมิได้มีหน้าที่ที่จาต้องจัดทาขึ้น
ตามพระราชบัญญัตินี้ และโดยท่ีพิจารณาเห็นว่ากิจการโรงรับจานาและกิจการสถานสินเชื่อธนาภิบาลเป็น
แหล่งท่ีอานวยช่วยเหลือประชาชนผู้ยากจนในกรณีท่ีมีความจาเป็นเกี่ยวกับการเงินเพ่ือยังชีพของครอบครัว
สมควรกาหนดใหเ้ ทศบาลมหี น้าทีต่ อ้ งจัดให้มีการดาเนินกจิ การโรงรับจานาหรือกิจการสถานสินเช่ือธนาภิบาล
ภายในเขตเทศบาลเมืองและเทศบาลนครทุกแห่งเพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ยากจนต่อไป จึงจาเป็นต้องตรา
พระราชบัญญัติน้ขี ึน้

พระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๑๙118[๑๑๘]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เน่ืองจากพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.
๒๔๙๖ บางมาตรายังไม่เหมาะสม โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับการพิจารณาร่างเทศบัญญัติงบประมาณ ได้
กาหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องส่งร่างเทศบัญญัติท่ีสภาเทศบาลไม่รับหลักการ และผู้ว่าราชการจังหวัดไม่
เห็นชอบดว้ ยกับสภาเทศบาลท่ีไมร่ ับหลกั การ เพ่อื ใหร้ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยพิจารณา ซ่ึงทาให้เกิด
ความล่าช้าและไม่คล่องตัวในการบริหารงานท้องถ่ิน สมควรแก้ไขให้เหมาะสม จึ งจาเป็นต้องตรา
พระราชบญั ญัตินขี้ น้ึ

พระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๒๓119[๑๑๙]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เนื่องจากในปัจจุบันนี้ กิจการงานของ
เทศบาลเมืองได้เพิ่มภาระและความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น เนื่องจากการคมนาคม การเ ศรษฐกิจ
การศึกษา การผังเมอื งการสาธารณูปโภค และการบริการแก่สาธารณะ แต่จานวนเทศมนตรีของเทศบาล ยังมี
จานวน ๒ คน เท่ากับเทศบาลตาบลทก่ี าหนดไว้ในมาตรา ๔๙ ความรับผิดชอบในภาระต่าง ๆ ปัจจุบันเท่ากับ
เทศบาลนครซ่ึงมีเทศมนตรีถึง ๔ คน ด้วยเหตุดังกล่าว จึงสมควรแก้ไขเพิ่มจานวนเทศมนตรีตามสัดส่วนของ
จานวนสมาชิกสภาเทศบาลและความรับผิดชอบในภาระตา่ ง ๆ ที่นบั วนั ย่งิ สลับซับซอ้ นขึน้

118[๑๑๘] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๙๓/ตอนที่ ๑๕๖/ฉบับพิเศษ หนา้ ๓๗/๒๔ ธนั วาคม ๒๕๑๙
119[๑๑๙] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๙๗/ตอนท่ี ๑๓๑/ฉบับพิเศษ หน้า ๕/๒๓ สิงหาคม ๒๕๒๓

พระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒120[๑๒๐]

มาตรา ๑๔ บรรดากิจการท้ังหลายท่ีสมาชิกสภาเทศบาลและคณะเทศมนตรี ซ่ึงพ้นจาก
ตาแหน่งตามผลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้กระทาไปก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ หรือ
จนถึงวนั ทม่ี กี ารยบุ สภาเทศบาลใหเ้ ปน็ อนั ใช้บงั คบั ไดแ้ ละมีผลผกู พันเทศบาล

มาตรา ๑๕ การเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลท่ีได้กาหนดวันรับสมัครเลือกตั้ง และวัน
เลือกต้ังไว้แล้วก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้มีผลใช้บังคับต่อไปตามระยะเวลาท่ีผู้ว่าราชการจังหวัด
ประกาศกาหนด

