The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ กะแยกระเหรี่ยงแดง จังหวัดแม่ฮ่องสอน2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kk_png, 2022-01-13 04:14:33

ข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ กะแยกระเหรี่ยงแดง จังหวัดแม่ฮ่องสอน2

ข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ กะแยกระเหรี่ยงแดง จังหวัดแม่ฮ่องสอน2

ขอ้ มลู กล่มุ ชาติพนั ธ์กุ ะแย(กะเหร่ยี งแดง) จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

พมิ พ์ครงั้ แรก กันยายน ๒๕๖๔

ขอ้ มลู น้จี ัดทำ� โดย ศนู ย์ประสานงานวจิ ยั เพื่อท้องถ่นิ จังหวัดแมฮ่ ่องสอน (สกสว.มส.)

รว่ มกับเครือขา่ ยชุมชนกะแย (กะเหรย่ี งแดง) จังหวดั แม่ฮ่องสอน

ผู้รวบรวม นายพนา ชอบขุนเขา

เจ้าหน้าท่ศี นู ยป์ ระสานงานวจิ ยั เพ่อื ทอ้ งถิ่น จังหวดั แมฮ่ ่องสอน (สกสว.มส.)

ผู้เรียบเรียง นางสาวเวธกา วรรธวริฐ นกั วชิ าการวัฒนธรรมช�ำนาญการ

สนับสนุนงบประมาณ ศนู ยม์ านุษยวิทยาสริ ินธร (องค์การมหาชน) กระทรวงวัฒนธรรม

ส�ำนกั พิมพ์ หจก.ดาราวรรณการพมิ พ์ ๐๘๖ ๔๓๐๘๖๓๖, ๐๕๓ ๘๗๒๘๗๖, ๐๕๓ ๘๗๒๘๗๘

คำ� นำ�

ตามที่ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ขับเคลื่อนแนวนโยบายฟื้นฟูวิถีชีวิต

กลุม่ ชาติพนั ธ์ุเลและชาวกะเหรี่ยง ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี ๒ มถิ ุนายน ๒๕๕๒ และ ๓ สงิ หาคม ๒๕๕๓
ซ่ึงมีส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเป็นอีกหนึ่งกลไกในการด�ำเนินงานในระดับพ้ืนท่ี ท�ำหน้าที่ศึกษารวบรวม
ขอ้ มลู ขอ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั สถานการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ในชมชุ นชาตพิ นั ธ์ุการรณรงค์ สอ่ื สาร สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ
เก่ียวกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนการจัดกิจกรรมโครงการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงให้มีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางท่ีดีข้ึน ท้ังในระดับพ้ืนท่ีชุมชนและระดับนโยบาย
และกฎหมาย ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับกล่มุ ชาติพันธ์ุ
ในการน้ี ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้สนับสนุนการจัดพิมพ์ข้อมูล
กลมุ่ ชาตพิ นั ธก์ุ ะแย (กะเหรย่ี งแดง) ทศ่ี นู ยป์ ระสานงานวจิ ยั เพอ่ื ทอ้ งถน่ิ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน (สกสว.มส.)
ร่วมกับเครือข่ายชุมชนกะแย (กะเหรี่ยงแดง) จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ด�ำเนินการศึกษาบริบทชุมชน
กลุ่มชาติพันธุ์กะแย ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ด้านวิถีชีวิต การท�ำงาน ครอบครัว ส่ิงแวดล้อม สุขภาพ
และกระบวนการจัดการคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์กะแย ด้วยการจัดกิจกรรมเวทีชุมชน
แบบมีส่วนร่วม และศึกษาจากข้อมูลมือสองของหน่วยงานรัฐ พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์กะแย มีต้นทุนท่ีเด่น
ทางประเพณีวัฒนธรรม เช่น งานปอยต้นธี ปอยข้าวต้ม การเลี้ยงผีชนเผ่า การแต่งงานคร้ังท่ี ๒ และ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม เช่น การแบ่งเขตพ้นื ทท่ี �ำกิน พ้ืนท่อี นุรกั ษ์ พื้นที่ปา่ ใชส้ อย
การอนุรักษ์แหลง่ พันธุส์ ัตว์น�ำ้ เป็นต้น
ทั้งน้ีข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์กะแยที่ได้จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลในครั้งน้ี เป็นข้อมูล
เบือ้ งต้นส�ำหรับการศกึ ษาค้นควา้ ตอ่ ไป

ส�ำนกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดแมฮ่ ่องสอน

สารบัญ

สว่ นที่ ๑ ข้อมูลท่วั ไป ๑
สว่ นท่ี ๒ ข้อมูลกลุ่มชาตพิ ันธุก์ ะแย จังหวดั แมฮ่ ่องสอน
บริบทชุมชนกะเหรี่ยงแดงบ้านห้วยเสอื เฒา่ ๗
บรบิ ทชมุ ชนกะเหรย่ี งแดงบา้ นทบศอก ๑๖
บริบทชุมชนกะเหรย่ี งแดงบา้ นหว้ ยผึง้ ๑๘
บรบิ ทชุมชนกะเหรย่ี งแดงบา้ นไม้สะเป่ ๒๕
บริบทชมุ ชนกะเหรย่ี งแดงบ้านแมส่ ว่ ยอู ๓๓
บริบทชมุ ชนกะเหรี่ยงแดงบ้านหว้ ยมะเขอื ส้ม ๓๔
บรบิ ทชมุ ชนกะเหรย่ี งแดงบา้ นดอยแสง ๓๘
บรบิ ทชมุ ชนกะเหรี่ยงแดงบ้านห้วยผึง้ น้อย ๔๑
บรบิ ทชมุ ชนกะเหรี่ยงแดงบ้านห้วยชา่ งเหลก็ ๔๒
บรบิ ทชมุ ชนกะเหรี่ยงแดงบ้านหว้ ยช่างคำ� ๔๓
บริบทชมุ ชนกะเหรี่ยงแดงบ้านหว้ ยโป่งออ่ น ๔๕
ส่วนท่ี ๓ สรุปข้อมูลกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุกะแย จังหวดั แมฮ่ ่องสอน ๔๘

ขอ้ มลู ทวั่ ไป

ขอ้ มูลบริบทท่ัวไปจังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน ลักษณะทางสังคม ด้านการปกครองและ
จ�ำนวนประชากร จังหวัดแม่ฮ่องสอนแบ่งการปกครอง
ลักษณะทางกายภาพ ภูมิประเทศ เนื้อท่ีและ ออกเป็น ๗ อ�ำเภอ ๔๕ ต�ำบล ๔๑๕ หมู่บ้าน และมี
อาณาเขตตดิ ต่อ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ต้ังอยู่ ทางภาคเหนือ องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ จำ� แนกเปน็ ๑ เทศบาลเมอื ง
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทย ห่างจาก ๔ เทศบาลต�ำบล ๔๔ อบต. ประชากรรวมท้ังส้ินจ�ำนวน
กรุงเทพมหานครมากที่สุด ในภาคเหนือ มีระยะทาง ๒๗๙,๐๘๘ คน ๑๐๗,๖๔๘ ครัวเรือน โดยมีสัญชาติไทย
ประมาณ ๙๒๔ กโิ ลเมตร มพี รมแดนทตี่ ดิ ตอ่ กบั สาธารณรฐั จำ� นวน ๒๓๕,๒๙๘ คน เปน็ หญิงจ�ำนวน ๑๑๕,๓๓๘ คน
แหง่ สหภาพเมยี นมาทกุ อำ� เภอ รวมทงั้ สน้ิ ยาว ๔๘๓ กโิ ลเมตร เป็นชายจ�ำนวน ๑๑๙,๙๖๐ คน และไม่ได้สัญชาติไทย
แบ่งเป็นพรมแดนทางบกยาวประมาณ ๓๒๖ กิโลเมตร จ�ำนวน ๔๓,๗๙๐ คน เป็นหญิงจ�ำนวน ๒๑,๕๓๗ คน
และพรมแดนทางน�้ำ ยาวประมาณ ๑๕๗ กิโลเมตร เป็นชายจำ� นวน ๒๒,๒๕๓ คน (กรมการปกครอง, ๒๕๖๐)
ดา้ นแมน่ ำ�้ สาละวนิ ยาว ๑๒๗ กโิ ลเมตร และดา้ นแมน่ ำ�้ เมย ประชากรมีหลากหลายกลุ่มมากถึง ๑๓ กลุ่มชาติพันธุ์
ยาว ๓๐ กิโลเมตร พื้นท่ีจังหวัด มีพื้นที่ประมาณ ไดแ้ ก่ กลมุ่ กะเหรยี่ งหรอื ปกาเกอะญอ ซง่ึ มจี ำ� นวนมากทส่ี ดุ
๑๒,๖๘๑.๒๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ของประชากรทง้ั จงั หวดั ประมาณรอ้ ยละ ๗๘ ประกอบดว้ ย
๗,๙๗๘,๐๓๙.๕๒ ไร่ ซงึ่ ใหญ่เป็นอันดบั ๓ ของภาคเหนอื กลุ่มกระเหรี่ยงขาว(ปกาเกอะญอ, กะเหรี่ยงสะกอ)
และเปน็ อนั ดบั ๗ ของประเทศ มคี วามยาวจากเหนอื จรดใต้ กะเหรี่ยงโปว์(โพล่ง) กะเหร่ียงแดง(คะยา,กะแย)
ประมาณ ๒๕๐ กิโลเมตร กว้างประมาณ ๙๕ กิโลเมตร กะเหรย่ี งดำ� (ปะโอ,ตองส)ู กะเหรยี งคอยาว(กระยนั ,ปาดอง)
โดยเป็นเนื้อท่ีป่า ประมาณ ๑๑,๐๔๘.๐๐ ตร.กม หรือ และกะเหรี่ยงหูยาว(กะยอ) ส่วนกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ
ประมาณ ๖,๙๐๕,๐๐๒.๔๖ ไร่ คิดเป็นพื้นท่ีป่าร้อยละ มีจ�ำนวนประชากรรองลงมา เชน่ ไทยใหญ่ มง้ ลว๊ั ะ จนี ฮ่อ
๘๖.๕๕ และเนื้อท่ีไม่ใช่ป่าจ�ำนวน ๑,๐๗๓,๐๓๗.๐๖ ไร่ หรือจีนยูนาน มูเซอหรือลาหู่(มูเซอด�ำ,มูเซอแดง) ลีซู
หรือคิดเป็นพื้นท่ีร้อยละ ๑๓.๔๕ (กรมป่าไม้, ๒๕๕๙) หรือลีซอ คนเมือง และคนไทยอพยพจากภาคอื่นๆ
ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีสภาพภูมิอากาศ (อรุณี เวียงแสง, ๒๕๕๗) ด้านศิลปะ ประเพณี และ
แบบรอ้ นชน้ื แบง่ เปน็ ๓ ฤดู อยา่ งชดั เจน คอื มอี ากาศหนาวจดั วัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์
ในฤดหู นาว มฝี นตกชกุ ในฤดฝู น ซงึ่ มปี รมิ าณนำ้� ฝนมากทสี่ ดุ เฉพาะที่แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
ในเดือนสิงหาคม และมีอุณหภูมิสูงสุดในฤดูร้อนช่วง กลุ่มต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ในแต่ละปีจะมีการจัดงาน
เดือนพฤษภาคม แต่จากสภาพภูมิประเทศท่ีเป็นหุบเขาสูง ประเพณีต่างๆ ได้แก่ ประเพณีปอยส่างลองหรือประเพณี
ต้ังอยู่บนท่ีสูงเหนือระดับน�้ำทะเล ท�ำให้มีอุณหภูมิสูง บรรพชาสามเณรตามประเพณชี าวไทยใหญ่ประเพณอี อกพรรษา
ในเวลากลางวันและตอนเย็นลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจาก หรืองานปอยเหลินสิบเอ็ดจะมีการตักบาตรเทโวโรหณะ
ได้รับอิทธิพลจากลมภูเขาในเวลากลางคืน จึงท�ำให้เกิด ที่วัดพระธาตุดอยกองมูและเดินลงมาสู่วัดม่วยต่อ
หมอกปกคลมุ โดยทวั่ ไปทกุ พนื้ ทขี่ องจงั หวดั ในเวลากลางคนื

2 ข้อมลู กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุกะแย(กะเหรีย่ งแดง) จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

