The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ไชยวาน-ผ้าย้อมหมักขี้ควาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by julawadee.me, 2022-05-27 13:21:23

ไชยวาน-ผ้าย้อมหมักขี้ควาย

ไชยวาน-ผ้าย้อมหมักขี้ควาย

โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์ และพัฒนาควายไทยเพื่ อการส่งเสริม
การท่ องเที่ ยว ส่งเสริมอาชีพและสืบสานวัฒนธรรมวิถี ชีวิต
ที่ เป็นอั ตลั กษณ์ของพื้ นถิ่ นอี สาน

ผ้ า ห มั ก ย้ อ ม มู ล ค ว า ย
ผ้าหมักย้อมสีธรรมชาติ

บ้ า น เ พี ย ปู่ - ห น อ ง เ รื อ ตำ บ ล ไ ช ย ว า น อำ เ ภ อ ไ ช ย ว า น จั ง ห วั ด อุ ด ร ธ า นี

อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น จั ง ห วั ด อุ ด ร ธ า นี ร่ ว ม กั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ อุ ด ร ธ า นี

บทนำ

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานีร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ส่งเสริมการอนุรักษแ์ ละพัฒนาควายไทยเพ่ือการสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยว สง่ เสรมิ อาชีพและ
พฒั นาผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน สบื สานวฒั นธรรมวิถีชีวิตท่ีเป็นอัตลักษณข์ องพื้นถิ่นอสี าน ชมุ ชน
บา้ นเพยี ปู่-หนองเรือ อาเภอไชยวาน ประชากรประกอบอาชพี เลยี้ งสัตว์ และมีกลุม่ ทอผ้า
ท่ีทาเปน็ อาชพี เสริมแตก่ ลับสร้างรายได้เปน็ หลกั คณะทางานและคนในชุมชนเหน็ ว่าควร
มกี ารส่งเสริมกจิ กรรมท่ีสามารถพัฒนาเป็นอาชีพ และส่งเสริมอนุรักษ์ควายไทยร่วมด้วย
จึงได้จัดกิจกรรมผ้าหมักขี้ควายและย้อมสีธรรมชาติ เพ่ือส่งเสริมภูมิปัญญาชาวบ้านและ
ส่งเสริมเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าของชุมชน โดยนาวัตถุดิบท่ีมีในชุมชนมาใช้เป็นกรรมวิธีการ
หมักผ้าเพ่ือสร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ พัฒนาเป็นอัตลักษณ์ของพ้ืนถิ่น ร่วมกับ
ส่งเสริมภูมปิ ัญญาท้องถ่ินเพิม่ คุณคา่ และมูลค่าเสริมเศรษฐกิจรากฐานในชุมชนให้มคี วาม
เข้มแข็ง ม่ันคง นาไปสู่การพ่ึงพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน
พร้อมท้ังสืบสานให้เยาวชนคนรนุ่ หลังเหน็ คุณคา่ ของควายไทย ชว่ ยกนั อนุรกั ษ์ควายไทยท่ี
นบั วนั จะสูญหายใหค้ งอยสู่ บื ไป

“อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน กลมุ่ อาเภอไชยวาน จงั หวดั อดุ รธานี”

สำรบัญ

บทนา

การดาเนินโครงการ 1

กิจกรรมที่ 1 2
การศกึ ษา สารวจ ข้อมูล 5
กลุ่มเป้าหมาย 7
กิจกรรมที่ 2 15
ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย (Focus
Group)
กิจกรรมท่ี 3
อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการออกแบบ
ผลิตภณั ฑช์ ุมชน
กจิ กรรมที่ 4
การติดตามและสรปุ รายงานผล

ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ 16

อ้างองิ 17

“อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นาผลติ ภัณฑช์ ุมชน กลุม่ อาเภอไชยวาน จังหวัดอดุ รธานี”

1

กิจกรรมส่งเสริมอำชพี และพฒั นำผลติ ภัณฑ์ชุมชน เช่อื มโยงกำรท่องเท่ยี ว
เชงิ วัฒนธรรม ประเพณี ภมู ิปญั ญำ วถิ ชี ีวิตทเ่ี ปน็ อตั ลักษณ์ของพ้ืนถ่ินอสี ำน

