The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทุ่งฝน-เสื้อปัก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by julawadee.me, 2022-05-27 13:20:41

ทุ่งฝน-เสื้อปัก

ทุ่งฝน-เสื้อปัก

1

กจิ กรรมส่งเสรมิ รอาชพี และพฒั นาผลิตภณั ฑช์ ุมชน
เช่ือมโยงการทอ่ งเท่ียวเชงิ วฒั นธรรม ประเพณี
ภูมปิ ัญญา วิถีชีวิตทเ่ี ป็ นอตั ลกั ษณข์ องพ้ นื ถนิ่ อีสาน

กลุม่ ทอผา้ ทอมอื ตาบลทงุ่ ฝน อาเภอทงุ่ ฝน จงั หวดั อุดรธานี

คณะทป่ี รกึ ษาโครงการ
ประจาพ้ นื ทอ่ี าเภอทงุ่ ฝน จงั หวดั อุดรธานี
1. ผศ.ดร.พลอยระดา ภมู ี หวั หนา้ ทปี่ รกึ ษาประจาพ้ นื ท่ี
2. อาจารยท์ ศพร วรวงศเ์ ทพ อาจารยป์ รกึ ษาประจาพ้ นื ท่ี
3. อาจารยส์ มบูรณ์ ชานาญ อาจารยป์ รกึ ษาประจาพ้ นื ที่
4. อาจารยอ์ ลงกรณ์ เชดิ ศริ ิ อาจารยป์ รกึ ษาประจาพ้ นื ท่ี

สงั กดั สานักวชิ าศึกษาทวั ่ ไป
มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

ปี งบประมาณ 2564

2

ผลการดาเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม กิจกรรมส่งเสริมรอาชีพและพัฒนาผลิตภัณฑ์
ชุมชน เชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประเพณี
ภมู ปิ ัญญา วิถชี ีวิตทเ่ี ป็ นอตั ลกั ษณข์ องพ้ ืนถ่ินอีสาน กลุ่มทอผา้
ทอมือ ตาบลทงุ่ ฝน อาเภอทงุ่ ฝน จงั หวดั อุดรธานี
งบประมาณ : ไดร้ ับการสนับสนุนงบประมาณจากองคก์ าร
บริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ปี งบประมาณ 2564 จานวน
80,0000 บาท

ระยะเวลาในการดาเนินกิจกรรม : กุมภาพนั ธ์ – เมษายน
2565

3

กจิ กรรมยอ่ ยในโครงการ
กิจกรรมท่ี 1: การศึกษา สารวจ คน้ หา วิเคราะหแ์ ละประเมนิ
ความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย ในระหว่างวันท่ี 23 กุมภาพันธ์
2565 และ 6 มีนาคม 2565 ณ บริเวณพ้ ืนที่ตาบลทุ่งฝน
อาเภอทงุ่ ฝน จงั หวดั อดุ รธานี
วตั ถุประสงคข์ องการจดั กิจกรรม ลงพ้ ืนท่ีสารวจผลิตภัณฑ์
ในพ้ นื ที่ และประสานไปยงั หน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง เพอ่ื สอบถาม
ถึงผลิตภัณฑ์ในพ้ ืนท่ีท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาในอนาคต
รวมท้ังไดร้ ่วมพูดคุยกับท่านนายอาเภอ ในการคัดเลือก
ผลิตภณั ฑเ์ ป้าหมายที่จะพฒั นา ภายใตโ้ ครงการส่งเสริมและ
อนุรักษ์และพฒั นาควายไทยเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว
ส่งเสริมอาชีพและสืบสานวัฒนธรรมวิถีชีวิตที่เป็ นอตั ลักษณ์
ของพ้ นื ถน่ิ อสี าน

ร่วมพดู คุยกบั ท่านนายอาเภอทุ่งฝน และหวั หน้าฝ่ าย OTOP
อาเภอทงุ่ ฝน เพื่อคน้ หากลุ่มเป้าหมาย

4

ร่วมพดู คุยกบั หวั หนา้ และ
เจา้ หนา้ ที่ฝ่ าย OTOP
อาเภอทงุ่ ฝน เพ่อื คน้ หา
กลุ่มเป้าหมาย