งานประเพณลี อยกระทง โดยประชาชนจะท�ำกระทงเลก็ ๆ ด้านอาชีพของประชากร สรุปภาพรวมจังหวัด
ไปลอยตามแมน่ ำ้� มกี ารประกวดกระทงใหญท่ หี่ นองจองคำ� จ�ำนวน ๑๘๑,๓๘๕ ราย ประกอบอาชีพภาคการเกษตร
มมี หรสพรน่ื เรงิ ตามบา้ นเรอื นจะจดุ โคมไฟสวา่ ง นอกจากน้ี ได้แก่ ทำ� ไร่ ท�ำสวน ประมง ปศสุ ัตวจ์ ำ� นวน ๔๓,๕๖๕ ราย
ยังมีการลอยกระทงสวรรค์ ประเพณีต่างซอมต่อโหลง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๔.๐๒ ในสว่ นการทำ� นามจี ำ� นวน ๒๘,๐๖๑
งานนี้ทางวัดจะบอกบญุ ใหช้ าวบ้านนำ� ข้าวใส่นมเนย น�ำ้ ผง้ึ ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๕.๔๗ สว่ นอาชพี นอกภาคการเกษตร
มาชว่ ยถา้ ทำ� เปน็ กอ้ นๆ ประมาณ ๔๙ กอ้ น ถวายพระประธาน ไดแ้ ก่ รบั จ้าง ค้าขาย ธรุ กิจสว่ นตวั อืน่ ๆ จ�ำนวน ๔๓,๔๙๙
ตง้ั แต่ยำ่� รุ่ง มักทำ� กนั ในเดือนกุมภาพันธ์- มนี าคม เป็นตน้ ราย คิดเปน็ ร้อยละ ๒๓.๙๘ และอาชพี อ่ืน ๆ เช่น ราชการ
ลกั ษณะทางเศรษฐกจิ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั จนท.รัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจพนักงานบริษัท จ�ำนวน
แมฮ่ อ่ งสอน (GPP) จ�ำนวน ๑๑,๔๔๘ ล้านบาท ผลติ ภณั ฑ์ ๙,๒๕๓ ราย คิดเปน็ ร้อยละ ๕.๑ ผ้ไู ม่มีอาชพี ๑๓,๗๙๑
จงั หวัดตอ่ หัว (GPP per capita) จ�ำนวน ๕๖,๘๖๒ บาท ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ ๗.๖ กำ� ลงั ศกึ ษา จำ� นวน ๔๓,๒๑๖
เป็นล�ำดับที่ ๖๘ ของประเทศ (ส�ำนักงานคณะกรรมการ ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๓.๘๓ (กรมการพฒั นาชมุ ชน, ๒๕๕๙)
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต,ิ ๒๕๕๘) ดา้ นรายไดเ้ ฉลยี่ ของ ลักษณะทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
ประชากร จากจำ� นวน ๖๐,๓๗๔ ครัวเรอื น ๑๖๔,๐๑๗ คน สิง่ แวดลอ้ ม แมฮ่ ่องสอน หรือ เมืองสามหมอก เป็นจังหวดั
ในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน มรี ายไดร้ วมทง้ั หมดของคนในจงั หวดั ที่มีมนต์เสน่ห์ท่ีสามารถดึงดูดนักเดินทางให้เข้ามาสัมผัส
จ�ำนวน ๙,๑๐๕,๐๐๑,๗๘๙ บาทต่อปี หรือ รายได้เฉล่ีย และธรรมชาติได้เป็นอย่างดีแม้ว่าเส้นทางท่ีจะเข้าสู่จังหวัด
ท้ังหมดของคนในครัวเรือนเฉลี่ย ๑๖๖,๓๙๘.๑๐ บาท จะยาวไกลคดเค้ียวด้วยโค้งถึง ๑,๘๖๔ โค้ง แต่ความเป็น
คดิ เปน็ รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ คน จำ� นวน ๖๑,๐๘๑.๑๖ บาทตอ่ ปี ธรรมชาติขุนเขาอันกว้างใหญ่อุดมสมบูรณ์ ป่าไม้เขียวขจี
(กรมการพัฒนาชุมชน, ๒๕๖๐) โดยมาจากอาชีพหลัก สสี นั สดสวยของดอกบวั ตองและความโอบออ้ มอารี ความมี
จ�ำนวน ๖,๔๔๘,๙๙๐,๔๑๑ บาท หรือรายได้เฉล่ีย น�้ำใจของชาวจังหวัดแม่ฮ่องสอน ทั้งชาวไทยใหญ่และ
๑๒๑,๑๒๘ บาทตอ่ ครวั เรอื นตอ่ ปี รายไดจ้ ากอาชพี รอง/เสรมิ ชาวไทยภูเขา มีจุดเด่นด้านการท่องเท่ียวอยู่ ๒ ประเภท
จ�ำนวน ๑,๑๑๒๕๘๓,๘๙๗ บาท หรือรายได้เฉลี่ย คือ ด้านธรรมชาติและด้านศิลปวัฒนธรรม สภาพพ้ืนที่ป่า
๑๗,๕๖๘ บาทต่อครัวเรือนต่อปี รวมรายได้อ่ืนๆ จ�ำนวน และการใช้ประโยชน์ท่ีดินในจังหวัดแม่ฮ่องสอนจังหวัด
๖๖๑,๙๘๓,๓๑๘ บาท หรือรายได้เฉลย่ี จากอ่ืนๆ ๑๐,๘๓๔ แมฮ่ อ่ งสอน มพี น้ื ท่ที ้ังหมดประมาณ ๗,๙๗๘,๐๓๙.๕๒ ไร่
บาทตอ่ ครัวเรือนตอ่ ปี ท้ังน้ียงั มรี ายได้จากการท�ำกนิ /หาไว้ หรอื ประมาณ ๑๒,๖๘๑.๒๖ ตารางกโิ ลเมตร โดยเปน็ เนอ้ื ท่ี
ใชเ้ อง จำ� นวน ๘๘๐,๕๕๓,๑๓๔ บาทตอ่ ครวั เรอื นตอ่ ปี หรอื ปา่ จำ� นวน ๖,๙๐๕,๐๐๒.๔๖ ไร่ หรอื ประมาณ ๑๑,๐๔๘.๐๐
รายได้เฉล่ีย ๑๕,๒๙๖ บาท ต่อครัวเรือนต่อปี (กรมการ ตร.กม คดิ เป็นพน้ื ทีป่ ่ารอ้ ยละ ๘๖.๕๕ และเนือ้ ทไ่ี ม่ใช่ปา่
พฒั นาชมุ ชน, ๒๕๕๙) จ�ำนวน ๑,๐๗๓,๐๓๗.๐๖ ไร่ หรือประมาณ ๑,๕๗๐.๒๖
รายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือนภาพรวมระดับจังหวัด ตารางกิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ร้อยละ ๑๓.๔๕ (กรมป่าไม้,
แมฮ่ อ่ งสอน จำ� นวน ๖๐,๒๘๕ ครัวเรือน ๑๗๗,๘๒๘ คน มี ๒๕๕๙) เป็นพ้นื ทีท่ �ำการเกษตรกรรม จ�ำนวน ๓๐๖,๕๗๑
รายจ่ายครัวเรือนรวมเฉล่ีย ๙๒,๙๓๙ บาทต่อปี รายจ่าย ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓.๘๓ ของพนื้ ทจี่ งั หวดั (สำ� นกั งานเกษตร
บุคคลรวมเฉลี่ย ๓๑,๕๐๗ บาทต่อปี โดยแหล่งรายจ่าย จังหวัดแม่ฮ่องสอน, ๒๕๖๐) เนื่องจากสภาพพื้นที่จังหวัด
ของครัวเรือน มากท่ีสุดคือ อุปโภคบริโภคที่จ�ำเป็น แมฮ่ อ่ งสอนสว่ นใหญเ่ ปน็ หบุ เขา พน้ื ทรี่ าบเพอ่ื การเพาะปลกู
จำ� นวน ๕๓,๖๒๙ บาทต่อปี รองลงมาคือ ตน้ ทนุ การผลติ มนี อ้ ย พน้ื ทก่ี ารเพาะปลกู จงึ เปน็ พน้ื ทรี่ าบระหวา่ งหบุ เขา มี
จ�ำนวน ๑๙,๑๐๙ บาทต่อปี ช�ำระหน้ี ๑๑,๐๐๐ บาทต่อปี จำ� นวนครวั เรอื นทงั้ สน้ิ ๑๐๓,๖๕๗ ครวั เรอื น เปน็ ครวั เรอื น
และอุปโภคบริโภคที่ไม่จ�ำเป็น จ�ำนวน ๙,๒๐๔ บาทต่อปี เกษตรกร ๕๑,๒๐๔ ครวั เรือน คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๙.๗๐
ตามล�ำดบั (กรมการพัฒนาชมุ ชน, ๒๕๕๙)

ขอ้ มลู กลุ่มชาตพิ ันธ์ุกะแย(กะเหร่ียงแดง) จังหวัดแม่ฮ่องสอน 3

ขอ้ มลู กลุ่มชาตพิ นั ธุก์ ะแย จังหวดั แมฮ่ ่องสอน ขอ้ มลู ท่ัวไป

กะเหรี่ยงแดง “กะแย” เดิมมีภูมิล�ำเนาอยู่ที่
หัวเมือง และเมืองก่อ ประเทศพม่า ได้อพยพเข้าไปอยู่ใน
เขตอ�ำเภอเมืองจังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อ ๒๐๐ กว่าปีมา
เพราะประเทศพม่า มีการสู้รบระหว่างทหารพม่ากับ
ชนกลุ่มน้อย ท�ำให้พ้ืนที่ชุมชนท่ีชาวกะแยอาศัยอยู่เดิม
ไมม่ คี วามปลอดภยั จงึ อพยพเขา้ มาตงั้ ถน่ิ ฐานทเี่ ขตชายแดน
จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

การตงั้ ถ่ินฐาน

ชาวกะเหรี่ยงแดง(กะแย) ต้ังบ้านเรือนรวมกัน
อยู่เป็นหมู่บ้านเล็กๆ ในท่ามกลางธรรมชาติอันเงียบสงบ
ติดกับป่าไม้ ริมซอกเขาท่ีมีห้วยล�ำธาร น�้ำตก หรือแม่น้�ำ
ไหลผ่าน สามารถน�ำเอาน�้ำเข้าไปใช้ในสวนหรือหมู่บ้าน
ของเขาได้โดยสะดวก ปลูกบ้านอย่างเดียวกันกับชาวบ้าน
ตามชนบท มีชานนอกชายคาเรือน มีท่ีวางหม้อน�้ำ
มรี ะเบยี งรบั แขกขา้ งนอก หอ้ งนอนมเี ตาไฟอยกู่ ลางหอ้ งโถง
หลังคามงุ ด้วยหญา้ คา บริเวณบ้านมยี ุ้งขา้ ว เล้าไก่ คอกหมู
ต้นกล้วย หรือพชื ทใี่ ช้ในการทำ� ครัว เชน่ ข่า ตะไคร้ ฯลฯ
เวลามีการปลูกสร้างบ้านใหม่บรรดาผู้ชาย
ทุกหลังคาเรือนจะพากันไปช่วยตัดไม้แบกหามกันมา
ปลูกสร้างบ้านเรือนคนละไม้คนละมือ บ้านบางหลัง
ปลกู สรา้ งเสรจ็ ภายในวนั เดยี วไมต่ อ้ งเสยี เงนิ คา่ จา้ งแรงงาน
หรอื เลยี้ งอาหารชาวบา้ น เพราะบรรดาผชู้ ว่ ยงานจะกลบั ไป
รับประทานอาหารที่บ้านของตนเอง แต่เจ้าของบ้าน
ตอ้ งเตรียมสุรา และเครอื่ งแกล้มเอาไว้บา้ งเลก็ น้อยสำ� หรับ
เวลาเสรจ็ งานตอนเยน็ ก่อนท่ผี ้มู าชว่ ยงานจะกลบั บา้ น

4 ข้อมูลกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุกะแย(กะเหร่ยี งแดง) จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

การปกครอง ความเช่ือ

กะเหรี่ยงแดงจัดระบบการปกครองเป็นแต่ละ กะเหรีย่ งแดง(กะแย) นบั ถอื ผี และถอื วา่ ทุกสิง่
หมู่บ้านหลักส�ำคัญ คือเป็นหน่วยอิสระ ในการประกอบ ทกุ อยา่ งมผี ีปีศาจเฝ้าดแู ลรักษา ในป่ามผี ปี ่า บ้านมีผีเรอื น
พธิ กี รรมของตนเอง หรอื หมบู่ า้ นหนง่ึ นนั้ จะมหี วั หนา้ ฝา่ ยชาย ผีหมู่บ้านผีเมือง ซึ่งมีพิธีเลี้ยงผีทุกหลังคาเรือนจะต้อง
ซ่ึงเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมของหมู่บ้าน เป็นเสมือนหัวหน้า มีการเล้ียงผี โดยมีอาจารย์ทางไสยศาสตร์หรือหมอผี
หมู่บ้าน แต่ปัจจุบันบางหมู่บ้านได้รับการแต่งตั้งเป็น ประจำ� หมบู่ า้ นนน้ั เปน็ ผปู้ ระกอบพธิ เี ปา่ เสกเวทมนตรค์ าถา
ผู้ใหญ่บ้าน นอกจากน้ันหมู่บ้านหนึ่งๆ ยังได้ก�ำหนด สะเดาะเคราะห์ขับไล่ความช่ัวร้ายท้ังหลายให้ออกไปจาก
อาณาเขตของหมู่บ้าน คนในหมู่บ้านหนึ่งจะไปท�ำไร่ในเขต รา่ งกายและจติ ใจ การเลย้ี งผนี นั้ ชาวบา้ นทกุ คนตอ้ งหยดุ งาน
ของอีกหมู่บ้านหนึ่งไม่ได้ นอกจากการท�ำนาเท่าน้ันท่ี ไม่ไปไร่สวน ต่างช่วยกันท�ำซุ้มประตูผี ซึ่งอยู่ระหว่าง
สามารถท�ำท่ีหมู่บ้านอื่นได้ เพราะที่นานั้นซื้อขายกันได้ หวั หมบู่ า้ นกบั ทา้ ยหมบู่ า้ น ปดิ เครอื่ งหมายเพอื่ หา้ มคนตา่ งถนิ่
แตก่ ารทำ� ไร่ถอื เป็นการถือกรรมสทิ ธิ์ของหม่บู ้าน หรือต่างหมู่บ้านเข้าออกภายในบริเวณหมู่บ้านของเขา
ตลอดเวลาทมี่ งี าน ถา้ หากมคี นตา่ งถนิ่ เขา้ ไปกจ็ ะถกู หา้ มออก
ระบบเศรษฐกจิ จากหมู่บ้านก่อนจะเสร็จพิธีเล้ียงผีหรืองานเซ่นผีหมู่บ้าน
เมื่อเสร็จพิธีแล้วจะถูกปรับไหมทันที ท่ีประทับผีหมู่บ้าน
เศรษฐกจิ ของกะเหรยี่ งแดงอยใู่ นสภาพทเี่ รยี กวา่ ท�ำเป็นศาลหลงั สงู ประมาณ ๒ เมตร
“เพอื่ ยงั ชพี ” ซงึ่ หมายถงึ การเพาะปลกู เพอ่ื บรโิ ภคเปน็ หลกั
ได้แก่ การปลูกข้าวไร่หมุนเวียน และการท�ำนาขั้นบันได ประเพณีวัฒนธรรม
ตามหุบเขา โดยไม่มีการปลูกพืชท้องถิ่น มากกว่า ๘๐
สายพนั ธุ์ การปลูกเนน้ การกินในครวั เรือน และการแบ่งปนั จารีตประเพณวี ัฒนธรรมของกะเหรยี่ งแดง คอื
ในชมุ ชน มกี ารปลกู พชื ผกั ตา่ งๆ หลายชนดิ ในไรข่ า้ ว รายได้ ความเช่ือและศาสนาของกะเหร่ียงแดง ได้มีอิทธิพลมาก
ส่วนใหญ่มาจากการรับจ้าง และการขายสัตว์เลี้ยง และ ต่อการกระท�ำที่พวกเขาปฏิบัติกันในวิถีชีวิตประจ�ำวัน
งานฝมี ือต่าง ๆ ดงั นน้ั กะเหรย่ี งแดงจงึ ใหค้ วามสำ� คญั ในสงิ่ ลล้ี บั เหนอื ธรรมชาติ
กะเหรยี่ งแดงยงั ไดช้ อื่ ว่า เปน็ อกี หนงึ่ กล่มุ ทรี่ ้จู กั มากนั่นคือ การนับถือผีและสิ่งล้ีลับเหนือธรรมชาติ ผีท่ี
การใชพ้ น้ื ทที่ ำ� กนิ แบบอนรุ กั ษ์ โดยวธิ ที เี่ รยี กวา่ “ไรห่ มนุ เวยี น” กะเหรี่ยงนับถือและมีความส�ำคัญมาก ได้แก่ ผีเจ้าท่ี
คือ ท�ำไปแล้วก็พักทิ้งไว้ ๓ - ๗ ปีก็จะกลับไปท�ำใหม่ ผีบรรพบุรุษ และผีต่างๆ ท่ีสิงสถิตอยู่ตามป่าเขา ล�ำน�้ำ
หมุนเวียนกันอย่างน้ีตลอดไป เพื่อหลีกเล่ียงความสูญเสีย ในไร่ และในหมู่บ้าน ฯลฯ ผีที่ถอื กันวา่ เปน็ ผรี า้ ยนั้น เชื่อวา่
หน้าดิน อันจะท�ำให้ดินเส่ือมคุณภาพ ดังน้ันจึงนับว่า เป็นผีที่จะท�ำให้ประสบความเจ็บป่วย ภัยท้ังปวง จึงมีแต่
กะเหร่ียงแดงเป็นชาติพันธุ์ที่อยู่อย่างถาวรไม่เคล่ือนย้าย การเอาอกเอาใจ ด้วยการเซ่นสังเวยด้วยอาหารต่างๆ
นอกจากนนั้ แลว้ นยิ มเลย้ี งสตั วต์ า่ งๆ ดว้ ย เชน่ ววั ควาย หมู ซึ่งได้แก่ หมู ไก่ ฯลฯ ปัจจุบนั คนกะเหรย่ี งไดห้ นั ไปนบั ถือ
ไก่ โดยเฉพาะไก่และหมู เลี้ยงไว้เพื่อใช้ในพิธีกรรมต่างๆ พทุ ธศาสนา และคริสต์ศาสนากันมากแล้ว
ความส�ำคัญทางเศรษฐกิจของการเลี้ยงสัตว์ในหมู่บ้าน ประเพณีวัฒนธรรมที่เด่น ส�ำคัญคือ ประเพณี
นอกจากนัน้ เปน็ นกั ลา่ สตั วป์ ่าเพื่อการบริโภค และชำ� นาญ งานปอยตน้ ธี ปอยขา้ วตม้ งานแตง่ งาน รอบทสี่ อง นอกจาก
ในการหาของปา่ มาขายเปน็ รายไดอ้ กี ด้วย มีความเชื่อในเร่ืองผีต่างๆ ซึ่งมีอิทธิพลต่อชีวิตประจ�ำวัน
แก่พวกเขาแล้วกะเหร่ียงแดง ยังเช่ือในเรื่องขวัญ ซึ่งมี
ประจ�ำตัวจองแต่ละคน เชื่อว่าขวัญในร่างกายคนเรามีอยู่
ท้ังหมด ๓๒ ขวัญ แต่เขา ไม่สามารถนับได้หมดว่าอยู่ใน
ส่วนไหนของร่างกาย เพียงแต่บอกได้ว่าอยู่ในส่วนส�ำคัญๆ
ของร่างกายส่วนใดบ้าง เช่น ขวัญที่ศีรษะ ขวัญสองขวัญ