กลุม่ วสิ ำหกจิ ชมุ ชน กลมุ่ ศิริผำ้ ไทย
บำ้ นเพียป-ู่ หนองเรอื ตำบลไชยวำน อำเภอไชยวำน จงั หวัดอดุ รธำนี

ภายใตโ้ ครงการส่งเสริมการอนรุ กั ษ์และพฒั นาควายไทย เพอ่ื การส่งเสริมการท่องเท่ยี ว ส่งเสรมิ
อาชีพและสืบสานวัฒนธรรม วิถชี วี ติ ทเี่ ป็นอัตลักษณ์ของพื้นถิ่นอสี าน

งบประมำณ
ได้รับการสนบั สนุนจากองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดอดุ รธานี ประจาปี 2564

ระยะเวลำดำเนินโครงกำร
กมุ ภาพันธ์ – พฤษภาคม พ.ศ. 2565

กำรดำเนนิ โครงกำร

กจิ กรรมท่ี 1 กิจกรรมท่ี 2 กจิ กรรมท่ี 3 กิจกรรมท่ี 4
การศกึ ษา ประชุมกลุ่ม อบรมเชิง การตดิ ตาม
สารวจ ขอ้ มูล ยอ่ ย (Focus ปฏบิ ัตกิ าร และสรปุ
กลุม่ เป้าหมาย ออกแบบ รายงานผล
Group) ผลิตภัณฑ์
ชุมชน

“อบรมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน กลุม่ อาเภอไชยวาน จงั หวดั อดุ รธานี”

กิจกรรมท่ี 1 2

กำรศึกษำ สำรวจ ค้นหำ วิเครำะห์และประเมินควำมพรอ้ ม
กลุ่มเป้ำหมำย

บริบทชมุ ชน

บ้านเพียปู่ ตาบลไชยวาน อาเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี เป็นหมู่บ้านเก่าแก่
โบราณ เป็นแหล่งอารยธรรมที่มีผู้คนอาศัยอยู่หลายยุคหลายสมัยจากหลักฐานท่ีขุดพบ
วัตถุโบราณหลายชนดิ เช่น เคร่อื งปั้นลายเชือกซง่ึ เช่อื ว่านา่ จะมีอายรุ าว 5,000 ถงึ 7,000
ปี ซ่ึงเป็นยุคสมัยที่ยังไม่มีการใช้สีเขียนลาย นอกจากนั้นยังพบหินศิลาแลงท่ีอยู่บนต้นไม้
ใหญ่ สันนิษฐานว่าคนในยุคน้ันยังไม่มีศาสนาจึงมีการนาก้อนหินไปไว้บนที่สูงเพื่อเคารพ
บูชาตามความเชอ่ื บา้ นเพียปู่ยังเป็นแหล่งทีม่ ีดินเหนียวสีดามคี ณุ สมบัตใิ ชป้ ้นั เป็นภาชนะ
ต่าง ๆ ได้ดี อาจเป็นแหล่งผลิตเคร่ืองป้ันดินเผาในยุคนั้น ซึ่งปัจจุบันคือบริเวณท่ีเรียกว่า
“โนนหนองกี่” (ก่ี เป็นภาษาอีสาน แปลว่า เผา) และยังมีการสนั นิษฐานว่าบ้านเพียปู่เป็น
แหลง่ อารยธรรมในยคุ ตอ่ มา

บรรพบุรุษของชาวเพียป่อู พยพมาจากอสี านตอนกลาง ตอนล่างและตะวนั ออก
เช่น นครสาเกต เมอื งศรภี ูมิ เมอื งศรีสะเกษ เพอ่ื หนภี ยั สงครามและความแห้งแล้งแสวงหา
พ้ืนท่ีอุดมสมบูรณ์ แต่ก่อนหัวเมืองภาคอีสานมีผู้ปกครองเมืองเรียกว่า “เพี้ยเมือง คือ
ตาแหน่งที่ได้รับการแต่งต้ังเป็นผู้ปกครองหัวเมืองทางล้านช้าง ล้านนาและภาคอีสาน”
เพีย้ เมืองท่ีพาราษฎรอพยพข้นึ มาทางทศิ เหนือ