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้
กาหนดหลักการในการจัดระเบียบการปกครองส่วนท้องถ่ินขึ้นใหม่เพ่ือให้เป็นไปตามหลักแห่งการปกครอ ง
ตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถ่ิน จึงสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยเทศบาลในส่วนของวาระ
การดารงตาแหนง่ สมาชกิ สภาเทศบาล ขอ้ หา้ มและการสนิ้ สดุ สมาชกิ ภาพของสมาชกิ สภาเทศบาล การพ้นจาก
ตาแหน่งเทศมนตรีและคณะเทศมนตรี การยุบสภาเทศบาล รวมท้ังอานาจหน้าท่ีของเทศบาลให้สอดคล้องกับ
บทบัญญตั ิของรัฐธรรมนญู ดังกลา่ ว จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญัติน้ี

พระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓121[๑๒๑]

มาตรา ๒๐ บรรดาสมาชิกสภาเทศบาลและคณะเทศมนตรีซ่ึงดารงตาแหน่งอยู่ในวันที่
พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ดารงตาแหน่งต่อไปจนกว่าจะครบวาระตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.
๒๔๙๖

มาตรา ๒๑ ให้นามาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับกับเทศบาลทุกแห่งนับแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ เป็นต้นไป เว้นแต่กรณีที่
บญั ญตั ไิ ว้โดยเฉพาะ ดังต่อไปน้ี

120[๑๒๐] ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๑๕ ก/หนา้ ๑/๑๐ มนี าคม ๒๕๔๒
121[๑๒๑] ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๑๗/ตอนที่ ๔๑ ก/หนา้ ๑๒/๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๓

(๑) ในกรณที ีต่ อ้ งมีการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาเทศบาลนครหรอื สมาชกิ สภาเทศบาลเมืองแห่งใด
โดยเปน็ การเลือกตง้ั ท่วั ไปเพราะเหตุมกี ารยุบสภาหรือถงึ คราวออกตามวาระ และเปน็ การเลือกต้ังของเทศบาล
แห่งนั้นในครั้งแรกนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับให้ดาเนินการเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลและ
นายกเทศมนตรีตามบทท่ี ๒ ทวิ นายกเทศมนตรีในคราวเดียวกัน โดยมิให้นามาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติน้ีมาใช้บังคับ แต่เมื่อสมาชิกสภาเทศบาลและ
นายกเทศมนตรที ่มี าจากการเลือกตง้ั ในครัง้ ดังกลา่ วเข้ารบั ตาแหน่งแล้ว ให้นามาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตนิ ้มี าใช้บงั คับกับเทศบาลแห่งนั้น

(๒) ในกรณีท่ีมีการเปล่ียนแปลงฐานะเทศบาลตาบลแห่งใดเป็นเทศบาลเมืองก่อนถึงวันท่ี ๑
มกราคม ๒๕๕๐ ให้นาความใน (๑) มาใช้บังคับกับการเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีของ
เทศบาลเมืองนนั้ ดว้ ยโดยอนโุ ลม

การบริหารเทศบาลตาบลให้ดาเนินการบริหารในรูปแบบคณะเทศมนตรี ตามบทที่ ๒ คณะ
เทศมนตรี ต่อไป ท้ังนี้ จนกว่าจะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลตาบลข้ึนใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป
หลังจากวนั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ในกรณีเช่นวา่ นใ้ี หน้ ามาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ซึ่งแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัตินมี้ าใชบ้ งั คับสาหรับการเลือกต้งั ครง้ั ท่ีจะจดั ใหม้ ีข้นึ นั้น

มาตรา ๒๒ ในกรณีที่เทศบาลใดได้กาหนดวันเลือกตั้งไว้แล้วก่อนวันจัดทาประชามติตาม
มาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ดาเนินการเลือกตั้งในรูปแบบคณะเทศมนตรีต่อไปตามพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ กอ่ นการแก้ไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิน้ี

มาตรา ๒๓ ในระหว่างที่ไม่มีกฎหมายว่าด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ท้องถิ่นให้นากฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลมาใช้บังคับกับก ารเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล
หรือนายกเทศมนตรีเทา่ ทีไ่ ม่ขัดหรือแย้งกบั บทบัญญัตแิ หง่ พระราชบัญญัตินี้

ในการสมคั รรบั เลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรี ให้เทศบาลเรียกเก็บค่าสมัครเป็นเงินจานวนห้า
พนั บาท