ร่วมพดู คุยกบั หวั หน้า และเจา้ หนา้ ทฝี่ ่ าย OTOP อาเภอ
ทงุ่ ฝน และกลุ่มเป้าหมายกลมุ่ เป้าหมาย ไดแ้ ก่ กลุ่มทอ
ผา้ ขาวหมา้ หมู่ 7, 10, 13 และกลุ่มทอผา้ พ้ นื เมอื ง

บา้ นโนนสะอาด หมู่ 9

5

กิจกรรมยอ่ ยในโครงการ

กิจกรรมท่ี 2: ประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพื่อเตรียม
ความพรอ้ มการพฒั นาผลิตภณั ฑร์ ่วมกบั กลุ่มเป้าหมาย ในวนั
เสารท์ ่ี 12 มนี าคม 2565 เวลา 9.00 น.– 16.30 น. ณ กลุ่ม
ทอผ้ากุดคล้า หมู่ 13 ตาบลทุ่งฝน อาเภอทุ่งฝน จังหวัด
อุดรธานี

วัตถุประสงคข์ องการจัดกิจกรรม คือ คน้ หาผลิตภัณฑท์ ่ี
เหมาะสมในการพฒั นา และเพื่อเตรียมความพรอ้ มการพฒั นา
ผลิตภณั ฑ์ ร่วมกบั กลุ่มเป้าหมาย ผลิตภณั ฑท์ ่ีกลุ่มเป้าหมาย
ตอ้ งการ ไดแ้ ก่ 1) กระเป๋ าผา้ 2) ผา้ เช็ดมือ 3) ลายปักบน
เส้ อื ยืด

6

ผลติ ภณั ฑข์ องกลมุ่ เป้าหมาย

7

กจิ กรรมยอ่ ยในโครงการ

กิจกรรมท่ี 3: อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการพฒั นาผลิตภณั ฑว์ ิถีคน
วิถีควายร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย – การแปรรูปผ้าทอมือ ใน
ระหวา่ งวนั ที่ 17-18 มนี าคม 2565 เวลา 8.30-18.00 น. ณ
ศาลากลางบา้ น บา้ นศรีสงคราม หมู่ 13 ตาบลทุ่งฝน อาเภอ
ทงุ่ ฝน จงั หวดั อดุ รธานี

วัตถุประสงคข์ องการจดั กิจกรรม คือ วตั ถุประสงคเ์ พ่ือเพ่ิม
ทกั ษะใหก้ บั กลุ่มเป้าหมาย โดยนาผลผลิตภณั ฑ์ที่มีการร่วม
ประชุมกลุ่มย่อยในกิมจรรมท่ี 2 มาพฒั นาเพ่ือสรา้ งรูปแบบ
ผลิตภัณฑใ์ หม่ๆ ใหก้ บั กลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่ 1) กระเป๋ าผา้
2) ผา้ เช็ดมือ 3) ลายปักบนเส้ ือยืด ซ่ึงไดร้ บั เกียจในการเปิ ด
กิจกรรมจากท่านนายอาเภอทุ่งฝน นายกาธร วิเชฏฐพงศ์
เป็ นประธาน ในการจดั กิจกรรมในคร้งั น้ ี พรอ้ มดว้ ยส่วนงาน
OTOP อาเภอทุ่งฝน หน่วยงาน ทางอบจ. และสานักงานการ
ท่องเท่ยี วและกฬี าจงั หวดั อดุ รธานี ร่วมสงั เกตการณใ์ นการจดั
กิจกรรม โดยวทิ ยากรในการใหค้ วามรใู้ นคร้งั น้ ี คือ 1) ดร.กุล
จิต เสง็ นา 2) นางสาวณิชาภทั ร พฤฒิสาร 3) นางสาววารณุ ี
ศริ ิวฒั น์ และ 4) นางสาวอรพรรณ ศรีกาหลง

8

ขอ้ มูลผูเ้ ขา้ รว่ มอบรวม
➢ ผูเ้ ขา้ ร่วมอบรวม ประกอบดว้ ย กลุ่มทอผา้ ขาวหมา้ หมู่ 7,
หมู่ 10, หมู่ 13 และ กลุ่มทอผา้ พ้ ืนเมืองบา้ นโนนสะอาด หมู่
9 จานวนผเู้ ขา้ ร่วมการอบรม 20 คน เป็ นหญงิ 19 คน ชาย 1
คน อายุเฉลี่ยที่ 54 ปี ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 61-66 ปี (6
คน) รองลงมา คือ 46-50 ปี และ 56-60 ปี (ช่วงอายุอยู่ท่ี
4 คน) และ 37 – 40 ปี และ 51 - 55 ปี (ช่วงอายุอยู่ท่ี 3
คน)