ขอ้ มลู กลมุ่ ชาติพันธุ์กะแย(กะเหรยี่ งแดง) จงั หวัดแม่ฮ่องสอน 5

ทีใ่ บหทู ัง้ สองข้าง ขวญั ตา่ งๆ นั้นจะละทิง้ ไปกต็ ่อเมื่อคนนนั้ การประกอบอาชพี
ไดต้ ายไป นอกจากนน้ั เชอื่ กนั วา่ ขวญั ชอบทจี่ ะหนไี ปทอ่ งเทยี่ ว
ตามความต้องการของมันเอง และก็อาจจะถูกผีร้ายต่างๆ กะเหร่ียงแดง(กะแย) มีอาชีพท�ำนา ท�ำไร่
ท�ำร้าย หรือกักตัวไว้แล้วจะท�ำให้ผู้นั้นล้มป่วย การรักษา ท�ำสวน ปลูกพืชประเภทล้มลุกชั่วระยะเวลาไม่ถึงขวบปี
พยาบาลหรือวิธีที่จะช่วยเหลือคนเจ็บป่วยได้ก็คือ การล่อ เชน่ ขา้ ว พรกิ ฝ้าย มะเขอื มันเทศ ยาสูบ ขา้ วโพด ฟกั
และเรยี กขวญั ใหก้ ลบั มาสคู่ นปว่ ยนนั้ พรอ้ มกบั ทำ� พธิ ผี กู ขอ้ มอื แตง ฯลฯ และเลย้ี งสตั วจ์ ำ� พวกหมู ไก่ สำ� หรบั ไวร้ บั ประทาน
รบั ขวัญดว้ ย ในสังคมของกะเหรยี่ งนนั้ ถอื เป็นปกตธิ รรมดา และเพอ่ื ฆา่ ประกอบพธิ ที างศาสนา นอกจากนย้ี งั หาของปา่
เมื่อแต่ละวันในหมู่บ้านจะพิธีเลี้ยงผีและการเรียกขวัญของ ล่าสัตว์ ผหู้ ญงิ ทอผา้ ตำ� ขา้ ว ชว่ ยผู้ชายท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำสวน
คนเจบ็ ปว่ ยแทนการรกั ษาดว้ ยยาสมยั ใหมบ่ างครง้ั ถงึ แมจ้ ะ หาอาหารให้หมู ท�ำอาหาร ชาวกะแยเป็นชนชาติที่
มเี จา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ เขา้ ไปชว่ ยรกั ษาใหต้ ามแบบทนั สมยั ขยันขันแขง็ ในการท�ำงาน เวลาว่างจากท�ำนา ทำ� ไร่ ท�ำสวน
แตเ่ ผอญิ ทบี่ า้ นคนปว่ ยไดร้ กั ษาทางเลยี้ งผแี ลว้ เขาจะปฏเิ สธ กป็ น่ั ฝา้ ย ทอผา้ ตอนกลางคนื ทง้ั หญงิ ชายชว่ ยกนั รองใบคา
ที่จะรกั ษาทนั ที ต้องรออย่างนอ้ ย ๓ วนั เตรียมเอาไวส้ ำ� หรบั มงุ หลังคาบา้ น

ลกั ษณะครอบครัว อาหาร

สังคมกะเหรี่ยงแดงเป็นครอบครัวเด่ียว ซ่ึง อาหารการกนิ ของ กะเหรย่ี งแดงคอ่ นขา้ งประหยดั
หมายถงึ วา่ ในบา้ นหลงั หนงึ่ จะประกอบดว้ ย พอ่ แม่ และลกู กินอยู่อย่างง่ายๆ เก็บเอาผักตามสวนและตามป่า เช่น
เท่านั้น เมื่อลูกสาวแต่งงานชายจะต้องมาอยู่บ้านภรรยา หนอ่ ไม้ ผกั กดู หวายออ่ น เหด็ ตา๋ ว ฯลฯ หาปลาตามลำ� หว้ ย
ก่อนเป็นเวลา ๑ ฤดูกาลเกษตร (คือเริ่มจากการถางไร่ หรือหนองน้�ำที่มีอยู่ใกล้เคียง ว่างๆ ก็เข้าป่าล่าสัตว์ในป่า
ปลกู ขา้ วและเกบ็ เกย่ี วขา้ วประมาณ ๗ - ๘ เดอื น) หลงั จากนนั้ บริเวณใกล้หมู่บ้านของเขา ซึ่งเป็นหุบเขาท่ีมีสัตว์ป่าชุกชุม
กจ็ ะปลกู บา้ นใหมห่ ลงั เลก็ ๆ ใกลก้ บั พอ่ แมฝ่ า่ ยภรรยา คำ� วา่ ใช้หน้าไม้ยิงนก ดักแร้วไก่ป่าและนกมาเป็นอาหาร
ครัวเรือนในสังคมกะเหร่ียง นอกจากมีความหมายถึง แทบทุกบ้านจะเล้ียงหมูและไก่ไว้ ชาวกระเหร่ียงแดง
พนื้ ฐานขนั้ แรกในดา้ นการผลติ และบรโิ ภคแลว้ ยงั หมายถงึ วา่ รับประทานได้ทั้งข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ส�ำหรับข้าวเจ้า
แต่ละครัวเรือนมีไร่ของตนเองท�ำพิธีกรรมทางการเกษตร ของเขานั้น เมล็ดกลมๆ อย่างข้าวพันธุ์เบาท่ัวไป พืชไร่
และการรักษาพยาบาลเป็นหน้าที่ของหัวหน้าครัวเรือน ทเี่ หลอื จากการรบั ประทาน และของปา่ ทเี่ กบ็ ไดก้ เ็ อามาขาย
ยกเว้นพิธีการเลี้ยงผี ตามประเพณีของผีฝ่ายมารดา ที่ตลาดในต�ำบลของตน ซ่ึงเป็นระยะเดินทางด้วยเท้า
การแตง่ งานเปน็ แบบผวั เดยี วเมยี เดยี ว ซง่ึ เปน็ กฎทเ่ี ครง่ ครดั ประมาณ ๖ กิโลเมตร
มาก การหยา่ รา้ งมนี อ้ ย การแตง่ งานใหมไ่ มค่ อ่ ยปรากฏไมน่ ยิ ม
ได้เสียก่อนแต่งงานกันถือเป็นกฎข้อห้ามจะถูกรังเกียจและ
ตอ้ งมีการปรับไหม ซง่ึ ถือกนั ว่าผีเจ้าทจ่ี ะข่นุ เคือง

การแต่งกาย

กะเหรย่ี งแดง(กะแย) แตง่ กายผดิ กบั กลชุ่ าตพิ นั ธ์ุ
พวกอ่ืนๆ ตรงที่ใช้ผ้าสีแดงหรือ ขอบริมเสื้อสีแดง นิยม
โพกศรีษะด้วยผ้าสีแดงสลับขาวสวมเส้ือแดงหรือขาว
ขอบริมแดงมากกว่าสีอ่ืนๆ ผู้ชายสวมกางเกงขากว้างสีด�ำ
หรือกางเกงสะดอสดี �ำ ผ้หู ญิงสวมเสอ้ื ชุดแดงกระโปรงสีดำ�
จีบหรือรัดเอว คือปล่อยให้ยาวลงไปอย่างถุง แขนเส้ือส้ัน
เสอื้ ผา้ ออกครง่ึ หลงั คร่ึงตวั สแี ดงยาวลงมาใต้เอวเล็กนอ้ ย

6 ขอ้ มูลกล่มุ ชาติพนั ธ์ุกะแย(กะเหร่ยี งแดง) จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

ชาวกะเหรย่ี งแดง (กะแย) ในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน บ้านดอยแสง บา้ นห้วยผง้ึ น้อย บ้านไม้สะเป่ บ้านห้วยโปง่
ไดอ้ ยกู่ ระจายในอำ� เภอเมอื งแมฮ่ อ่ งสอน ทงั้ หมด ๘ หมบู่ า้ น ออ่ น บา้ นหว้ ยมะเขือสม้ และบา้ นทบศอก ชาติพนั ธก์ุ ะแย
กับอีก ๓ หย่อมบ้าน ในเขตอ�ำเภอเมืองแม่ฮ่องสอนมี มีต้นทุนที่เด่นทางประเพณีวัฒนธรรม เช่น งานปอยต้นที
๖ ตำ� บล มพี ชี่ าวกะแย อยู่ ๕ ตำ� บล ไดแ้ ก่ ตำ� บลหมอกจำ� แป่ ปอยข้าวต้ม การเล้ียงผีชนเผา่ การแต่งงานคร้ังที่ ๒ และ
๓ ชุมชน, ต�ำบลหว้ ยผา ๑ ชมุ ชน, ต�ำบลปางหมู ๓ ชุมชน, การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เช่น
ต�ำบลผาบ่อง ๓ ชุมชน และต�ำบลห้วยโป่ง ๑ ชุมชน การแบ่งเขตพื้นที่ท�ำกิน พ้ืนที่อนุรักษ์ พ้ืนที่ป่าใช้สอย
รวม ๑๑ ชุมชน ได้แก่ บ้านห้วยเสือเฒ่า บ้านแม่ส่วยอู การอนุรกั ษแ์ หลง่ พันธสุ์ ตั ว์นำ�้ เป็นต้น
บ้านห้วยช่างเหล็ก บ้านห้วยห้วยช่างค�ำ บ้านห้วยผึ้ง

ตาราง : จ�ำนวนหมู่บา้ น ครัวเรอื น และประชากร เครือขา่ ยกะแยจังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน ณ ปี ๒๕๖๒๑ 1

ท่ี ชอื่ หมูบ่ ้าน สถานะ ต�ำบล ครวั เรือน ประชากร ชาย หญงิ
(จ�ำนวน) (จ�ำนวน)
๑. หว้ ยผง้ึ บ้านหลัก หว้ ยผา ๒๐๔
๒. ทบศอก บา้ นหลกั หมอกจ�ำเป่ ๑,๐๘๐ ๕๗๐ ๕๑๐
๓. หว้ ยโป่งออ่ น บา้ นหลกั หมอกจ�ำเป่ ๖๕
๔. หว้ ยมะเขือสม้ หย่อมบา้ น หมอกจ�ำเป่ ๑๐๘ ๒๔๓ ๑๑๗ ๑๒๖
๕. ไมส้ ะเป่ บา้ นหลกั ปางหมู ๔๒
๖. ห้วยผึง้ น้อย หย่อมบ้าน ปางหมู ๑๑๕ ๔๑๒ ๒๑๐ ๒๐๒
๗. ดอยแสง บา้ นหลกั ปางหมู ๘ (รวมบ.ไม้สะเป่)
๘. หว้ ยเสือเฒ่า บ้านหลัก ผาบ่อง ๘๐ ๑๒๓ ๗๓ ๕๐
๙. แมส่ ว่ ยอู หย่อมบา้ น ผาบอ่ ง ๓๓๓
๑๐. ห้วยชา่ งเหล็ก หย่อมบ้าน ผาบอ่ ง ๒๕ (รวมบ.หว้ ยเสอื เฒา่ ) ๖๒๖ ๓๑๔ ๓๑๒
๑๑. ห้วยช่างคำ� บ้านหลกั หว้ ยโปง่ ๓๗
๘๒ ๔๑๓ ๒๐๘ ๑๐๕
๑,๐๔๑ ๕๔๑ ๕๐๐

๑๐๘ ๖๔ ๓๖
๓๔๘ ๑๘๗ ๑๖๑

ชมุ ชนชาวกะแย ทง้ั ๑๑ ชมุ ชน มปี ระวตั กิ ารกอ่ ตงั้ หมบู่ า้ นมานานกวา่ ๑๐๐ ปี โดยบรรพบรุ ษุ ทอี่ พยพเขา้ มาจาก
เขตแนวพนื้ ทชี่ ายแดนพมา่ เขา้ มาอยตู่ ง้ั ถน่ิ ฐานบา้ นเรอื นในเขตชายแดนฝง่ั ไทย ดว้ ยสาเหตจุ ากการหนสี งคราม ทท่ี หารพมา่
มีการต่อสู้กับชนกลุ่มน้อยพม่า ท�ำให้บรรพบุรุษชาวกะแยต้องหลบหนี อพยพเข้ามาในฝั่งไทยตามแนวชายแดนต่างๆ
เพื่อความปลอดภยั และการถูกจบั ฆา่ โดยทตี่ ัง้ ของหมู่บา้ นชาวกะแย ทกุ ชุมชนอย่ใู กล้ชายแดนและเปน็ ชมุ ชนผา่ นเส้นทาง
ชายแดนไทย-พม่า ท่ีต้ังชุมชนมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ ต้ังอยู่ในป่าต้นน�้ำ มีแหล่งน�้ำล�ำห้วยไหลผ่านชุมชน
และการต้ังช่อื หมู่บา้ นมาจากชื่อล�ำห้วยของชุมชน ที่ชาวบ้านเรยี กกันอยใู่ นปจั จบุ ัน

๑ ขอ้ มูลจากการเข้าพ้ืนท่ีเก็บข้อมลู บรบิ ทชุมชนทั้ง ๑๑ ชุมชน

ขอ้ มูลกลุ่มชาติพนั ธุ์กะแย(กะเหร่ยี งแดง) จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน 7

ในการศึกษาข้อมูลบริบทชุมชนกะแย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�ำนวนท้ังหมด ๑๑ ชุมชน ใน ๕ ต�ำบล
ของอ�ำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน (๘ หมูบ่ า้ น ๓ หย่อมบา้ น) ในการศกึ ษามขี อ้ มลู ที่ได้จากกิจกรรมเวทีชุมชน แบบมสี ว่ นรว่ ม
และจากข้อมูลมือสองของหน่วยงานรัฐ ข้อมูลที่ได้ยังไม่สมบูรณ์ ซ่ึงจะต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติมในการท�ำงานพัฒนาชุมชน
เครือข่ายกะแยต่อไปข้างหน้า ในการนี้ผู้ศึกษาจะขอยกน�ำเสนอข้อมูลบริบทชุมชนท้ัง ๑๑ ชุมชน ตามข้อมูลที่นักวิจัย
ชาวกะแยได้รว่ มกบั ชาวบ้านกะแยแตล่ ะชมุ ชน โดยมีเนือ้ หาขอ้ มลู โดยสรปุ ดังต่อไปนี้