เม่ือเดินทางมาถึงบริเวณบ้านเพียปู่เห็นว่าเป็นแหล่งท่ีอุดมสมบูรณ์เป็นท่ีสูงมี
แม่น้าล้อมรอบหลายสาย ได้แก่ แม่น้าสงคราม ห้วยเอเฮ ห้วยไพจาน มีหนองน้าอีก
มากมาย เชน่ กดุ ลม หลา่ นเต หนองเรือ หนองบ้าน หนองสมิ หนองเดิด หนองแสง จึง
ต้ังหลักปักฐานและต้ังชื่อหมู่บ้านตามชื่อเพี้ยปู่ ซึ่งเป็นผู้ปกครองเมือง ต่อมาเปล่ียนเป็น
บา้ น “เพียป”ู่ เป็นต้นมา

“อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลติ ภัณฑช์ มุ ชน กลมุ่ อาเภอไชยวาน จังหวัดอดุ รธานี”

3

อำณำเขต

บา้ นเพยี ป-ู่ หนองเรอื ตาบลไชยวาน อาเภอไชยวาน ห่างจากตัวจงั หวดั อุดรธานี

ประมาณ 58 กโิ ลเมตร มอี าณาเขตติดตอ่ กับอาเภอและจงั หวดั ใกล้เคยี ง ดังนี้

ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับอ.หนองหาน จ.อดุ รธานี , อ.สวา่ งแดนดนิ

จ.สกลนคร

ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั อ.วังสามหมอ, อ.ศรธี าต,ุ จ.อดุ รธานี

ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั อ.วังสามหมอ, จ.อดุ รธาน,ี อ.ส่องดาว,จ.สกลนคร

ทศิ ตะวันตก ติดต่อกบั อ.กแู่ กว้ , อ.หนองหาน, จ.อุดรธานี

แหลง่ ทอ่ งเท่ียวสถำนทีส่ ำคัญ - โรงเรียนเพยี ปูป่ ระชาสรรค์
- โรงเรยี นเพียปู่หนองเรือ - หว้ ยไพจาน
- ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กหนองเรือเพียปู่ - สวนสาธารณหนองเพียปู่
- ตลาดเพียป-ู่ หนองเรือ - วดั กแู่ ก้ววทิ ยาราม บา้ นเพยี ปู่
- วดั ป่าสนั ติกาวาส บา้ นหนองตูม

ควำมเช่อื ประเพณี และพิธกี รรม
สังคมชุมชน เป็นสังคมท่ียึดขนบธรรมเนียมประเพณีตามบรรพบุรุษประเพณีที่

สาคัญและมีการละเล่นที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ภาษาที่ใช้ในการส่ือสาร คือภาษา
อีสาน สิ่งที่โดดเด่นในชุมชน คือ ผ้าพ้ืนเมือง ผลิตภัณฑ์จักสาน ผลิตภัณฑ์จากกก
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ วัฒนธรรมประเพณีท่ีโดดเด่นในชุมชนท่ีปฏิบัติ
สืบต่อกันมายาวนาน ท้ัง 12 เดือน เฉพาะอย่างย่ิงด้านการทาบุญตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ที่
วัดป่าสันติกาวาส บุญเดือนสาม บุญข้าวจ่ี บุญพระเวสสันดรชาดก ประเพณีสรงกู่ท่ีวัด
กู่แก้ว บุญบ้ังไฟ บญุ เข้าพรรษา บญุ กฐนิ ลอยกระทง และอ่นื ๆ

“อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพฒั นาผลิตภัณฑช์ มุ ชน กลุ่มอาเภอไชยวาน จงั หวดั อุดรธานี”

4
กำรปกครอง

บ้านเพียปู่-หนองเรือมีการออกกฎระเบียบ กติกาของหมู่บ้านเพ่ือให้เกิดความ
สงบปรองดอง สมัครสมานสามัคคี ซ่ึงคาดหมายว่าคนในหมู่บ้าน/ชุมชน จะมีความสุข
ร่มเยน็ และมีการจดั ตัง้ คณะกรรมการหมู่บ้านกากบั ดูแล
กำรประกอบอำชีพ

ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทานา ทาไร่ออ้ ย ไร่มนั สาปะหลงั
สวนยางพารา ปลกู ผกั เลี้ยงสัตว์ (โค กระบอื ) ทอผา้ (อาชีพเสรมิ ) และรับจา้ งท่วั ไป