ในการเลือกตง้ั นายกเทศมนตรี ใหถ้ อื เขตเทศบาลเปน็ เขตเลือกตั้ง
ในกรณีท่ีมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีในคราวเดียวกันให้ใช้หน่วย
เลือกต้งั ทีเ่ ลือกตั้ง เจ้าพนักงานผดู้ าเนินการเลือกตั้ง คณะกรรมการตรวจคะแนน เจ้าหน้าท่ีคะแนน และบัญชี
รายชอื่ ผู้มีสิทธเิ ลือกตงั้ รว่ มกนั กไ็ ด้
ใบสมัครและบัตรเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลหรือนายกเทศมนตรี ให้เป็นไปตามที่
กระทรวงมหาดไทยกาหนด

เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการเลอื กตั้งให้เป็นไปโดยเรียบร้อย กระทรวงมหาดไทยอาจออก
ระเบียบกาหนดวิธีปฏิบัติในการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลหรือนายกเทศมนตรีเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับ
กฎหมายว่าด้วยการเลอื กต้ังสมาชิกสภาเทศบาลได้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
กาหนดให้คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนหรือมาจาก
ความเห็นชอบของสภาท้องถ่ิน และการเลือกตั้งคณะผู้บริหารท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการ
เลอื กต้ังโดยตรงของประชาชนให้ใช้วธิ อี อกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ สมควรปรับปรุงรูปแบบการบริหาร
เทศบาลจากท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันท่ีให้นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกกันเองของสมาชิกสภาเทศบาล เป็นให้
นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกต้ังของราษฎรในเขตเทศบาล เพ่ือให้ราษฎรได้มีส่วนร่วมในการปกครอง
ตนเองตามเจตนารมณ์ของราษฎรในท้องถ่ินโดยตรง นอกจากน้ี สมควรปรับปรุงการปฏิบัติงานของสภา
เทศบาลใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกันด้วย จึงจาเป็นต้องตราพระราชบญั ญตั นิ ้ี

*พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอานาจหน้าที่ของส่วนราชกา รให้เป็นไปตาม
พระราชบญั ญัติปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕122[๑๒๒]

มาตรา ๖๓ ในพระราชบัญญัติเทศบาล พุทธศักราช ๒๔๙๖ ให้แก้ไขคาว่า “กรม
มหาดไทย” เป็น “กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น” และคาว่า “อธิบดีกรมโยธาเทศบาล” เป็น “อธิบดีกรม
โยธาธิการและผงั เมือง”

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้จัดตั้งส่วนราชการข้ึนใหม่โดยมีภารกิจใหม่ ซึ่งได้มีการตราพระราช
กฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอานาจหน้าทีข่ องส่วนราชการใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม น้ันแล้ว และเน่ืองจากพระราชบัญญัติดังกล่าวได้บัญญัติให้โอนอานาจหน้าท่ีของส่วนราชการ
รัฐมนตรีผู้ดารงตาแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าท่ีในส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่ โดยให้มีการ
แก้ไขบทบัญญัติต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับอานาจหน้าที่ที่โอนไปด้วย ฉะนั้น เพ่ืออนุวัติให้เป็นไปตามหลักการที่
ปรากฏในพระราชบญั ญตั แิ ละพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงสมควรแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้สอดคล้อง
กบั การโอนส่วนราชการ เพือ่ ให้ผเู้ ก่ยี วข้องมคี วามชดั เจนในการใช้กฎหมายโดยไม่ต้องไปค้นหาในกฎหมายโอน

122[๑๒๒] ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๑๙/ตอนท่ี ๑๐๒ ก/หนา้ ๖๖/๘ ตุลาคม ๒๕๔๕

อานาจหน้าที่ว่าตามกฎหมายใดได้มีการโอนภารกิจของส่วนราชการหรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายน้ันไปเป็น
ของหน่วยงานใดหรือผู้ใดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้มีการเปล่ียนช่ือส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้
ดารงตาแหน่งหรือผู้ซ่ึงปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการให้ตรงกับการโอนอานาจหน้าที่ และเพิ่มผู้แทนส่วน
ราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกิจที่มีการตัดโอนจากส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่
รวมท้งั ตัดสว่ นราชการเดมิ ทมี่ ีการยุบเลิกแลว้ ซ่งึ เปน็ การแกไ้ ขใหต้ รงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกา
ดังกล่าว จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชกฤษฎกี าน้ี

พระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖123[๑๒๓]

มาตรา ๔๖ บรรดาสมาชิกสภาเทศบาล คณะเทศมนตรี นายกเทศมนตรี รอง
นายกเทศมนตรี ซ่ึงดารงตาแหน่งอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ดารงตาแหน่งต่อไปจนกว่าจะครบ
วาระหรือมีการยุบสภาเทศบาล ในกรณีเช่นว่านี้ ให้บทบัญญัติในส่วนที่ ๒ บทที่ ๑ สภาเทศบาลและบทท่ี ๒
คณะเทศมนตรี ในส่วนที่ ๔ เทศบัญญัติ และในส่วนท่ี ๖ การควบคุมเทศบาล แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ ก่อนการแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ยังคงใช้บังคับต่อไปได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับ
พระราชบัญญัตนิ ี้

มาตรา ๔๗ ในวาระเริ่มแรกเป็นเวลาส่ีปีนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ มิให้นา
บทบัญญัติในมาตรา ๔๘ เบญจ (๒) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบญั ญตั นิ ี้ มาใช้บังคับกับการเลือกตงั้ นายกเทศมนตรี

มาตรา ๔๘ บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับที่กาหนดการจ่าย
เงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอย่างอ่ืนของนายกเทศมนตรี เทศมนตรี รอง
นายกเทศมนตรี ที่ปรกึ ษานายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี การจ่ายเงินค่าป่วยการแก่ประธานสภา
เทศบาล รองประธานสภาเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล และการจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุมให้แก่กรรมการที่สภา
เทศบาลแต่งต้ังข้ึน ที่ใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ใช้ต่อไปจนกว่าจะได้มีการออก
ระเบียบตามมาตรา ๔๘ จตุวีสติ และมาตรา ๖๘ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญตั ิน้ี

123[๑๒๓] ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๒๐/ตอนท่ี ๑๒๔ ก/หนา้ ๑/๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เน่ืองจากพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.
๒๔๙๖ กาหนดรูปแบบการบริหารเทศบาลเป็นสองรูปแบบ คือ รูปแบบคณะเทศมนตรีและรูปแบบ
นายกเทศมนตรี เพ่ือให้การบริหารเทศบาลเป็นไปในรูปแบบเดียวกัน โดยให้นายกเทศมนตรีมาจากการ
เลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และเพ่ือให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือ
ผู้บรหิ ารทอ้ งถน่ิ ประกอบกับมบี ทบัญญตั ิบางมาตรายงั ไมเ่ หมาะสมกับการบริหารงานของเทศบาล เพ่ือให้การ
บรหิ ารงานของเทศบาลเป็นไปด้วยความเรยี บร้อยและมปี ระสิทธภิ าพ จึงจาเป็นตอ้ งตราพระราชบญั ญตั นิ ี้
พระราชบญั ญัติเทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๒124[๑๒๔]
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่พระราชบัญญัติเทศบาล มีบทบัญญัติ
บางประการไม่เหมาะสมกับสภาวะในปัจจุบันเป็นการจากัดสิทธิของประชาชน ทั้งสิทธิของผู้สมัครรับเลือกต้ัง
และสิทธิของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง สมควรเปิดกว้างให้เป็นดุลพินิจของประชาชนโดยเสรี จึงจาเป็นต้อง
ตราพระราชบัญญตั ิน้ี

124[๑๒๔] ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนท่ี ๘๕ ก/หน้า ๗/๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๐ ก หน้า ๑๖๔ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา

พระราชบญั ญตั ิ

เทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๔)
พ.ศ. ๒๕๖๒

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
เปน็ ปที ่ี ๔ ในรชั กาลปจั จบุ นั