บริบทชมุ ชนบา้ นห้วยเสือเฒา่ ๒

ประวตั ศิ าสตร์ชุมชน “ห้วยเสือเฒ่า” และได้มีการต้ังเป็นชื่อเรียกหมู่บ้านว่า
บา้ นห้วยเสือเฒา่ มาจนถงึ ปจั จุบัน
หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า เป็นหมู่บ้านหมู่ท่ี ๘ ต�ำบล หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า มีพื้นท่ีครอบคลุมตั้งแต่
ผาบ่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน แต่เดิมมีถ่ินฐาน ทางเช่ือมต่อระหว่างบ้านท่าโป่งแดงและบ้านห้วยเสือเฒ่า
ตั้งอยู่ที่บ้านส่วยอู ต่อมาย้ายไปอยู่ท่ีบ้านหมากกาวยอน ไปจนถึงโครงการหมู่บ้านยามชายแดนอันเน่ืองมาจาก
และบ้านขุนห้วยเด่ือ สาเหตุที่ย้ายถิ่นฐานไปเร่ือยๆ พระราชด�ำริ (บ้านแม่ส่วยอู) โดยหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า
เนื่องจากชาวเขาจะมีการท�ำไร่เลื่อนลอย เม่ือประมาณ มีบ้านบริวารทั้งส้ิน ๒ บ้าน ได้แก่ บ้านห้วยต่อ ซึ่งต้ังอยู่
ปีพุทธศักราช ๒๕๑๔ สมาชิกภายในชุมชนขุนห้วยเด่ือ ระหว่างทางเข้าสู่หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า และบ้านแม่ส่วยอู
ได้อพยพมาตั้งอยู่ที่บ้านห้วยเสือเฒ่า โดยครั้งแรกมีเพียง ซงึ่ ตงั้ อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกของบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ โดยสว่ นใหญ่
๓ ครอบครัว ต่อมามีสมาชิกภายในชุมชนจากหมากกาว จะมกี ารเรยี กชอื่ บา้ นบรวิ ารทง้ั ๒ บา้ นนวี้ า่ หยอ่ มบา้ นหว้ ยตอ่
ยอนย้ายมาอาศัยเพ่ิมซึ่งประกอบด้วยชาวกะเหรี่ยงแดง และหย่อมบ้านแม่ส่วยอู
(กะแย) กะเหรย่ี งคอยาว(กะยนั ) และกะเหรย่ี งหใู หญ(่ กะยอ)
หลังจากน้นั ในปีพุทธศกั ราช ๒๕๒๐ มกี ารสู้รบกันตามแนว ประวตั ิศาสตรส์ ถานทส่ี �ำคญั ภายในชมุ ชน
ชายแดนไทย-พม่า ระหว่างกลุ่มกองก�ำลังกระเหร่ียงแดง
(คะยา) กบั ทหารพมา่ ทำ� ใหส้ มาชกิ ภายในชมุ ชนทอี่ าศยั อยู่ โรงเรียนบ้านห้วยเสือเฒ่า (เจ้ากอแก้วอุปถัมภ์)
บ้านขุนห้วยเดื่อเดิมมีการอพยพลงมายังบ้านห้วยเสือเฒ่า โรงเรียนบ้านห้วยเสือเฒ่า(เจ้ากอแก้วอุปถัมภ์) เดิมชื่อ
และได้มีการกระจายตัวกันออกไปหลายหมู่บ้าน อาทิ โรงเรียนบ้านขุนห้วยเด่ือ ตั้งอยู่ท่ีหมู่บ้านขุนห้วยเด่ือ
บ้านหว้ ยปูแกง บ้านสบปอ่ ง บ้านหว้ ยผึ้ง บา้ นทบศอก และ หมู่ ๘ ต�ำบลผาบ่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
บา้ นห้วยเสอื เฒา่ เปน็ ต้น โดยกองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ ๓๓ เขต ๕
ชอ่ื บา้ น ‘หว้ ยเสอื เฒา่ ’ นน้ั มที มี่ าจากเรอื่ งเลา่ ในอดตี ได้ทำ� การจัดต้งั โรงเรียนขึ้น และเปิดท�ำการสอนเมอ่ื วนั ท่ี ๘
วา่ แตเ่ ดมิ รอบหมู่บา้ นเปน็ ป่าหนาทบึ และเปน็ ทีอ่ าศัยของ พฤษภาคม ๒๕๐๘ และเม่ือวันท่ี ๑๑ ธันวาคม ๒๕๓๒
สตั วป์ า่ นานาชนดิ นายพรานหรอื นกั ลา่ สตั วท์ เ่ี ขา้ มาหาสตั ว์ ได้ท�ำการย้ายที่ตั้งโรงเรียนจากหมู่บ้านขุนห้วยเดื่อ มายัง
บริเวณรอบหมู่บ้านจึงมักจะพบกับรอยเท้าเสือบริเวณ บ้านห้วยเสือเฒ่า หมู่ ๘ ตำ� บลผาบอ่ ง อำ� เภอเมือง จังหวดั
ล�ำห้วยซึ่งเป็นรอยที่เดินเข้าไปในป่าเสมอ จึงท�ำให้มีการ แมฮ่ อ่ งสอน และไดเ้ ปลยี่ นเปน็ “โรงเรยี นบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ ”
เรียกพ้ืนที่บริเวณน้ันว่า “ห้วยเสือเข้า” ต่อมาเมื่อเวลา และในปี พ.ศ.๒๕๔๖ ได้ท�ำการเปลี่ยนช่ือโรงเรียนเป็น
ผ่านไปมีการออกเสียงที่ผิดเพ้ียนไปจากเดิมจึงกลายเป็น “โรงเรียนบ้านห้วยเสือเฒ่า(เจ้ากอแก้วอุปถัมภ์) มาจนถึง
ปจั จุบัน
๒ สมุดบนั ทึกแผนพฒั นาชุมชนบ้านหว้ ยเสือเฒา่ ปี ๒๕๖๐-๖๑

8 ขอ้ มูลกล่มุ ชาติพันธ์ุกะแย(กะเหรี่ยงแดง) จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน

โรงเรียนบ้านห้วยเสือเฒ่า(เจ้ากอแก้วอุปถัมภ์) กะเหรี่ยงคอยาว จดุ เด่นของจังหวดั แม่ฮ่องสอน และมีการ
ปัจจุบันเปิดท�ำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ๑ ถึง จดั สวสั ดกิ ารจากรฐั ใหก้ บั ชาวกะเหรย่ี งคอยาวทเี่ ขา้ มาอาศยั
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ อยเู่ ปน็ ครอบครวั แรก เชน่ การไดร้ บั บตั รประจำ� ตวั ประชาชน
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีจ�ำนวน ทขี่ นึ้ ตน้ ดว้ ยหมายเลข ๐ การไดร้ บั สญั ชาตไิ ทย และการขอ
นักเรียนท้ังสิ้น ๙๑ คน ข้าราชการครู ๗ คน มีนามสกุล เป็นต้น นอกจากนั้นทางรัฐบาลยังได้มีการ
พนักงานราชการ ๑ คน ครูพ่ีเลี้ยงเด็กพิการเรียนร่วม ส่งเสริมและสนับสนุนการค้า โดยยกเอา ‘ผ้าทอ’ ซึ่งเป็น
๑ คน ครอู ัตราจ้าง ๑ คน ครูธุรการ ๑ คน และพนักงาน สินค้าท่ีชาวกะเหรี่ยงคอยาวจัดท�ำข้ึนมาเป็นสินค้าหลัก
บรกิ าร ๑ คน ในการขาย และมีการน�ำสินค้าจากแหล่งอื่นเข้ามาเสริม
วัดหว้ ยเสอื เฒ่า วัดห้วยเสือเฒ่าสร้างขึ้นเม่ือ เช่น ต๊กุ ตาไม้แกะสลัก ผ้าทอพม่า เคร่อื งเงินต่างๆ เปน็ ตน้
ประมาณปีพุทธศักราช ๒๕๒๗ ซ่ึงเป็นช่วงเวลาประมาณ
๗ ปี หลงั จากการยา้ ยเขา้ มาอาศยั อยภู่ ายในบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ สภาพทางภูมศิ าสตร์
ของประชากรบ้านขุนห้วยเดื่อ โดยเร่ิมจากผู้น�ำชุมชนท่ีมี
วิสัยทัศน์ในการส่งเสริมให้ประชากรภายในหมู่บ้านมีการ หมบู่ า้ นหว้ ยเสอื เฒา่ ตง้ั อยบู่ รเิ วณเนนิ ทร่ี าบระหวา่ ง
นับถือศาสนาเพื่อเป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจ และเพื่อก่อ หุบเขา แนวชายแดนด้านทิศตะวันตกของ อ�ำเภอเมือง
ใหเ้ กดิ ความศรัทธา นับถอื ในพระพทุ ธศาสนา ดังนน้ั จึงได้ จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีพ้ืนท่ีโดยรอบปกคลุมไปด้วยป่าไม้
ท�ำการชักชวนให้ร่วมกันสร้างวัดห้วยเสือเฒ่าข้ึน เพ่ือเป็น ทอ่ี ุดมสมบูรณ์ มลี ำ� หว้ ยไหลผ่านภายในหม่บู ้าน
แหล่งยึดเหนี่ยวจิตใจของสมาชิกภายในชุมชน และเมื่อ
ทำ� การสรา้ งวดั หว้ ยเสอื เฒา่ ขนึ้ แลว้ นนั้ สมาชกิ ภายในชมุ ชน อาณาเขตและท่ตี งั้
ไดท้ ำ� การบรู ณะ ทำ� นบุ �ำรุงวัดเรือ่ ยมาจนถงึ ปัจจุบัน
หมู่บ้านท่องเท่ียวกะเหร่ียงคอยาว หมู่บ้าน ทิศเหนอื ติดกบั เขตพน้ื ท่บี า้ นสบป่อง
ทอ่ งเทยี่ วกะเหรย่ี งคอยาวบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ ทำ� การจดั ตงั้ ขน้ึ ทศิ ใต้ ติดกับ เขตพืน้ ท่ีบ้านหว้ ยปแู กง
เมอ่ื ประมาณปี พ.ศ.๒๕๓๗ โดยเกิดจากการเชิญชวนของ ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั ศูนยท์ ่าโปง่ แดง
นางเป็ง (ไม่ทราบนามสกุล) ท�ำหน้าท่ีเป็นนายทุนชักชวน ทิศตะวนั ตก ติดกบั สาธารณรฐั เมยี นมาร์
ชาวกะเหรี่ยงคอยาวจากบ้านในสอย ให้ท�ำการย้ายเข้ามา
อยู่ยังบ้านห้วยเสือเฒ่า เดิมทีมีจ�ำนวนครอบครัวกะเหร่ียง การคมนาคม
คอยาวเพียง ๔ ครอบครัวที่ย้ายเข้ามาอยู่อาศัยที่หมู่บ้าน
ห้วยเสอื เฒ่าแหง่ น้ี และจากการพฒั นาของอดตี ผนู้ ำ� ชุมชน เส้นทางเข้าออกหมู่บ้าน มี ๑ เส้นทางจาก
(นายฟู ฟูเกียรติธนชัย) จึงเป็นผลให้หมู่บ้านท่องเท่ียว อำ� เภอเมอื ง - บา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ รวมระยะทางประมาณ ๑๒
กะเหร่ียงคอยาวบ้านห้วยเสือเฒ่ามีการเก็บค่าบ�ำรุงรักษา กโิ ลเมตร สภาพเสน้ ทางจากทางเรม่ิ เขา้ เขตบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่
กับนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติที่เข้ามาเยี่ยมชมคนละ เป็นทางลาดยางสลับกับคอนกรีต โดยมีท่าลุยข้ามห้วย
๒๕๐ บาท เพื่อท�ำการกระจายรายได้ให้กับครอบครัว เทคอนกรีตเสริมเหล็ก ผ่านล�ำห้วย ๑๐ แห่ง ปัจจุบัน
ชาวกะเหร่ียงคอยาวที่อาศัยอยู่ภายในหมู่บ้านเดือนละ กรมทางหลวงชนบทไดเ้ ขา้ มาทำ� การปรบั ปรงุ ทา่ ลยุ ขา้ มหว้ ย
๑,๕๐๐ บาท พรอ้ มการใหส้ วสั ดกิ ารหรอื การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ท�ำใหเ้ หลือเพยี ง ๓ แหง่
ในดา้ นตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ในดา้ นของการรกั ษาโรคเมอื่ ยาม
เจ็บป่วย การศึกษาของเด็กๆ ชาวกะเหรี่ยงคอยาว และ ล�ำน�ำ้ ภายในหมู่บา้ น
การพฒั นากล่มุ กะเหร่ียงคอยาว เป็นตน้ ตอ่ มาเมื่อรัฐบาล
ไดเ้ ขา้ มาทำ� การจดั ระเบยี บภายในหมบู่ า้ นกะเหรยี่ งคอยาว ภายในหมู่บ้านมีห้วยหนึ่งสายไหลผ่าน ซ่ึงเป็นห้วย
จึงท�ำให้ได้รับการสนับสนุนเป็นหมู่บ้านท่องเท่ียว ท่ีมาจากน�้ำขุนห้วยเดื่อไหลจากทางทิศตะวันตกสู่ทาง
ทศิ ตะวนั ออกของหมบู่ า้ น โดยลำ� หว้ ยนจ้ี ะไหลไปบรรจบกบั
แมน่ ำ้� ปายทบ่ี า้ นนำ�้ เพยี งดนิ และไหลสสู่ าธารณรฐั เมยี นมาร์
สมาชิกภายในชุมชนภายในหมู่บ้านสามารถใช้ประโยชน์
จากล�ำห้วยนี้ได้ในด้านของการท�ำการเกษตรภายในชุมชน
เช่น ทำ� ไร่ ท�ำสวน เลย้ี งสัตว์ เป็นต้น

ขอ้ มูลกลุ่มชาติพนั ธุ์กะแย(กะเหรีย่ งแดง) จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน 9