ศึกษำ สำรวจ ขอ้ มูลกลุ่มเป้ำหมำย
“อบรมเชิงปฏบิ ัติการพฒั นาผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มอาเภอไชยวาน จังหวดั อดุ รธานี”

5

กิจกรรมท่ี 2 ประชมุ กลุ่มยอ่ ย (Focus Group)

กำรประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย ได้ดาเนินการในวันที่ 26 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
ณ ศาลากลางหมู่บ้านหนองเรือ หมู่ที่ 9 ตาบลไชยวาน อาเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี
เพื่อทบทวนขอ้ มลู ทไี่ ด้รับจากการลงพื้นท่ีสอบถามข้อมูลในกิจกรรมที่ 1 และยืนยันความ
ถูกต้องของข้อมูล พร้อมกับร่วมกันวางแผนการดาเนินกิจกรรมกับตัวแทนชุมชนและ
ชาวบ้านที่เข้าร่วมให้ข้อมูลเพ่ือออกแบบ พัฒนาผลิตภัณฑข์ องทางกลุ่ม โดยใช้ SWOT ใน
การดาเนินกิจกรรมวเิ คราะห์หาศักยภาพ ความพรอ้ ม จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและปญั หา
อุปสรรค ได้ข้อสรุปว่าทางกลุ่มมีความพร้อมและมีศักยภาพด้านการทอผ้าเป็นจุดแข็ง
และมีทรพั ยากรในท้องถน่ิ อุดมสมบูรณ์ รวมถึงมีการเลย้ี งโคกระบือภายในครวั เรือน และ
มีจุดอ่อนด้านการสร้างอัตลักษณ์เฉพาะท้องถ่ินของตน ทางกลุ่มเป้าหมายจึงต้องการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าให้มีความแตกต่างจากท่ีพ้ืนท่ีอื่นและไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าที่นามาย้อมกับมูลควายและย้อมสีธรรมชาติเพ่ือสร้าง
ผลติ ภัณฑ์ใหมท่ เี่ ป็นอัตลักษณใ์ นทอ้ งถิน่ ของตนเอง

“อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน กลมุ่ อาเภอไชยวาน จังหวัดอดุ รธานี”

6

ประชุมกลมุ่ ย่อย (Focus Group) กล่มุ เป้ำหมำย

“อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาผลติ ภัณฑช์ ุมชน กล่มุ อาเภอไชยวาน จังหวัดอดุ รธานี”

7

กจิ กรรมที่ 3 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิกำรออกแบบผลติ ภณั ฑ์ชุมชน

3.1 กำรย้อมผ้ำจำกมูลควำย ได้ดาเนินการในวันท่ี 27 เดือนมีนาคม พ.ศ.
2565 ณ ศาลาประชมคมบ้านหนองเรือ หมู่ 9 ตาบลไชยวาน อาเภอไชยวาน จังหวัด
อุดรธานี โดยมี ผศ.ดร.ธีระยุทธ์ เพ็งชัย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
อาจารย์เอกพันธ์ พิมพาที นักศกึ ษา เป็นวิทยากรที่มีความรู้เรื่องการหมกั ผ้าย้อมมูลควาย
และผ้าหมักมูลควายย้อมสีธรรมชาติ ให้กับทางกลุ่มศิริผ้าไทยและชาวบ้านในชุมชนท่ี
สนใจเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการในคร้ังน้ี ได้เรียนรู้พร้อมกับลงมือปฏิบัติการหมัก การ
ย้อม ตามขั้นตอนที่วิทยากรแนะนา ด้วยวิธีการที่ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก ต้ังแต่ การทาความ
สะอาดเสน้ ไหม/เส้นดา้ ย กอ่ นการหมกั ย้อมด้วยมูลควาย การเตรยี มนา้ หมักมูลควาย การ
เตรียมสารชว่ ยหมกั ยอ้ มมูลควายทม่ี ีคุณสมบตั ชิ ่วยใหเ้ ส้นด้ายติดสี การย้อมสี และการลา้ ง
ทาความสะอาด ทางกลุ่มเป้าหมายสามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว พร้อมกับได้สูตร
เฉพาะท่ีเป็นเทคนิควิธีการท่ีให้สีย้อมด้วยขี้ควายออกมาเป็นเฉดสีเฉพาะที่เปน็ เอกลักษณ์
ของทางกล่มุ เปา้ หมาย และวิธกี ารดบั กลิ่นมูลควายดว้ ยพชื สมนุ ไพรในชมุ ชนดว้ ย