9

การประเมินความคดิ เหน็ และความพงึ พอใจ
➢ ผลการประเมินความคิดเห็นและความพึงพอใจในการจดั
กิจกรรม พบผูเ้ ขา้ ร่วมการอบรมในคร้งั มีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดบั มากทสี่ ุด รายละเอียด ดงั ตาราง

ลาดบั รายการประเมิน ค่าเฉล่ีย S.D. แปรความ
1 การออกแบบกจิ กรรมร่วมกบั 4.40 0.50 มากท่ีสดุ

ชุมชนมคี วามเหมาะสม และ 4.45 0.51 มากท่สี ุด
ความสอดคลอ้ งกบั สภาพ 4.15 0.59 มาก
ปัญหาและความตอ้ งการ ของ
ชุมชน 4.45 0.49 มากที่สดุ
2 ชมุ ชนไดร้ บั ประโยชน์จากการ
พฒั นาออกแบบ ผลิตภณั ฑ์์ 4.55 0.51 มากทสี่ ุด
3 ระยะเวลาและสถานท่ีมีความ 4.60 0.50 มากที่สดุ
เหมาะสมและ สอดคลอ้ งกบั 4.43 0.52 มากทส่ี ดุ
การเรยี นรู้
4 ชมุ ชนมแี นวทางในการพฒั นา
ผลิตภณั ฑ์ และ ต่อยอดองค์
ความรูท้ ่ีไดร้ บั จากโครงการ
5 ชุมชนสามารภนาความรูไ้ ปใช้
ประโยชน์ไดจ้ รงิ
6 ทา่ นมีความพึงพอใจในการจดั
กิจกรรม
ภาพรวม

10

11

กจิ กรรมยอ่ ยในโครงการ

กิจกรรมท่ี 4: การติดตามการดาเนินกิจกรรม ในระหว่างวันที่ 26
มีนาคม 2565 ณ ศาลาประชาคมบ้านกุดคล้า ม. 13 ตาบลทุ่งฝน
อาเภอทงุ่ ฝน จังหวัดอุดรธานี

วัตถุประสงค์ในครั้งน้ี เพ่ือติดตามความก้าวหน้าของกลุ่เป้าหมาย
หลังการดาเนินกิจกรรมการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์วิถีคนวิถีควายร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย – การแปรรูปผ้าทอ
มือ ในระหว่างวันท่ี 17-18 มีนาคม 2565 ในครั้งนี้ มีการร่วมผู้คุย
เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอนาคต การเสริมทักษะ
ใหเ้ หมาะสมกับชว่ งวัยของสมาชกิ และช่องทางการตดิ ตอ่

12

ขอ้ เสนอแนะจากกลมุ่ เป้าหมาย ดังนี้
1) การอบรมท่ีผ่านมาช่วยให้เกิดประโยชน์กับกลุ่มเป็นอย่างมาก
ทาให้กลุ่มมีมุมมองใหม่ๆ ในการต่อยอดผลิภัณฑ์ และสร้าง
มูลค่าเพิม่ ให้กับผลิตภณั ฑข์ องกลมุ่
2) รูปแบบการเสริมทักษะจากการอบรมกลุ่มเป้าหมายได้รับ
ประโยชน์และช่ืนชอบในผลิตภัณฑ์ แต่เน่ืองจากสมาชิกกลุ่มส่วน
ใหญ่เข้าสู่วัยชรา ทาให้การดาเนินการล้าช้า เพ่ือให้การทางาน
รวดเรว็ ประหยดั เวลาในการทางาน และเพิม่ ช่นิ งานใหม้ ากขนั้ ดงั น้ี
ควรมกี ารเสริมทกั ษะและค้นหาวธิ ีลดระยะเวลาในทางาน เช่น การ
ปกั ผ้าด้วยมอื จากเข็มธรรมดา เป็นเข็มทคี่ ลา้ ยเขม้ จกั รเย็บผา้
3) เพ่ิมชอ่ งทางการจัดจาหน่าย และบนั จุภัณฑ์ใหเ้ ปน็ ท่นี ่าสนใจ


Click to View FlipBook Version