ภเู ขาและเนินเขา ลักษณะครอบครัว

บ้านห้วยเสือเฒ่าต้ังอยู่บริเวณเนินที่ราบระหว่าง จากการศึกษาลักษณะครอบครัวโดยใช้เคร่ืองมือ
หุบเขา ท�ำให้บริเวณโดยรอบหมู่บ้าน มีเนินเขาที่สลับ ผังเครือญาติท�ำให้พบว่าลักษณะครอบครัวภายในชุมชน
ซบั ซอ้ นโอบลอ้ มรอบบรเิ วณหมบู่ า้ นและเปน็ เนนิ เขาทสี่ ลบั บา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ โดยสว่ นใหญจ่ ะมรี ปู แบบเปน็ ครอบครวั เดยี่ ว
ซบั ซอ้ นกันไปตามแนวสันเขา มรี ะดับความสงู จากน้ำ� ทะเล อันประกอบไปด้วยพ่อ แม่ และลูก อยู่ในบ้านหลังหนึ่ง
ประมาณ ๓๐๐ เมตร แตก่ ็ยังปรากฏรปู แบบครอบครัวขยายท่ีมีตั้งแต่ปู่ ยา่ หรอื
ตา ยาย อย่ภู ายในครอบครัวหรอื ในบา้ นหลงั เดยี วกันด้วย
จำ� นวนครัวเรอื น และ ประชากร เช่น การศึกษาข้อมูลจากครอบครัวตยาดีทาน พบว่า
ครอบครัวตยาดีทาน มีลักษณะเป็นครอบครัวเด่ียว มีการ
หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่ามีจ�ำนวนหลังคาเรือนตาม แยกบ้านกันอยู่เป็นครอบครัวอย่างชัดเจน แต่มีความ
ทะเบยี นบา้ นทงั้ หมด ๑๔๗ หลงั คาเรอื น และมหี ลงั คาเรอื น สัมพันธ์ท่ีเกี่ยวข้องกัน มีการพ่ึงพาอาศัยกันในทุกๆ ด้าน
ตามที่อยู่จริงจากการใช้เคร่ืองมือแผนท่ีเดินดินท�ำการ ดงั ผงั เครอื ญาติต่อไปน้ี
ส�ำรวจทัง้ หมด ๒๘๑ หลังคาเรือน
หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่ามีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด การประกอบอาชพี
๑,๐๒๓ คน ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยประชากรไทย และประชากร
ท่ีไม่มีสถานะทางทะเบียน โดยประชากรภายในหมู่บ้าน ประชากรภายในหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่ามีการ
สว่ นใหญจ่ ะเปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุซงึ่ ประกอบไปดว้ ยกะเหรย่ี งแดง ประกอบอาชพี ดงั ตอ่ ไปนี้
กะเหรยี่ งคอยาว กะเหรี่ยงหใู หญ่ ม้ง และไทใหญ่ ๑. การเกษตร ได้แก่ ท�ำไร่ ท�ำนา ปลูกถ่ัวเหลือง
จ�ำนวนประชากรของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงแดงมี ขา้ วโพด กระเทียม และเลี้ยงสตั ว์
จ�ำนวนมากที่สุดภายในหมู่บ้านประมาณ ๘๐ เปอร์เซ็นต์ ๒. รับจ้างท่ัวไป ได้แก่ รับเหมาก่อสร้าง รักษา-
ซ่ึงมาจากการย้ายถ่ินฐานจากเดิมคือบ้านขุนห้วยเด่ือมายัง ความปลอดภยั โรงงาน
บ้านห้วยเสือเฒ่า โดยกลุ่มชาติพันธุ์กะเหร่ียงแดงบางส่วน ๓. การค้าขายเพ่ือการท่องเที่ยว ได้แก่ ร้านค้า
เป็นบุคคลไร้สัญชาติและบางส่วนมีการอพยพมาจาก ของชาวกะเหรย่ี งคอยาว
สาธารณรฐั เมยี นมาร์รองลงมาคอื กลมุ่ ชาตพิ นั ธก์ุ ะเหรย่ี งคอยาว ๔. ค้าขาย ไดแ้ ก่ ร้านคา้ ร้านอาหาร
ทมี่ จี ำ� นวนประชากรเปน็ อนั ดบั สองภายในหมบู่ า้ นประมาณ ๕. ข้าราชการ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่อบต.
๑๕ เปอร์เซ็นต์ โดยกลุ่มชาติพันธุก์ ะเหร่ยี งคอยาวที่เขา้ มา ครู และเจ้าพนกั งานของรฐั
อาศยั อยภู่ ายในหมบู่ า้ นจากการเชญิ ชวนของนายทนุ แตเ่ ดมิ
ชาวกะเหรี่ยงคอยาวมีท่ีมาจากสาธารณรัฐเมียนมาร์ และ กลุ่มภายในชมุ ชน
ได้ล้ีภัยสู้รบทางการเมืองเข้ามายังศูนย์อพยพบ้านในสอย
เมื่อชาวกะเหรี่ยงคอยาวมีการย้ายถ่ินฐานเข้ามายัง กลมุ่ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำ� หมบู่ า้ น (อสม.
บ้านห้วยเสือเฒ่าก็ได้มีการน�ำชาวกะเหรี่ยงหูใหญ่ หรือ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน หรือ อสม.
หยู าวเขา้ มาดว้ ย แตจ่ ำ� นวนประชากรของชาวกะเหรยี่ งหใู หญ่ เป็นการรวมกลุ่มของบุคคลท่ีมีจิตอาสา หรือ อาสาสมัคร
หรอื หูยาว จะมีไมม่ ากประมาณ ๑ เปอรเ์ ซน็ ต์ เน่อื งจาก เข้ามาท�ำงาน โดยบคุ คลเหลา่ นจี้ ะต้องได้รบั การอบรมตาม
มีการย้ายถ่ินฐานไปอยู่ยังต่างหวัดเช่นเดียวกับชาว หลักสูตรท่ีกระทรวงสาธารณสุขก�ำหนด กลุ่มอาสาสมัคร
กะเหร่ียงคอยาว อาทิ จังหวัดเชียงใหม่ และ พัทยา เปน็ ต้น สาธารณสขุ ประจำ� หมู่บา้ น หรอื อสม. มีบทบาทหน้าทีใ่ น
เมอื่ มกี ารพฒั นาหมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี วกะเหรยี่ งคอยาวไดส้ ง่ ผล การดูแลด้านสุขภาพของสมาชิกภายในชุมชน เพื่อให้
ใหม้ กี ลมุ่ ชาตพิ นั ธอ์ุ น่ื เขา้ มาอาศยั รว่ มกนั ภายในหมบู่ า้ น เชน่ สมาชกิ ภายในชมุ ชนเกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมในดา้ น
ไทใหญ่ และม้งประมาณ ๔ เปอร์เซ็นต์ สุขภาพอนามัยไปในทิศทางอันดียิ่งข้ึน นอกจากนั้นยังมี
บทบาทหน้าท่ีในการเป็นตัวกลางของการสื่อสารข่าวด้าน

10 ข้อมูลกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์กะแย(กะเหรย่ี งแดง) จังหวดั แมฮ่ ่องสอน

สาธารณสุข การแนะน�ำหรือเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ (สสช.บ้านห้วยเด่ือ) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ให้กับสมาชกิ ภายในชมุ ชน ตลอดจนใหบ้ รกิ ารสาธารณสุข ต�ำบลผาบอ่ ง (รพสต.ผาบ่อง) และปจั จุบันกลมุ่ อาสาสมคั ร
ดา้ นตา่ งๆ เชน่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั สาธารณสขุ ชมุ ชน หรอื อสม. มจี ำ� นวนสมาชกิ ทง้ั สนิ้ ๑๕ คน
การเกิดโรค การดูแลผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการทางด้าน มีการแบ่งการดูแลเป็นตามป๊อกบ้านภายในหมู่บ้านท้ังสิ้น
ร่างกาย การส่งต่อผู้ป่วยให้เข้ารับการบริการด้านสุขภาพ ๘ ป๊อก นอกจากน้ันยังมีการแบ่งการดูแลท่ีหย่อมบ้าน
และสาธารณสขุ เปน็ ตน้ ซง่ึ การทำ� งานของกลมุ่ อาสาสมคั ร แม่ส่วยอูและหย่อมบ้านห้วยต่อ โดยกลุ่มอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน หรือ อสม. จะเป็นการท�ำงาน สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน หรือ อสม. มีโครงสร้างกลุ่ม
ร่วมกันกับสถานบริการสาธารณสุขชุมชนบ้านห้วยเด่ือ ดงั ต่อไปน้ี

ตาราง : แสดงโครงสร้างกลุม่ อาสาสมัครสาธารณสขุ บา้ นหว้ ยเสอื เฒ่า

โครงสร้างกลมุ่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมบู่ ้าน หรอื อสม.

นายประชา ด�ำรงตำ� แหนง่ หัวหน้ากล่มุ อสม.

จ�ำนวนป๊อก ผู้ดแู ล

ปอ๊ ก ๑ นายอุทศิ ตำ� แหนง่ สมาชิก อสม.

ป๊อก ๒ นางสารภี ตำ� แหนง่ สมาชกิ อสม.

ปอ๊ ก ๓ นางองั คณา ตำ� แหนง่ สมาชิก อสม.

ปอ๊ ก ๔ นางวรรณศรี ตำ� แหน่ง สมาชกิ อสม.

ป๊อก ๕ นางวรรณศรี ตำ� แหนง่ สมาชกิ อสม.

ปอ๊ ก ๖ นางพสิ มยั และนายแซ ตำ� แหนง่ สมาชิก อสม.

ปอ๊ ก ๗ นายบุญมา ต�ำแหน่ง สมาชิก อสม.

ปอ๊ กกะเหรย่ี งคอยาว นางสดุ า ตำ� แหน่ง สมาชกิ อสม.

กลมุ่ เยาวชน กลมุ่ เยาวชนบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ เปน็ การ เป็นต้น ปัจจุบันมีผู้น�ำกลุ่มคือ นายเทวัญ ไพรพนาดล
รวมกลุ่มของสมาชิกเด็กและเยาวชนภายในหมู่บ้าน โดยมี ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกลุ่มเยาวชน โดยกลุ่มเยาวชน
วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งข้ึนเพ่ือสร้างแรงจูงใจให้เด็กและ บ้านห้วยเสือเฒ่านั้นจะแบ่งโครงสร้างการท�ำงานออกเป็น
เยาวชนภายในหมบู่ า้ นเหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของปญั หาภายใน ๓ สว่ น ได้แก่
ชุมชนและร่วมกันแก้ปัญหาภายในชุมชน ซึ่งกิจกรรม ส่วนท่ี ๑ ฝ่ายบริหาร ซึ่งจะประกอบไปด้วย
ส่วนใหญจ่ ะเปน็ เรอื่ งของการทำ� จติ อาสาภายในชุมชน เชน่ ประธานกลุ่ม ประธานฝ่ายกิจกรรม รองประธาน และ
การทำ� ความสะอาดหมบู่ า้ น การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ เหรัญญิก หน้าที่ในการท�ำงานของโครงสร้างส่วนที่ ๑ น้ี
โดยการเล่นกีฬา และกิจกรรมการแสดงเพื่ออนุรักษ์ จะเป็นเรื่องของการจัดท�ำโครงการและกิจกรรมต่างๆ
วฒั นธรรมของชนเผา่ ทง้ั กะเหรยี่ งแดงและกะเหรยี่ งคอยาว จดั หาทนุ สนบั สนุนในการทำ� กจิ กรรม เป็นตน้

ขอ้ มลู กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุกะแย(กะเหรีย่ งแดง) จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน 11

สว่ นท่ี ๒ ฝ่ายกีฬาและนันทนาการ มหี นา้ ทใ่ี นการ สขุ ภาพอนามยั
จัดซ้อมกิจกรรมกีฬาต่างๆ อาทิ เปตอง ฟุตบอล ตะกร้อ
วอลเลย์บอล เป็นตน้ เพอ่ื ใหเ้ ยาวชนภายในชมุ ชนท่มี ีความ บ้านห้วยเสือเฒ่า เป็นหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
สามารถด้านกีฬาได้เข้ามาแสดงความสามารถของตนเอง ของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ชมุ ชนบา้ นหว้ ยเดอ่ื หรอื สสช.
และเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาต่างๆที่จัดขึ้นทั้งภายในต�ำบล หว้ ยเดอื่ และ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บลผาบอ่ ง หรอื
และจงั หวดั นอกจากนนั้ ฝา่ ยกฬี าและนนั ทนาการยงั มหี นา้ ท่ี รพ.สต.ผาบอ่ ง ซง่ึ เปน็ สถานบรกิ ารพยาบาลภายในตำ� บลผา
ในการจดั ซอ้ มการแสดง ทง้ั ในเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละเชงิ อนรุ กั ษ์ บ่อง ที่ให้บริการในเรื่องของการดูแลรักษาด้านสุขภาพ
วัฒนธรรมชนเผ่า เพ่ือร่วมแสดงในงานต่างๆ เช่น นอกจากนั้นภายในหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่ายังมีอาสาสมัคร
งานปอยตน้ ธี เปน็ ตน้ โดยมีเป้าหมายของการจดั การแสดง สาธารณสขุ ประจำ� หมบู่ า้ น หรอื อสม. ทำ� หนา้ ทใ่ี นการดแู ล
คือใหเ้ ยาวชนอนุรักษ์วัฒนธรรมการแสดงของชนเผ่าต่อไป ในด้านสุขภาวะของสมาชิกภายในชุมชน โดยอาสาสมัคร
สว่ นที่ ๓ ฝา่ ยเทคนคิ มหี นา้ ทใี่ นการดแู ลทง้ั เรอ่ื งของ สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน หรือ อสม. จะท�ำงานร่วมกับ
สถานที่ ไฟฟา้ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชต้ า่ งๆ ทก่ี ลมุ่ เยาวชนจำ� เปน็ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ชมุ ชนบา้ นหว้ ยเดอื่ ในการใหค้ วาม
จะตอ้ งใช้ อาทิ ไมค์ ลำ� โพง เครอ่ื งเสยี ง เปน็ ตน้ ซง่ึ ในสว่ นนี้ รูแ้ ละสอดสอ่ งดแู ลดา้ นสุขภาวะของสมาชิกภายในชมุ ชน
ผู้รับผิดชอบส่วนใหญ่จะเป็นเยาวชนท่ีมีความรู้และความ
สามารถด้านเทคนิคเป็นหลกั การศกึ ษา
ปัจจุบันกลุ่มเยาวชนบ้านห้วยเสือเฒ่า มีสมาชิก
ทง้ั สิ้นประมาณ ๙๐ คน อายตุ ้ังแต่ ๑๒-๑๕ ปี โดยสมาชกิ ภายในชุมชนบ้านห้วยเสือเฒ่ามีสถานศึกษาภายใน
ภายในกลุ่มจะเข้าร่วมกลุ่มด้วยความสมัครใจ และเต็มใจ ชมุ ชนทงั้ สน้ิ ๓ แหง่ ประกอบไปดว้ ยโรงเรยี นบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่
ในการชว่ ยเหลอื หรอื พัฒนาหมู่บ้าน (เจ้ากอแกว้ อปุ ถัมภ)์ ตงั้ อยภู่ ายในบริเวณบ้านห้วยเสอื เฒา่
กลุ่มทอผ้ากะเหร่ียงแดง กลุ่มทอผ้ากะเหรี่ยงแดง เปดิ ทำ� การเรยี นการสอนตง้ั แตร่ ะดบั ชน้ั อนบุ าล ๑ ถงึ ระดบั ชนั้
ถอื เปน็ หนง่ึ ในกลมุ่ ดง้ั เดมิ ภายในชมุ ชน แตเ่ นอ่ื งจากการรวม ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ และศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นหว้ ยเสอื เฒา่
กลมุ่ ทไี่ มช่ ดั เจนจงึ ทำ� ใหก้ ลมุ่ ทอผา้ ของชาวกะเหรยี่ งแดงไม่ ตงั้ อยภู่ ายในบรเิ วณบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ โดยศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็
เป็นที่รู้จักมากนัก โดยกลุ่มทอผ้ากะเหร่ียงแดงได้กลับมา บ้านห้วยเสือเฒ่าเป็นสถานที่ดูแล ฝึกพัฒนาการ และ
รวมตวั จดั ตงั้ กลมุ่ กนั อกี ครง้ั หนง่ึ เมอ่ื ประมาณเดอื นธนั วาคม เตรยี มความพรอ้ มใหก้ บั เดก็ เลก็ ชว่ งอายปุ ระมาณ ๒ - ๔ ปี
พ.ศ.๒๕๖๑ ท่ีผ่านมา น�ำโดยนางสาวพัชราภรณ์ และ นอกจากนั้นยังมีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
นางสาวกลั ยา ทมี่ องเหน็ เรอ่ื งการอนรุ กั ษผ์ า้ ทอกะเหรย่ี งแดง ตามอธั ยาศยั บา้ นแมส่ ว่ ยอู หรอื กศน.แมส่ ว่ ยอู ตงั้ อยภู่ ายใน
ประกอบกับเรื่องการขาดรายได้ของชาวกะเหร่ียงแดง บรเิ วณหยอ่ มบา้ นแมส่ ว่ ยอู ทเ่ี ปดิ ใหบ้ รกิ ารในดา้ นการศกึ ษา
ภายในหมบู่ า้ น จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ การฟน้ื ฟกู ลมุ่ ทอผา้ กะแหรย่ี งแดง ของเดก็ และเยาวชนรวมไปถงึ สมาชกิ ภายในชมุ ชนทมี่ คี วาม
ขึ้นอีกครั้งหน่ึง โดยจะท�ำการชักชวนสมาชิกภายในชุมชน สนใจในการเรียน โดยการเรยี นการสอนของกศน.แม่สว่ ยอู
ทมี่ คี วามสามารถในการทอผา้ กะเหรยี่ งแดงมาเขา้ รว่ มกลมุ่ นั้นเปิดท�ำการเรียนการสอนท้ังสายสามัญและสายวิชาชีพ
นอกจากนั้นกลุ่มทอผ้ากะเหร่ียงแดงยังได้รับการสนับสนุน อีกทั้งยังมีการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยให้แก่
จากศนู ยก์ ารเรยี นชาวไทยภเู ขาแมฟ่ า้ หลวงทเี่ ขา้ มาสนบั สนนุ สมาชกิ ภายในชมุ ชนทไี่ มส่ ามารถอา่ นหรอื เขยี นภาษาไทยได้
ในเร่อื งของการประยกุ ต์รปู แบบเสื้อผา้