“อบรมเชิงปฏบิ ัติการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน กลุ่มอาเภอไชยวาน จังหวดั อดุ รธานี”

8

กำรยอ้ มผำ้ จำกมูลควำย

“อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาผลติ ภัณฑช์ ุมชน กลุ่มอาเภอไชยวาน จังหวัดอดุ รธานี”

9

ข้ันตอนกำรยอ้ มเส้นใยจำกมูลควำย

1. การเตรยี มมลู ควาย รวบรวมมลู ควาย โดยมูลควายใหม่ที่
ยังอ่อนนุ่มจะมีความสะดวกในการ
นามาเตรียมการเพ่อื มกั มลู ควายกอ่ น

2. การเตรยี มเสน้ ใย/ผา้ นาเส้นใยฝ้าย ท้งั ฝา้ ยธรรมชาติทเ่ี ขน็
ดว้ ยมอื และเสน้ ใยฝา้ ยซกี วง/โทเร
นามาทาความสะอาดดว้ ยนา้ อ่อนหรือ
สบู่

3. การสกดั สีย้อมมลู ควาย น า มู ล ค ว า ย ม า ห มั ก ใ น น้ า โ ด ย ใ ช้
สัดส่วนประมาณ มูลควาย: น้า = 10
กก. : 30 ลิตร ต่อฝ้าย 10 กก. ถ้า
ต้องการสเี ข้มใหเ้ พิม่ มูลควายแลว้ หมัก
ไว้ประมาณ 5-7 วัน ก่อนนามากรอง
เอาเฉพาะน้าท่ีหมักมาใช้ในการนาไป
ยอ้ มเส้นใยฝา้ ย/ยอ้ มผา้

“อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นาผลติ ภัณฑ์ชุมชน กลมุ่ อาเภอไชยวาน จงั หวัดอุดรธานี”

10

ขน้ั ตอนกำรยอ้ มเส้นใยจำกมลู ควำย

4. กระบวนกำรย้อมสีมลู ควำย ใช้ตาข่ายกรองเอาเฉพาะน้าหมักจาก
มูลควายจากน้ันนามาต้มให้น้าร้อน
ถ้ายังมีเศษต่าง ๆ ให้เอาออกก่อน
จากนน้ั นาเส้นใยฝา้ ย/ย้อมผ้าฝา้ ย
ลงต้มประมาณ 45-60 นาที ยกข้ึนบิด
หมาดใช้น้า

5. กำรผนกึ สีให้คงทน 1. สารส้ม 200 กรัม (2 ช้อนโต๊ะ)
ผสมน้า 10 ลิตร นาน 10-15 นาที

2. จุลสี 10-20 กรัม (1 ช้อนชา)
ผสมน้า 10 ลิตร นาน 10-15 นาที

ทม่ี ำ: ศนู ยอ์ อกแบบสร้ำงสรรคผ์ ำ้ และสงิ่ ทอ(FTCDC) มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั อดุ รธำนี
“อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ชุมชน กลมุ่ อาเภอไชยวาน จังหวัดอดุ รธานี”

11
3.2 กำรย้อมผ้ำด้วยสีธรรมชำติ ได้ดาเนินการในวันที่ 4 เดือนเมษายน
พ.ศ. 2565 ณ ศาลาประชมคมบ้านหนองเรอื หมู่ 9 ตาบลไชยวาน อาเภอไชยวาน จงั หวดั
อดุ รธานี โดยมี นางสาวศริ ทิ รัพย์ บวั แย้ม และนางสุพิณญา ผา่ นแสนเสาร์ เป็นวทิ ยากรที่
มีความรู้เรื่องการหมักผ้าย้อมขี้ควายด้วยสีธรรมชาติ ให้กับทางกลุ่มศิริผ้าไทยและ
ชาวบ้านในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ ได้เรียนรู้พร้อมกับลงมือ
ปฏิบัติการย้อมสธี รรมชาติด้วยการนาเอาวัตถุดิบในธรรมชาติท่ีได้จากพืช สัตว์ จุลินทรีย์
ต่าง ๆ มาทาการย้อมกับเส้นด้าย เพื่อเพ่ิมสีสันให้กับเส้นด้ายให้มีความสวยงาม ด้วย
วธิ ีการท่ีไม่ยุ่งยากซับซ้อน ในคร้ังน้ที ดลองย้อมสีธรรมชาติด้วย เปลือกไม้ประดู่ ดาวเรือง
ขมิ้นชัน อัญชัน ฝักคูณ ตามข้ันตอนที่วิทยากรแนะนา ต้ังแต่ข้ันตอนก่อนการย้อม
การเตรียมน้าย้อม การเตรียมสารช่วยย้อมหรือให้สีติดเส้นด้าย การย้อมสี และล้างทา
ความสะอาด ได้เส้นด้ายที่เป็นเฉดสตี า่ ง ๆ ตามวตั ถุดิบทางธรรมชาติทีน่ ามายอ้ ม

“อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชน กลุ่มอาเภอไชยวาน จงั หวดั อุดรธานี”

12

กำรย้อมผ้ำด้วยสธี รรมชำติ

“อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาผลติ ภัณฑช์ ุมชน กลมุ่ อาเภอไชยวาน จงั หวดั อดุ รธานี”

13
3.3 กำรทำผ้ำมัดย้อม การอบรมเชิงปฏิบัติการการทาผ้าผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติคร้ังนี้
เป็นการอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะเก่ียวกับหลักการทาผ้ามัดย้อม โดยมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กนิษฐา เรืองวรรณศักด์ิ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ ให้กับ
ทางกลุ่มศิริผ้าไทยและชาวบ้านในชุมชนที่สนใจเข้าร่วม ได้เรียนรู้พร้อมกับลงมือปฏิบัติ
ขั้นตอนการทาผ้ามัดย้อม ขั้นตอนการสร้างลายผ้ามัดย้อม การเตรียมการย้อมสีจาก
วัตถุดิบทางธรรมชาติ จากพืชในท้องถ่ินเป็นวัสดุให้เฉดสี ข้ันตอนการย้อมสี พร้อมทั้ง
วิเคราะห์และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นขณะทาการมัดย้อม รวมถึงเสนอ
แนวคิดในการพัฒนาการทาผ้ามัดย้อมร่วมกบั การหมักมูลควายที่ได้ฝึกปฏบิ ัติในกิจกรรม
ครัง้ ท่ีผา่ นมา เพอ่ื พฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชนต่อไป

“อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน กล่มุ อาเภอไชยวาน จังหวัดอดุ รธานี”

14

กำรทำผำ้ มัดยอ้ มสีธรรมชำติ

“อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชน กลมุ่ อาเภอไชยวาน จงั หวดั อดุ รธานี”

15

กิจกรรมที่ 4 กำรติดตำม สรปุ ผลและรำยงำนผลกำรพฒั นำผลิตภัณฑ์ผ้ำหมกั
ย้อมมูลควำย ผำ้ ยอ้ มด้วยสีธรรมชำติ และผ้ำมัดยอ้ มสธี รรมชำติ กล่มุ ศิรผิ ้ำไทย
บำ้ นเพียป-ู่ หนองเรือ ตำบลไชยวำน อำเภอไชยวำน จังหวัดอดุ รธำนี

จากการดาเนินโครงการฯ ทางคณะกรรมการผู้รบั ผดิ ชอบได้พบกลุ่มเปา้ หมาย
(กลุ่มศิริผ้าไทย) และผู้ร่วมกิจกรรมเพ่ือติดตามผลการดาเนินงาน สอบถามปัญหา
อปุ สรรค และแนวโน้มในอนาคต หลังจากท่ีได้ร่วมกจิ กรรมอบรมเชิงปฏิบัติการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ชุมชนไปแล้วนั้น ทางกลุ่มเป้าหมายได้รับการเสริมสร้างความรู้และเพ่ิมพูน
ทกั ษะเกีย่ วกบั การหลักการย้อมผ้าจากมูลควาย การย้อมผ้าดว้ ยสีธรรมชาติ และการทา
ผ้ามัดย้อม สามารถลงมือปฏิบัติ วิเคราะห์ และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงการเสนอ
แนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการเรียนรู้ท้ัง 3 กิจกรรมในอนาคต ช่วยให้ชุมชน
สามารถต่อยอดทักษะความรู้ความสามารถจากภูมิปัญญาและสามารถนาวัสดุในชุมชน
ท้องถ่ินของตนมาเป็นวัตถุดิบหลักท่ีใช้ในการ หมัก ย้อม สีผ้า ช่วยลดต้นทุนการผลิต
อีกท้ังยังช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ลดการใช้สารเคมี และยังเป็นการสร้างอัตลักษณ์ให้กับ
ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนอกี ด้วย