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่า

โดยที่เปน็ การสมควรแกไ้ ขเพ่ิมเติมกฎหมายวา่ ด้วยเทศบาล
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ
สภานติ ิบัญญัติแห่งชาติทาหน้าทร่ี ฐั สภา ดังตอ่ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ้ีเรยี กวา่ “พระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นตน้ ไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และ
ใหใ้ ช้ความตอ่ ไปน้แี ทน
“ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ตามกฎหมายวา่ ด้วยการเลือกต้งั สมาชกิ สภาท้องถนิ่ หรอื ผู้บริหารทอ้ งถิ่น”

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๐ ก หน้า ๑๖๕ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๔ ให้เพ่ิมความต่อไปนี้เป็นวรรคสี่ของมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖

“ความในวรรคหนงึ่ มิให้นามาใช้บังคับแก่กรณีที่ได้จัดให้มีการเลือกตัง้ ใหม่ตามกฎหมายว่าด้วย
การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถ่ินเพราะเหตุที่มีผู้ได้รับเลือกต้ังไม่ครบจานวน ถ้าใน
การจัดให้มีการเลือกต้ังใหม่น้ันยังได้ไม่ครบจานวนอีก ให้ถือว่าสภาเทศบาลน้ันประกอบด้วยจานวนสมาชิก
เท่าที่มีอยู่จนกว่าจะครบอายุของสภาเทศบาล เว้นแต่จะมีจานวนสมาชิกไม่ถึงสองในสามของจานวน
ตามวรรคหนง่ึ ”

มาตรา ๕ ให้ยกเลิกมาตรา ๑๘ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ซึ่งแกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความใน (๖) ของวรรคหนึง่ ในมาตรา ๑๙ แหง่ พระราชบญั ญตั เิ ทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงแกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใ้ ช้ความ
ตอ่ ไปนี้แทน

“(๖) กระทาการอันตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๔๘ จตทุ ศ วรรคสาม”
มาตรา ๗ ให้ยกเลกิ ความในวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๑๙ แหง่ พระราชบัญญตั ิ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงแกไ้ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และ
ให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน
“เม่ือมีข้อสงสัยเก่ียวกับสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลผู้ใดส้ินสุดลงตาม (๔) (๕) หรือ
(๖) หรือเมอื่ ไดร้ ับแจ้งจากคณะกรรมการการเลือกตัง้ วา่ สมาชกิ ภาพของสมาชกิ สภาเทศบาลผใู้ ดสน้ิ สดุ ลง
ตาม (๔) ใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวัดสอบสวนใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในหกสบิ วนั นบั แตว่ นั ทีม่ ขี อ้ สงสยั หรอื ไดร้ ับแจง้
จากคณะกรรมการการเลอื กต้ัง แลว้ แตก่ รณี และดาเนนิ การวนิ จิ ฉยั ให้แลว้ เสรจ็ ภายในสามสบิ วนั นับแต่
วันท่ีผู้ว่าราชการจังหวัดสอบสวนแล้วเสร็จหรือวันที่ได้รับผลการสอบสวนจากคณะกรรมการสอบสวน
แม้ว่าสมาชกิ สภาเทศบาลผนู้ น้ั จะไดพ้ ้นจากตาแหนง่ ไปแลว้ ไม่ว่าดว้ ยเหตใุ ด เว้นแต่เพราะเหตตุ าย หรอื
พ้นจากตาแหน่งไปแล้วเกินสองปี ในกรณีที่มีการตั้งคณะกรรมการสอบสวนและไม่สามารถดาเนินการ
สอบสวนกรณีตาม (๔) หรือ (๖) ให้แล้วเสร็จได้ภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ผู้ว่าราชการจังหวัด
อาจขยายเวลาการสอบสวนออกไปได้อีกไม่เกินสามสิบวัน ทั้งนี้ การดาเนินการสอบสวนและวินิจฉัย
ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทก่ี าหนดในกฎกระทรวง

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๐ ก หน้า ๑๖๖ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา

ในกรณีท่ีผู้ว่าราชการจังหวัดวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกส ภาเทศบาลผู้น้ันส้ินสุดลง
ตาม (๔) (๕) หรือ (๖) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศคาวินิจฉัยให้ทราบทว่ั กัน ไม่ว่าผู้นัน้ จะได้พ้นจาก
ตาแหน่งไปก่อนแล้วหรือไม่ก็ตาม โดยในคาวินิจฉัยน้ันให้ระบุเหตุท่ีทาให้พ้นจากตาแหน่งไว้ และ
ให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลผู้น้ันส้ินสุดลงตง้ั แตว่ นั ท่ีมีเหตตุ าม (๔) (๕) หรือ (๖) แต่ไม่กระทบ
ต่อการดาเนินงานและการรับค่าตอบแทนท่ีได้กระทาไปก่อนวันท่ีมีการประกาศคาวินิจฉัย ถ้าในขณะที่
ประกาศคาวินิจฉัยดังกล่าวผู้น้ันกาลังดารงตาแหน่งสมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถิ่นอันเป็นผล
จากการเลอื กตง้ั ตา่ งวาระหรอื ตา่ งองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นกนั ให้ผู้นน้ั พน้ จากตาแหนง่ ทีก่ าลงั ดารงอยดู่ ว้ ย
และในกรณีที่เป็นผลให้ถูกห้ามใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งหรือใช้สิทธิเลือกต้ัง ให้ถือว่าวันท่ีประกาศ
คาวินจิ ฉยั เป็นวนั เร่ิมนับระยะเวลาต้องหา้ มดังกลา่ ว ทัง้ น้ี คาวินจิ ฉัยของผ้วู ่าราชการจงั หวัดตามมาตราน้ี
ให้เป็นที่สดุ ”

มาตรา ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคส่ีของมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖

“ในกรณีท่ีสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลส้ินสุดลงตาม (๘) พร้อมกันทั้งหมดให้ถือว่า
เปน็ การยบุ สภาเทศบาล”

มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และ
ใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแี้ ทน

“ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องกาหนดให้สมาชิกสภาเทศบาลได้มาประชุมสภาเทศบาลครั้งแรก
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล และให้ที่ประชุมเลือกประธาน
สภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาล”

มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๘ เบญจ แห่งพระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ซ่ึงแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้ีแทน

“มาตรา ๔๘ เบญจ บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเป็นนายกเทศมนตรีต้องมีคุณสมบัติ
และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถิ่น และ
ต้องมีคุณสมบตั ิ ดังตอ่ ไปนี้ดว้ ย

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๐ ก หน้า ๑๖๗ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

(๑) มีอายไุ ม่ต่ากว่าสามสบิ หา้ ปีนับถงึ วนั เลอื กต้ัง
(๒) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น
ผบู้ รหิ ารท้องถน่ิ หรือสมาชิกรัฐสภา”
มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๘ สัตต แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ซึ่งแก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแี้ ทน
“มาตรา ๔๘ สัตต นายกเทศมนตรีมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
แต่จะดารงตาแหนง่ ตดิ ตอ่ กนั เกนิ สองวาระไมไ่ ด้
ในกรณีท่ีนายกเทศมนตรีดารงตาแหน่งไม่ครบระยะเวลาส่ีปีก็ให้ถือว่าเป็นหน่ึงวาระ และ
เม่ือได้ดารงตาแหน่งสองวาระติดต่อกันแล้วจะดารงตาแหน่งได้อีกเม่ือพ้นระยะเวลาสี่ปีนบั แต่วันพ้นจาก
ตาแหนง่ ”
มาตรา ๑๒ ใหย้ กเลิกความในมาตรา ๔๘ นว แหง่ พระราชบญั ญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ซงึ่ แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้แี ทน
“มาตรา ๔๘ นว รองนายกเทศมนตรตี อ้ งมคี ุณสมบัตแิ ละไมม่ ีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๔๘
เบญจ เว้นแต่การนับอายุและการนับระยะเวลาของคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามอย่างอ่ืนให้นับถึง
วันแต่งตง้ั ”
มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความใน (๑) ของวรรคหนึ่งในมาตรา ๔๘ จตุทศ แห่งพระราชบัญญตั ิ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซงึ่ แกไ้ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชบัญญัตเิ ทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และ
ใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแี้ ทน
“(๑) ดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนใดในส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
เว้นแต่ตาแหน่งท่ีดารงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย หรือเป็นการปฏิบัติหน้าที่เพ่ือประโยชน์ใน
การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ หรือตามนโยบายของรฐั บาล”
มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของวรรคหนึ่งในมาตรา ๔๘ จตุทศ แห่งพระราชบญั ญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ และ
ใหใ้ ชค้ วามต่อไปนีแ้ ทน