สาธารณปู โภค

12 ข้อมลู กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุกะแย(กะเหรยี่ งแดง) จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

ไฟฟ้า บ้านห้วยเสือเฒ่าในอดีตภายในหมู่บ้าน (กะเหรยี่ งหใู หญ)่ มง้ และไทใหญ่ จงึ เปน็ ผลใหภ้ ายในชมุ ชน
ไม่มีไฟฟ้าเข้าถึง จึงมีการใช้ตะเกียงน�้ำมัน หรือ เทียน มีวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย ในด้านวิถีชีวิตหรือรูปแบบ
ในการให้ความสว่างแทน ต่อมาเม่ือประมาณปีพ.ศ.๒๕๔๐ การด�ำเนินชีวิตภายในชุมชนยังมีการด�ำเนินวิถี ชนเผ่า
น�ำโดยอดีตผู้ใหญ่บ้าน (นายฟู ฟูเกียรติธนชัย) ได้ท�ำเรื่อง เช่น หาของป่า ล่าสัตว์ ท�ำไร่ ท�ำสวน เป็นต้น เน่ืองจาก
ขอใช้ไฟฟ้าภายในหมู่บ้านโดยได้รับความช่วยเหลือจาก เป็นชุมชนท่ีอยู่ห่างไกลจากตัวเมืองจึงท�ำให้มี วิถีชีวิต
อดีตผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยเสือเฒ่าฯ (นายพีรวุฒิ ในลักษณะการพ่ึงพาอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ ภายใน
วงศ์จันทร์) ในการท�ำหนังสือย่ืนร้องขอต่อองค์การบริหาร ชมุ ชนมสี มาชกิ นบั ถอื ศาสนาพทุ ธจำ� นวน ๘๐ % ของหมบู่ า้ น
ส่วนต�ำบลผาบ่อง จึงท�ำให้หมู่บ้าน ห้วยเสือเฒ่ามีการใช้ ส่วนใหญ่เป็นชาวกะเหร่ียงแดงท่ีมีการนับถือผีอยู่ก่อน
ไฟฟ้านับจากนนั้ เป็นตน้ มา แตเ่ มื่อมีการกอ่ ตัง้ วดั ข้ึนภายในหมบู่ า้ น จึงสง่ ผลให้สมาชิก
ประปา ในอดีตบ้านห้วยเสือเฒ่ามีวิถีชีวิตโดยการ ภายในชุมชนหันมานับถือศาสนาพุทธกันมากขึ้น และใน
พงึ่ พงิ ธรรมชาติ คอื การใชน้ ำ้� จากลำ� หว้ ย ในการอปุ โภคและ ชุมชนมีสมาชิกนับถือศาสนาคริสต์จ�ำนวน ๒๐ % ของ
บรโิ ภค ตอ่ มาเมอื่ ประมาณปพี .ศ.๒๕๔๘ นำ� โดยอดตี ผใู้ หญ่ หมู่บ้าน โดยจะแบ่งการนับถือศาสนาคริสต์ออกเป็น
บ้าน (นายฟู ฟูเกยี รตธิ นชยั ) ได้ท�ำเรือ่ งขอติดตัง้ น้�ำประปา ๒ นิกาย ได้แก่ ศาสนาคริสต์นิกายโปแตสแตนท์ หรือ
ภายในหมบู่ า้ น โดยไดร้ บั การชว่ ยเหลอื จากอดตี ผอู้ ำ� นวยการ คริสต์เตียน โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นชาวกะแยที่นับถือ
โรงเรยี น บ้านห้วยเสอื เฒ่าฯ (นายพรี วุฒิ วงศ์จนั ทร์) ในการ นกิ ายนี้ และศาสนาครสิ ตน์ กิ ายคาทอลกิ โดยสว่ นใหญแ่ ลว้
ท�ำหนังสือในการยื่นร้องขอต่อองค์การบริหารส่วนต�ำบล จะเปน็ ชาวกะยนั ท่นี บั ถอื นกิ ายน้ี
ผาบ่อง ในการขอติดตัง้ นำ้� ประปาภายในหมบู่ า้ น จงึ ท�ำให้
หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่ามีการใช้น้�ำประปานับต้ังแต่นั้น ความเชอื่ ในเรอ่ื งของการนบั ถอื ผี
เป็นต้นมา โดยการติดตั้งน�้ำประปาภายในหมู่บ้านจะเป็น
ประปาภเู ขา ซงึ่ จะมกี ารดงึ นำ�้ มาจากลำ� หว้ ยหลกั แลว้ จงึ นำ� เดิมชุมชนมีการนับถือผีปะปนร่วมกับการนับถือ
มากระจายตอ่ เข้าทกุ หลังคาเรอื นในชุมชน ศาสนา เชน่ พุทธ เนือ่ งจากเปน็ หมบู่ า้ นทอี่ ยภู่ ายในหุบเขา
ถนน ในอดีตถนนภายในหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่ามี มีพื้นท่ีป่าไม้จ�ำนวนมาก จึงเป็นที่มาของความเช่ือในเร่ือง
ลกั ษณะเปน็ ถนนดนิ ลกู รงั ทำ� ใหก้ ารเดนิ ทางสญั จรเขา้ ออก ของผี ไม่ว่าจะเป็นผีเจ้าที่เจ้าทาง หรือ ผีเจ้าป่าเจ้าเขา
หมู่บ้านมีความยากล�ำบาก ต่อมาเมื่อในปีพ.ศ.๒๕๓๒ ที่คอยรักษาคุ้มครองพื้นท่ีภายในหมู่บ้าน เช่น บ้านเรือน
น�ำโดยอดีตผู้ใหญ่บ้าน (นายฟู ฟูเกียรติธนชัย) ได้ท�ำเรื่อง ลำ� หว้ ย ไร่ สวน เปน็ ตน้ โดยความเชอ่ื ในเรอ่ื งของการนบั ถอื ผี
ขอท�ำถนนภายในหมู่บ้าน โดยได้รับการช่วยเหลือจาก มคี วามสอดคลอ้ งและเชอื่ มโยงไปกบั เรอ่ื งสขุ ภาพ การเจบ็ ปว่ ย
อดีตผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบ้าน ห้วยเสือเฒ่าฯ (นายพีรวุฒิ และการดำ� เนนิ ชวี ิตของสมาชิกภายในชุมชน ท�ำให้ภายใน
วงศจ์ นั ทร)์ ในการทำ� หนงั สอื ยนื่ รอ้ งขอตอ่ หนว่ ยงานภาครฐั หมู่บ้านมีวัฒนธรรมการเล้ียงเพื่อขอบคุณผี และการเล้ียง
จึงทำ� ให้ บา้ นหว้ ยเสือเฒา่ เริ่มมกี ารก่อสรา้ งถนนขึน้ ซึง่ จะ เพ่ือขอขมาผี โดยการเลี้ยงผีน้ีจัดขึ้นเพื่อเป็นการกล่าว
เปน็ ถนนลาดยางระหวา่ งทางเขา้ หมบู่ า้ นสลบั กบั ถนนคอนกรตี ค�ำขอบคุณและค�ำขอโทษในสิ่งท่ีได้กระท�ำลงไป ตัวอย่าง
ในบางชว่ ง สว่ นภายในหมบู่ า้ นจะเปน็ ถนนคอนกรตี เปน็ หลกั หากมคี นในหมบู่ า้ นไมส่ บายและไปพบแพทยท์ โี่ รงพยาบาล
ตลอดท้งั หมบู่ า้ น แล้วก็ยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วยครอบครัวก็จะท�ำการ
ขอขมาผเี พอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยหายจากอาการเจบ็ ปว่ ย หรอื ภายหลงั
ความเชอ่ื ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี จากการท�ำนาท�ำไร่สมาชิกภายในชุมชนจะมีการเล้ียง
ขอบคณุ ผที ช่ี ว่ ยใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทางการเกษตรเปน็ จำ� นวนมาก
วิถีชีวิตชุมชนห้วยเสือเฒ่าประกอบไปด้วย นอกจากนั้นยังมีการเลี้ยงผีน้�ำที่จัดข้ึนเป็นประจ�ำทุกปี
กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีหลากหลาย ซึ่งประกอบไปด้วย กะแย เพ่ือเป็นการขอบคุณที่คอยดูแลแม่น�้ำหรือล�ำห้วยที่สมาชิก
(กะเหรี่ยงแดง) กะยัน(กะเหรี่ยงคอยาว) กะยอ ภายในชมุ ชนใชอ้ ุปโภคและบริโภค เปน็ ต้น

ข้อมลู กลุ่มชาติพันธุ์กะแย(กะเหรี่ยงแดง) จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน 13

ความเชือ่ ในเรื่องของต้นหว้า การแตง่ กาย

ภายในชมุ ชนบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ มกี ลมุ่ ชาตพิ นั ธอ์ุ าศยั จากยคุ สมยั ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปทำ� ใหก้ ารแตง่ กายของ
อยอู่ ยา่ งหลากหลาย แตโ่ ดยสว่ นใหญข่ องหมบู่ า้ นนนั้ จะเปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธภ์ุ ายในหมบู่ า้ นมกี ารประยกุ ตแ์ ละปรบั เปลย่ี น
ชาวกะเหรยี่ งแดงและกะเหรย่ี งคอยาว ซง่ึ ทงั้ สองชนเผา่ นน้ั ไปตามสมยั แตย่ งั คงเอกลกั ษณข์ องชนเผา่ ไวน้ น่ั คอื การทอผา้
มีความเช่ือเดียวกันในเรื่องของต้นไม้มงคลท่ีจะน�ำมา และมกี ารแตง่ กาย ชดุ ชาตพิ นั ธใ์ุ นเทศกาลหรอื งานพธิ สี ำ� คญั
ประกอบพธิ ปี อยตน้ ธี นน่ั คอื ตน้ หวา้ ทท่ี งั้ ชาวกะเหรย่ี งแดง ต่างๆ โดยส่วนใหญแ่ ลว้ ท้ังชาวกะเหรยี่ งแดงและกะเหรย่ี ง
และกะเหรี่ยงคอยาวเชื่อว่าเป็นต้นไม้ชนิดแรกท่ีเกิดขึ้น คอยาวจะท�ำการทอผ้าเองเพื่อน�ำมาท�ำเป็นเครื่องนุ่งห่ม
ในโลก จงึ ถอื ไดว้ า่ ตน้ หวา้ เปน็ ไมม้ งคลทจี่ ะนยิ มนำ� ยอดของ การแต่งกายชุดชาติพันธุ์ของชาวกะแย ผู้ชายจะสวมเส้ือ
ต้นหว้ามาขจัดปัดเป่าส่ิงชั่วร้ายและให้เกิดส่ิงดีๆ ตามมา แขนสน้ั สแี ดง กางเกงขากว๊ ยสแี ดง และมผี า้ โผกศรษี ะสแี ดง
สมดงั ใจหวงั ท้งั ผชู้ ายและผู้หญิง เรียกวา่ ‘โกะโทะ’ ส่วนผหู้ ญงิ จะสวม
ผา้ ทรงปาดไหลสแี ดง เรียกวา่ ‘โบะ๊ ฉะ’ นงุ่ ผ้าถุงสแี ดงทอ
การแต่งงานรอบที่ ๒ ลายสลับสีด�ำ เรียกว่า ‘กิบอชะ’ มีผ้าคาดเอว สีขาวเป็น
เอกลกั ษณ์ เรยี กวา่ ‘แซแหระ’ และสวมยางรักที่เขา่ เรยี ก
การแต่งงานรอบที่ ๒ เป็นประเพณีความเชื่อของ วา่ ‘แข่โบ๊ะ’
ชาวกะเหรี่ยงแดง เพื่อเป็นการเสริมสร้างสิริมงคลให้กับ การต่างกายชุดชาติพันธุ์ของชาวกะเหรี่ยงคอยาว
ชีวิตคู่และครอบครัว โดยการแต่งงานรอบท่ี ๒ ของชาว ผู้ชายจะสวมเสื้อแขนส้ันสีขาว กางเกงขาก๊วยสีด�ำ และมี
กะเหร่ียงแดงจะท�ำการจัดข้ึนเมื่อคู่หญิงชายท่ีแต่งงาน ผ้าโพกศรีษะสีขาว ส่วนผู้หญิงจะสวมเส้ือแขนส้ันสีขาว
กนั แลว้ มคี วามพรอ้ มในการจดั งาน ดงั นน้ั จงึ สามารถจดั การ ผ้าถงุ สีด�ำทอลายสตี ่างๆตรงชายผ้าถุง สวมหว่ งทองเหลอื ง
แตง่ งานรอบท่ี ๒ ขน้ึ เมอ่ื ใด กไ็ ด้ เนอ่ื งจากเปน็ การเฉลมิ ฉลอง ที่คอ เรียกวา่ ‘ตอื กะบอ้ ’ สวมผ้าพันหัว เรียกวา่ ‘กะเกา้ ’
การครองรกั ของคคู่ รองเทา่ นน้ั นอกจากนน้ั ชาวกะเหรย่ี งแดง และสวมห่วงทองเหลืองทเ่ี ข่าเรียกว่า ‘ตึง่ ลอ’
มีความเชื่อว่าหากครอบครัวใดมีการแต่งงานรอบท่ี ๒
จะท�ำให้ประสบความส�ำเร็จในชีวิตคู่ และจะสามารถ ประเพณปี อยต้นธีของกะแย
ครองรักกนั ไดย้ นื ยาว
‘ปอยตน้ ธ’ี มาจากภาษาไทใหญ่ คำ� วา่ ปอย หมายถงึ
ภาษา งาน ค�ำวา่ ตน้ ธี หมายถึง ตน้ ไมท้ มี่ ี การแกะสลกั และมกี าร
ประดับตกแต่งให้สวยงาม มีลักษณะคล้ายร่ม เมื่อน�ำสอง
ชุมชนห้วยเสือเฒ่าประกอบไปด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ ค�ำมาประสมกัน จึงหมายถึง งานประเพณีปีใหม่ของกลุ่ม
ที่หลากหลาย ซึ่งประกอบไปด้วย กะเหร่ียงแดง(กะแย) ชาติพนั ธุ์กะเหรี่ยงแดง และกลุ่มชาติพนั ธก์ุ ะเหรี่ยงคอยาว
กะเหร่ียงคอยาว กะเหรี่ยงหูใหญ่ ม้ง และไทใหญ่ ท�ำให้ โดยประเพณปี อยตน้ ธเี ปน็ งานประเพณที มี่ ตี น้ กำ� เนดิ มาจาก
มีการใช้ภาษาที่หลากหลาย แต่โดยทั่วไปแล้วจะมีการใช้ สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ มีการจดั งานขนึ้ ครัง้ แรก
ภาษาถ่ิน ได้แก่ ภาษากะเหรี่ยงแดง โดยจะมีภาษาพูด ในปี พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๓ ทเี่ มอื งลอยกอ่ รฐั คะยา สาธารณรฐั
คล้ายคลึงกับภาษาปกาเกอญอหรือกะเหร่ียงขาว และมี แหง่ สหภาพเมียนมาร์ ซ่ึงประเพณปี อยต้นธีนเ้ี ปน็ ประเพณี
ภาษาเขียนที่มีตัวหนังสือคล้ายกับอักษรขอมหรือพม่า ท่ีมีมาต้ังแต่สมัยโบราณ ดังนั้นในทุกๆ ปีการจัดประเพณี
นอกจากนัน้ ยงั มีภาษากะเหรย่ี งคอยาวทม่ี ีการใช้กนั เฉพาะ ปอยตน้ ธจี ะตอ้ งมกี ารจดั ขน้ึ ทเ่ี มอื งตน้ กำ� เนดิ กอ่ นทเี่ มอื งอน่ื ๆ
กลมุ่ กะเหรยี่ งคอยาว ซง่ึ ภาษากะเหรย่ี งคอยาวนน้ั เปน็ กลมุ่ จะได้ท�ำการจัดงานประเพณีเปน็ ลำ� ดบั ถัดไป
ภาษาทิเบต-พม่า สาขากะเหร่ียง สาขาย่อยสะกอ-บไค ประเพณีปอยต้นธีเปรียบเสมือนการจัดประเพณี
มตี ัวเขยี นอกั ษรละตนิ ปีใหม่ของชาวกะแย และกะยนั โดยจะทำ� การจดั ขนึ้ ในชว่ ง
เดือนเมษายนของทุกปีและมีการเลือกวันจันทรคติตาม
กะยันพุทธศักราชชาวกะแยและกะยันจะมีวิธีการในการ