ปัจจัยที่ช่วยให้ประสบผลสาเร็จคือ ผู้นาชุมชน กลุ่มเป้าหมาย และผู้ร่วม
กิจกรรม ให้ความสาคัญและมีความตั้งใจในการส่งเสริมพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน
และตอบรับการส่งเสริมพัฒนาจากโครงการ พร้อมท้ังให้ความร่วมมือในการดาเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีช่วยส่งเสริมงาน อาชีพ และรายได้เสริมให้กับคนในชุมชนจาก
ผลิตภัณฑ์ทีพ่ ัฒนาขนึ้ ได้ตอ่ ไปในอนาคต

“อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ชุมชน กล่มุ อาเภอไชยวาน จังหวัดอดุ รธานี”

16
ประโยชน์ที่ไดร้ บั

1. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้เรียนรู้ เทคนิค วิธีการหมัก การย้อมสีเส้น
ไหม ด้าย/ผ้าด้วยวัตถุดิบทางธรรมชาติในท้องถ่ินของตน สร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับวัตถุดิบในท้องถ่ิน ย่อมก่อให้เกิดความรัก
ความหวงแหน และเรียนรู้ท่ีจะอนุรักษ์ ปลูกทดแทนเพ่ือการผลิตที่
ย่งั ยนื

2. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้ผลิตภัณฑ์ผ้าที่หมักด้วยมูลควายและผ้า
หมกั มูลควายยอ้ มสีธรรมชาติที่เป็นเอกลกั ษณข์ องชุมชนตาบลไชยวาน

3. สามารถส่งเสริมงาน อาชีพ และรายได้เสริมให้กับคนในชุมชนจาก
ผลติ ภัณฑท์ ี่พัฒนาข้นึ

“อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุม่ อาเภอไชยวาน จังหวดั อุดรธานี”

17
อำ้ งองิ
เทศบาลตาบลไชยวาน. ขอ้ มลู ทว่ั ไปขอ้ มูลพน้ื ฐำน. สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2565
จาก http://www.chaiwan.go.th/
ธรี ะยุทธ์ เพง็ ชยั . (2565). เอกสำรประกอบกำรอบรมกำรยอ้ มเส้นใยจำกมูลควำย.
อุดรธาน:ี ศูนยอ์ อกแบบสรา้ งสรรคผ์ า้ และสิ่งทอ(FTCDC) มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี.
ประวัตบิ ้านเพียป.ู่ (ม.ป.ป.). ปา้ ยประชาสมั พันธห์ มู่บา้ น. ตาบลไชยวาน: อุดรธานี.

“อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชน กล่มุ อาเภอไชยวาน จงั หวดั อุดรธานี”

18
ผูร้ บั ผิดชอบโครงกำรจดั อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ชมุ ชน

กลุม่ อำเภอไชยวำน จังหวัดอดุ รธำนี

1. อาจารยป์ ิยะนชุ พทุ ธวงศ์
2. ผู้ชว่ ยศาตราจารย์ศรนั ยา ฉัตรเดชา
3. อาจารยส์ ริ ิรตั น์ จันทรม์ าลา
4. อาจารยน์ ชุ นาฏ สระกาศ

สังกดั สำนกั วชิ ำศึกษำทัว่ ไป
มหำวทิ ยำลัยรำชภฏั อุดรธำนี

“อบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชน กลุ่มอาเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี”

โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์ และพัฒนาควายไทยเพื่ อการส่งเสริม
การท่ องเที่ ยว ส่งเสริมอาชีพและสืบสานวัฒนธรรมวิถี ชีวิต
ที่ เป็นอั ตลั กษณ์ของพื้ นถิ่ นอี สาน


Click to View FlipBook Version