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๐ ก หน้า ๑๖๘ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

“(๓) เป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญาหรือกิจการท่ีกระทาหรือจะกระทากับหรือให้แก่เทศบาลนั้น
หรอื มสี ่วนได้เสียในสญั ญาหรือกจิ การท่ีกระทาหรอื จะกระทากบั หรอื ให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ อื่น
โดยมีพฤติการณ์แสดงให้เห็นว่าเป็นการต่างตอบแทนหรือเอ้ือประโยชน์ส่วนตนระหว่างกัน ทั้งนี้ ไม่ว่า
โดยทางตรงหรอื ทางอ้อม”

มาตรา ๑๕ ให้เพิม่ ความตอ่ ไปนีเ้ ป็นวรรคสามของมาตรา ๔๘ จตทุ ศ แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖

“ให้นาความใน (๓) มาใชบ้ ังคับแก่สมาชกิ สภาเทศบาลดว้ ยโดยอนโุ ลม”
มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๔๘ ปัญจทศ
แห่งพระราชบัญญตั เิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒)
พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใ้ ช้ความต่อไปน้ีแทน
“เมื่อมีข้อสงสัยเก่ียวกับความเป็นนายกเทศมนตรีผู้ใดส้ินสุดลงตาม (๔) หรือ (๕) หรือ
เมื่อได้รับแจ้งจากคณะกรรมการการเลือกต้ังว่าความเป็นนายกเทศมนตรีผู้ใดสิ้นสุดลงตาม (๔)
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดสอบสวนให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ีมีข้อสงสัยหรือได้รั บแจ้งจาก
คณะกรรมการการเลอื กต้งั แลว้ แตก่ รณี และดาเนินการวินจิ ฉยั ให้แลว้ เสร็จภายในสามสิบวันนับแตว่ นั ที่
ผู้ว่าราชการจังหวัดสอบสวนแลว้ เสร็จหรือวันท่ีได้รับผลการสอบสวนจากคณะกรรมการสอบสวน แม้ว่า
นายกเทศมนตรีผู้น้ันจะได้พ้นจากตาแหน่งไปแล้วไม่ว่าด้วยเหตุใด เว้นแต่เพราะเหตุตาย หรือพ้นจาก
ตาแหน่งไปแล้วเกินสองปี ในกรณีที่มีการตง้ั คณะกรรมการสอบสวนและไม่สามารถดาเนินการสอบสวน
ให้แล้วเสร็จไดภ้ ายในกาหนดเวลาดงั กล่าว ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจขยายเวลาการสอบสวนออกไปไดอ้ กี
ไม่เกินสามสบิ วัน ท้ังนี้ การดาเนนิ การสอบสวนและวนิ จิ ฉยั ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการทก่ี าหนด
ในกฎกระทรวง
ในกรณีท่ีผู้ว่าราชการจังหวัดวินิจฉัยว่านายกเทศมนตรีพ้นจากตาแหน่งตาม (๔) หรือ (๕)
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศคาวินิจฉัยให้ทราบทั่วกัน ไม่ว่าผู้นั้นจะได้พ้นจากตาแหน่งไปก่อนแล้ว
หรือไม่ก็ตาม โดยในคาวินิจฉัยน้ันให้ระบุเหตุท่ีทาให้พ้นจากตาแหน่งไว้ และให้นายกเทศมนตรีผู้นั้น
พน้ จากตาแหน่งตงั้ แตว่ ันทม่ี ีเหตุตาม (๔) หรอื (๕) แตไ่ มก่ ระทบตอ่ การดาเนินงานและการรับค่าตอบแทน
ท่ีได้กระทาไปก่อนวันท่ีมีการประกาศคาวินิจฉัย ถ้าในขณะที่ประกาศคาวินิจฉัยดังกล่าวผู้นั้นกาลัง
ดารงตาแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นอันเป็นผลจากการเลือกต้ังต่างวาระหรือ


Click to View FlipBook Version