14 ข้อมูลกลมุ่ ชาติพนั ธุ์กะแย(กะเหร่ียงแดง) จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

ก�ำหนดวันส�ำหรับจัดพิธีโดยการเลือกวันจันทรคติตาม ทุกบ้านจะท�ำข้าวต้มมัดเป็นรูปสามเหล่ียม เพื่อเป็นการ
กะยนั พทุ ธศกั ราชแลว้ นำ� วนั ทเี่ ลอื กมานน้ั เสยี่ งทายโดยการ เลี้ยงผีเล้ียงเจ้าท่ีต่างๆ และมีความเชื่อว่าเป็นการท�ำบุญ
ใชก้ ระดกู ไก่ เพอ่ื เปน็ การถามฟา้ ดนิ วา่ สามารถจดั งานในวนั ข้าวใหมใ่ ห้กบั ผีหรอื เจา้ ท่หี ลงั จากฤดูกาลเก็บเกย่ี ว
ที่ก�ำหนดข้ึนได้หรือไม่ หากสามารถจัดได้จึงจะท�ำการ
ก�ำหนดวันที่ขึ้น ดังนั้นประเพณีปอยต้นธีของชาวกะแย การประกอบอาชีพ
และกะเหรีย่ งคอยาวจงึ ไมม่ กี ารก�ำหนดวนั ทท่ี ชี่ ัดเจน
ชาวกะแยจะมรี ะยะเวลาในการจดั ประเพณปี อยตน้ ธี ภายในหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า มีสภาพวิถีชีวิตและ
เปน็ เวลาทง้ั สนิ้ ๕ วนั ซง่ึ ชาวกะแย ทอี่ าศยั อยภู่ ายในจงั หวดั ความเปน็ อยูด่ า้ นเศรษฐกจิ ทวั่ ไป โดยการด�ำเนนิ วิถีชนเผ่า
แม่ฮ่องสอน มีจ�ำนวนท้ังสิ้น ๘ หมู่บ้าน การจัดประเพณี และทำ� การคา้ ขายเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว ซง่ึ การประกอบอาชพี
ปอยตน้ ธใี นแตล่ ะปจี ะทำ� การสลบั สบั เปลย่ี นและหมนุ เวยี น ของประชากรภายในหมู่บ้าน ห้วยเสือเฒ่านั้นสามารถ
กันเป็นเจ้าภาพในการจัดงาน โดยประเพณีปอยต้นธีนี้ถูก แบ่งออกได้เปน็ ๔ ประเภท ดังตอ่ ไปนี้
จัดข้ึนเพื่อเป็นการให้ชาวกะแยได้กลับมารวมตัว พบปะ การประกอบอาชีพทางการเกษตร พื้นท่ีในการ
สังสรรค์ และท�ำกิจกรรมร่วมกัน เช่น การแข่งกีฬา ท�ำการเกษตรมีอาณาเขตบริเวณประมาณ ๑๐๖ ไร่ของ
การละเลน่ ของชนเผา่ เปน็ ตน้ ภายในหมบู่ า้ นหว้ ยเสอื เฒา่ มี พ้ืนท่ีท้ังหมด การท�ำการเกษตรส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการ
ลานพิธีกรรมของชาวกะเหร่ียงแดงตั้งอยู่บริเวณข้างบ้าน ท�ำไร่หมุนเวียน เช่น ท�ำนา ท�ำไร่ ปลูกถ่ัวเหลือง
ของผู้ใหญ่บ้านหนง่ึ แห่ง และตั้งอยู่ ณ หยอ่ มบา้ นแม่ส่วยอู ปลูกกระเทียม ซ่ึงสมาชิกภายในชุมชนภายในหมู่บ้าน
อีกหนึ่งแห่ง หว้ ยเสอื เฒา่ มกี ารประกอบอาชพี เกษตรกรรมโดยสว่ นใหญ่
การท�ำประเพณีปอยต้นธีของชาวกะแยจะท�ำการ นอกจากน้ันภายในชุมชนยังมีการเล้ียงสัตว์ไว้เพื่อการ
ตัดต้นหว้างามมาหนึ่งต้น ในภาษากะแย จะเรียกว่า บริโภคและการค้าขาย เชน่ หมู ไก่ เป็นตน้
ตะมอเหมาะ แล้วน�ำมาท�ำการประดับตกแต่งด้วย “สุบ” การประกอบอาชีพรับจ้างท่ัวไป สมาชิกภายใน
ท่ีมีลักษณะรูปร่างคล้ายบ้านหรือร่ม ซ่ึงภายใน “สุบ” ชุมชนภายในหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า มีการประกอบอาชีพ
จะมีการประดับไปด้วยเครื่องจักสานรูปเดือน รูปดาว รับจ้างทั่วไป ซึ่งเป็นการรับจ้างท�ำงานทั้งภายในและ
รวงข้าว และจักจ่ัน เป็นต้น เม่ือประดับตกแต่งแล้วเสร็จ ภายนอกชมุ ชน เชน่ การทำ� งานกอ่ สรา้ ง การทำ� งานโรงงาน
จึงน�ำ “สุบ” น้ีมาปักไว้ที่หัวเสาให้เรียบร้อยก่อนจะน�ำ การท�ำงานเป็นเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัย รับส่ง/
ตน้ หวา้ มาท�ำพิธกี ารปักลงดนิ ขนของ เปน็ ต้น
การประกอบอาชีพค้าขาย สมาชิกภายในชุมชน
ประเพณีปอยข้าวตม้ ภายในหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า บางส่วนจะมีกิจการที่เป็น
ของตนเอง ได้แก่ ร้านค้า รา้ นอาหาร เป็นตน้
ประเพณปี อยขา้ วตม้ เปน็ หนง่ึ ในประเพณขี องชาวกะแย การประกอบอาชพี คา้ ขายเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว ภายใน
ภายในหมบู่ า้ นจะจดั ขน้ึ ทกุ ปใี นชว่ งเดอื นกนั ยายน โดยจะมี หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่าเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวจึงท�ำให้มีการ
การท�ำนายกระดูกไก่เพ่ือหาวันเวลาท่ีเหมาะสมก่อนการ ประกอบอาชีพค้าขายเพ่ือการท่องเที่ยว คือ ร้านค้าของ
จดั ประเพณปี อยขา้ วตม้ และมกี ารจดั ประเพณปี อยขา้ วตม้ ชาวกะยนั โดยสว่ นใหญผ่ ปู้ ระกอบอาชพี นจ้ี ะเปน็ ชาวกะยนั
เป็นระยะเวลาทั้งสิ้น ๕ วัน มีการละเล่นแต่งตัวเป็นผี เป็นหลกั
คล้ายประเพณี ผีตาโขลง ของภาคใต้ จากกลุ่มเด็กและ การประกอบอาชีพรับข้าราชการ สมาชิกภายใน
เยาวชนของหมู่บ้านไปแสดงการละเล่นหลอกผีตามบ้าน ชุมชนภายในหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า มีการประกอบอาชีพ
ตา่ งๆ เพ่ือสร้างความสนกุ สนานให้กับสมาชกิ ภายในชุมชน รับข้าราชการ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกอบต. ครู และ
และสมาชิกภายในชุมชนจะท�ำการมอบข้าวต้มท่ีท�ำให้ เจ้าพนักงานของรัฐ
เป็นการแลกเปล่ียน ประเพณีปอยข้าวต้มเป็นประเพณีท่ี

ขอ้ มูลกลุ่มชาติพนั ธุ์กะแย(กะเหรยี่ งแดง) จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน 15

ทรพั ยากรธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อม บ้านห้วยเสือเฒ่า ประปาหมู่บ้าน ศูนย์การท่องเท่ียว
หมูบ่ ้านกะเหรย่ี งคอยาว
ทรัพยากรธรรมชาติ ในมิติด้านส่ิงแวดล้อมภายใน ทท่ี ำ� การผใู้ หญบ่ า้ น : เปน็ สถานทสี่ ำ� หรบั การพดู คยุ
บริเวณหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่ามีทรัพยากรธรรมชาติที่ ปรกึ ษา หารอื ศนู ยก์ ระจายเสยี ง และศนู ยร์ วมการใหค้ วาม
หลากหลาย เชน่ ทรพั ยากรดนิ ทรพั ยากรนำ้� ทรพั ยากรปา่ ไม้ ชว่ ยแก่เหลือคนในชุมชน
และทรพั ยากรแสงอาทติ ย์ภายในชุมชน เปน็ ต้น วัดห้วยเสือเฒ่า : วัดห้วยเสือเฒ่าเป็นสถานที่ท่ีมี
ทรัพยากรดิน ภายในชุมชนส่วนใหญ่จะเป็นดินลูกรัง ความสำ� คัญภายในหมู่บา้ น เนื่องจากเป็นศนู ย์รวม และยึด
ที่สามารถเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตรได้ เช่น ปลูกถั่ว เหนย่ี วจติ ใจส�ำหรบั คนในชุมชนทน่ี ับถือศาสนาพุทธ อกี ท้งั
ขา้ วโพด กล้วย เปน็ ตน้ ยังมีการสั่งสอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และ
ทรัพยากรน้�ำ ภายในชุมชนมีท้ังแหล่งน้�ำธรรมชาติ จัดกิจกรรมทางศาสนาในวันส�ำคัญต่างๆ นอกจากน้ัน
คือ ลำ� น�ำ้ ขนุ ห้วยเดอ่ื ทส่ี มาชิกภายในชุมชนสามารถน�ำมา วัดห้วยเสือเฒ่ายังเป็นศูนย์กลางในการรวมตัวท�ำกิจกรรม
ใชป้ ระโยชน์ เช่น ประกอบการทำ� การเกษตรภายในชมุ ชน ของคนในชมุ ชนอยา่ งเชน่ มกี ารประชมุ หมบู่ า้ นประจำ� เดอื น
ได้ และมีแหล่งน้�ำที่สมาชิกภายในชุมชนร่วมกันสร้าง คือ หรอื ทำ� กิจกรรมอื่นๆ
น�ำ้ ประปาภูเขา ท่ีนำ� มาใชใ้ นการอุปโภคภายในชุมชน โบสถค์ รสิ ตเ์ ตยี นบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ : โบสถค์ รสิ ตเ์ ตยี น
ทรัพยากรป่าไม้ ภายในเขตชุมชนมีป่าชุมชนท่ี บา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ เปน็ สถานทท่ี ม่ี คี วามสำ� คญั ภายในหมบู่ า้ น
สมาชิกภายในชุมชนสามารถใช้สอยเพ่ือประโยชน์ที่ เนื่องจากเป็นศูนย์รวมและยึดเหนี่ยวจิตใจส�ำหรับ
สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้ังทางตรงและทาง คนในชุมชนท่ีนับถือศาสนาคริสต์ อีกท้ังยังมีการส่ังสอน
อ้อม ตามวิถีชีวิตของทุกคนในชุมชน ทั้งในเร่ืองการท�ำมา หลกั ทางศาสนาครสิ ต์ และเปน็ สถานทจี่ ดั กจิ กรรมทางศาสนา
หากนิ เชน่ การเกบ็ ใบตองตงึ การหาของป่าเพื่อนำ� มาขาย ในวันส�ำคัญต่างๆ
หารายได้ เป็นต้น นอกจากน้ียังรวมไปถึงเร่ืองประเพณี โรงเรยี นบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ : เปน็ สถานทจี่ ดั หลกั สตู ร
ความเชื่อ เช่น การหาต้นไม้เพ่ือน�ำมาประกอบประเพณี การเรยี นการสอนให้กบั เดก็ และเยาวชนภายในชมุ ชน โดย
ปอยตน้ ธี เปน็ ตน้ มีหลกั สูตรการเรียนการสอนตงั้ แตช่ นั้ อนบุ าลปีท่ี ๒ จนถึง
ทรัพยากรแสงอาทิตย์ ในส่วนของหย่อมบ้าน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
แม่ส่วยอูมีการใช้แผงโซล่าเซลล์โดยได้รับพลังงานจาก ศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กบ้านห้วยเสือเฒ่า : เป็น
พลังงานแสงอาทิตย์แทนการใช้ไฟฟ้าในการด�ำรงชีวิต สถานทที่ ด่ี แู ล ฝกึ พัฒนาการ และเตรียมความพร้อมใหก้ บั
เนอ่ื งจากหยอ่ มบา้ นแมส่ ว่ ยออู ยหู่ า่ งไกลจากบา้ นหว้ ยเสอื เฒา่ เด็กเล็กท่ีมีช่วงอายุระหว่าง ๒-๔ ปี ก่อนเข้าโรงเรียนโดย
และใกล้กับเขตชายแดนท�ำให้ไฟฟ้าเข้าถึงได้ยาก จึงได้รับ ไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่าย
การสนับสนุนด้านไฟฟ้าจากกระทรวงพลังงานในการใช้ ประปาหมบู่ า้ น : ภายในหมบู่ า้ นมกี ารใชป้ ระปาภเู ขา
พลงั งานแสงอาทติ ยแ์ ทนไฟฟา้ ในการใช้ในชีวิตประจ�ำวัน โดยภายในหมู่บ้านจะมีแท็งก์
กักเกบ็ น�ำ้ จำ� นวนท้ังส้ิน ๓ แทง็ ก์
สถานที่ก่อประโยชน์ ศนู ย์การทอ่ งเที่ยวหมบู่ ้านกะเหรยี่ งคอยาว : เป็น
แหลง่ เศรษฐกจิ ของหมูบ่ า้ น เนือ่ งจากสมาชิกภายในชมุ ชน
ภายในบรเิ วณหมบู่ า้ นหว้ ยเสอื เฒา่ มสี ถานทกี่ อ่ ประโยชน์ จะน�ำสินค้ามาขายให้กับนักท่องเที่ยว ซ่ึงสินค้าส่วนใหญ่
อยู่หลายแห่ง ได้แก่ ท่ีท�ำการผู้ใหญ่บ้าน วัดห้วยเสือเฒ่า จะเป็นสินค้าท�ำมือ เช่น ผ้าทอกะเหร่ียง หรือสินค้า
โบสถ์คริสต์เตียนบ้านห้วยเสือเฒ่า โบสถ์คาทอลิก ทางการเกษตร เชน่ พริก ข้าวโพด มัน
บ้านห้วยเสือเฒ่า โรงเรียนบ้านห้วยเสือเฒ่า(เจ้ากอแก้ว
อุปถัมภ์) ศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กบ้านห้วยเสือเฒ่า
ศูนย์มาลาเรียบ้านห้วยเสือเฒ่า ศูนย์การเรียนรู้ ICT

16 ขอ้ มลู กลุ่มชาติพนั ธุ์กะแย(กะเหร่ียงแดง) จังหวัดแม่ฮ่องสอน

บรบิ ทชุมชนบ้านทบศอก๓

ประวตั ชิ ุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ หมู่บ้านมีกองทุนโครงการแก้ไขปัญหา
ความยากจนเพ่ือให้ชาวบ้านน�ำไปใช้ท�ำการเกษตรและ
ประวัติชุมชนบ้านทบศอกในอดีตยังไม่มีการก่อต้ัง ปีเดียวกันมีการก่อสร้างโรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
หมู่บ้านแต่มีคนอาศัยอยเู่ ปน็ หย่อมบ้าน ๒ หย่อมบ้านซ่งึ ๒ ปีที่ ๑ - ๖ และได้ถูกยุบไปปี พ.ศ. ๒๕๔๘ เนื่องจาก
หย่อมบา้ นนีม้ ีแมน่ ำ�้ แม่สะงาไหลผา่ นมีลักษณะคดเค้ยี ว ได้ มีเด็กนักเรียนน้อยทางโรงเรียนเชิญให้เด็กนักเรียนไปเรียน
เรยี กชอ่ื หมบู่ า้ นนว้ี า่ หมบู่ า้ นทบศอก หยอ่ มบา้ นแรกอยทู่ าง ที่โรงเรียนบ้านห้วยขาน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ในชุมชน
ทิศตะวันออกของแม่น้�ำแม่สะงา ซ่ึงปัจจุบันเป็นที่ต้ังของ พบผู้ป่วยไข้เลือดออกรายแรกปัจจุบันไม่พบผู้ป่วยในส่วน
โรงไฟฟา้ พลงั งานน้ำ� แมส่ ะงา และหยอ่ มบ้านที่ ๒ อยู่ทาง ของโรคไข้มาลาเรยี นัน้ พบผปู้ ่วยรายแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓
ทศิ ตะวนั ตก ในแตห่ ยอ่ มบา้ นมปี ระชากรอยู่ ๔- ๕ ครวั เรอื น แต่ปัจจุบันไม่พบผู้ป่วย ต่อมาปี พ.ศ.๒๕๔๒ มีการ
ตอ่ มาเพอื่ ความสะดวกในการศกึ ษาเลา่ เรยี นของบตุ รหลาน ก่อสร้างโบสถ์ขึ้นโดยชาวบ้านท่ีนับถือศาสนาคริสต์ได้ช่วย
ในการไปศึกษาเล่าเรียนท่ีโรงเรียนบ้านห้วยขานซ่ึงมี ระดมทุนจัดสร้างข้ึน และในปีเดียวกันเกิดเหตุดินสไลด์
ระยะทางห่างจากหมู่บ้าน ๓ กิโลเมตร ประกอบเพ่ือ เข้ามาในหมู่บ้านท�ำให้บ้านเรือนชาวบ้านเสียหายจ�ำนวน
ความเข้มแข็งของชุมชนผู้น�ำแต่ละหย่อมบ้านจึงได้ ๗ หลังคาเรือนแต่ไม่มีผู้เสียชีวิตในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ มีเงิน
ปรกึ ษาหารอื และตกลงการในการรวมกลมุ่ จดั ตง้ั หมบู่ า้ นทบศอก กองทุนเงินล้านเข้ามาในหมู่บ้านเพ่ือให้ชาวบ้านน�ำไป
ขน้ึ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการซงึ่ ในการรวมกลมุ่ ทางการเกษตรและใช้มาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ.๒๕๕๑
ชุมชนคร้ังน้ีได้ข้ึนการปกครองร่วมกับหมู่บ้านห้วยขาน เกดิ วกิ ฤตผลผลติ ทางการเกษตร ได้แก่ขา้ ว กระเทียม พรกิ
โดยในขณะนน้ั มี นายจนิ ตา เพชรพงษ์ เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ นหว้ ยขาน ในด้านราคาตกต่�ำ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๕๒ มีการก่อตั้ง
ต่อมาเม่ือมีการรวมตัวของชาวกะแยและได้มี โรงสีข้าวชุมชนข้ึน ปี พ.ศ.๒๕๕๕ มีการจัดตั้งกองทุนแม่-
การส่งข่าวไปยังชาวกะแยในท่ีต่างๆ เช่น กะเหร่ียงแดง ของแผน่ ดนิ และในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๕๗ มีการกองทนุ และ
ศูนย์ปางตอง บ้านห้วยผึ้ง บ้านห้วยโป่งอ่อน หย่อมบ้าน โครงการ ได้แก่ โครงการกองทุนผสู้ งู อายุกองทนุ กลุ่มสตรี
ห้วยหมากขี เมื่อทราบข่าวได้มีการอพยพเข้ามารวมตัวกัน
จำ� นวนมากทำ� ใหม้ ปี ระชากรเพมิ่ ขนึ้ และมจี ำ� นวนครวั เรอื น อาณาเขตติดตอ่
เพิ่มขึ้นประมาณ ๓๐ ครัวเรือน ท�ำให้ทางราชการจึงได้มี
การจดั ตงั้ หมบู่ า้ นทบศอกขึ้น ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั หมบู่ า้ นนาปา่ แปก
ปีพ.ศ.๒๕๓๒ไดม้ กี ารจดั ตง้ั โรงเรยี นการศกึ ษานอกระบบ หมู่ ๔ ตำ� บลหมอกจำ� แป่
ข้ึนซ่ึงเป็นโรงเรียนส�ำหรับผู้ใหญ่และได้ถูกยุบไปเม่ือ ทิศตะวนั อออก ติดตอ่ กบั หมู่บา้ นห้วยขาน
ปี ๒๕๔๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ หมบู่ า้ นเรมิ่ มีไฟฟ้าใชใ้ นการทำ� หมู่ ๓ ต�ำบลหมอกจำ� แป่
กิจกรรมต่างๆในชีวิตประจ�ำวันและในปีพ.ศ. ๒๕๓๘ ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั หมบู่ ้านนาปลาจาด
ชาวบ้านมีประปาภูเขาใช้ ซึ่งก่อนหน้านั้นชาวบ้านได้ใช้น้�ำ หมู่ ๔ ต�ำบลห้วยผา
จะลำ� หว้ ยแมส่ ะงา และนำ�้ บอ่ และในปเี ดยี วกนั มโี รคระบาด ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั พระต�ำหนักปางตอง
ขน้ึ ในกระบอื ซง่ึ ไมท่ ราบแนช่ ดั วา่ เปน็ โรคอะไรทำ� ใหก้ ระบอื
ลม้ ตายกวา่ รอ้ ยตวั ทำ� ใหช้ าวบา้ นเรม่ิ ขายกระบอื ทเ่ี หลอื จนหมด ทรัพยากรธรรมชาติ
ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ มีการจัดต้ังโรงผลติ ไฟฟ้าขึ้นซึง่ เป็นโรงผลิต
ไฟฟา้ ด้วยพลังงานนำ้� จากแมน่ �ำ้ แมส่ ะงาและมกี ารกอ่ สร้าง แตก่ อ่ นชาวกะแยบา้ นทบศอกประกอบอาชพี ทำ� นา
อ่างเก็บน�้ำขึ้นเพื่อน�ำไปใช้ส�ำหรับผลิตกระแสไฟฟ้า ต่อมา ขั้นบันได อาศัยแม่น้�ำแม่สะงาประกอบ ท�ำนา อุปโภค
บรโิ ภค ใชก้ ระบอื ไถนา ใชแ้ รงงานคนในการทำ� นา เกย่ี วขา้ ว
ปลกู ขา้ ว สภาพถนนเปน็ ดนิ แดง ลำ� ธารแมส่ ะงาอยหู่ า่ งไกล

๓ ข้อมูลสรุปเวทเี ก็บขอ้ มลู ชมุ ชน โครงการวจิ ยั วนั ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๒ บา้ นทบศอก

ขอ้ มลู กล่มุ ชาตพิ ันธุ์กะแย(กะเหรี่ยงแดง) จังหวัดแม่ฮ่องสอน 17

จากบา้ นเรือน ๓๐๐ เมตร ชาวบา้ นตอ้ งน้ำ� ขันน�้ำไปตกั น�ำ้ แหล่งน�้ำใช้ และประปาของชุมชน แหล่งน�้ำเพื่อ
เพอื่ บรโิ ภค ตอ่ มาสภาพเศรษฐกจิ พฒั นา การประกอบอาชพี การเกษตรได้แก่ แม่น�้ำแม่สะงี แม่น�้ำแม่สะงาและล�ำห้วย
ชาวกะแยยังคงท�ำนาข้ันบันได ในบางครัวเรือน ไม่มีท่ีนา ตา่ งๆ สว่ นนำ�้ เพอื่ การอปุ โภคบรโิ ภคในครวั เรอื นไดจ้ ากการ
เป็นของตนเอง ต้องรับจ้างรายวันจากชนเผ่าม้ง เช่น ประปาหมบู่ า้ นผา่ นฐานกรองนำ�้ ถงั เกบ็ นำ้� ฝนบอ่ นำ้� ดมื่ และ
รับจา้ งปลูกกะหล่�ำปลี รบั จา้ งไถ่นาดว้ ย เครื่องจกั ร เป็นต้น จากน�้ำบรรจุส�ำเร็จรปู
ในด้านการคมนาคมทางชุมชนมีการพัฒนามากข้ึน ถนน เศรษฐกิจของชุมชนประชากรบ้านทบศอกร้อยละ
ลาดยางด้วยคอนกรีต สะดวกต่อการเดินทางอย่างมาก ๗๐ ประกอบอาชีพหลกั คอื เกษตรกรรม ได้แก่ การทำ� นา
ในด้านการบริโภคแต่ละบ้านเรือนได้ต่อน�้ำเข้าสู่ครัวเรือน ท�ำสวนท�ำไร่ และเล้ียงสัตว์ ในชุมชนมีพืชเศรษฐกิจเป็น
สะดวกในการใช้สอยบริโภคอย่างมากจวบจนปัจจุบัน สนิ คา้ สง่ ออกทส่ี ำ� คญั คอื กระเทยี ม ถวั่ เหลอื ง พรกิ กะเหรยี่ ง
ชาวกะแยมคี วามเชอื่ ในการทางศาสนาเรอ่ื งการเลย้ี งหวั แมน่ ำ�้ ท่ีเหลือเป็นอาชีพอ่ืน ๆ เช่น ค้าขาย รับจ้าง รับราชการ
ทกุ ปี ประกอบพธิ ีปลกู ต้นธปี ลี ะคร้ัง ตามความเชอ่ื ลกู จา้ งของหนว่ ยงานและลกู จา้ งรฐั วสิ าหกจิ และรายไดจ้ าก
การหาของป่า
สภาพภูมิประเทศ ประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนบ้านทบศอกมี
ประเพณีวัฒนธรรมที่ส�ำคัญและมีความโด่นเด่นเป็น
อากาศจากสภาพภมู ิอากาศสว่ นใหญ่เปน็ ภเู ขาสลบั ประเพณีที่มีการสืบทอดจากบรรพบุรุษและเป็นประเพณี
ซับซ้อนและมีป่าไม้น้อยใหญ่ท�ำให้มีฝนตกชุบในฤดูอากาศ ดงั้ เดมิ ความเชอ่ื ของชาวกะแย ไดแ้ ก่ ประเพณงี านวนั ขน้ึ ปใี หม่
ท่ัวไปดูฝนท�ำให้มีฝนตกชุกในฤดูฝนอากาศทั่วไปจะเย็น ซึ่งจะช่วงเดือนมกราคม ประเพณีท�ำบุญให้แก่ผู้ล่วงลับ
สบายแต่อากาศจะร้องในช่วงเดือนมีนาคมถือพฤษภาคม หรือคนตาย ช่วงเดือนมกราคม ถึงมีนาคม ประเพณี-
เพราะเปน็ พน้ื ทใี่ นหบุ ขาวสว่ นในฤดหู นาวจดั หนาวเยน็ มาก ปอยตน้ ทีใหญจ่ ะช่วงเดือนเมษายน ประเพณีปอยต้นทีเล็ก
ในช่วงเดือนธันวาคมถือกุมภาพันธ์ส่วนในพืชท่ีสูงจะหนาว เดอื นกันยายน ประเพณีปอยขา้ วต้มจดั ชว่ งเดอื นกันยายน
เยน็ ตลอดทง้ั ปแี ละหนาวจดั ในฤดูหนาว และ ๕ ประเพณปี ใี หมว่ นั ครสิ ตม์ าสเดอื นธนั วาคม ในชมุ ชน
ชาวบ้านนับถือศาสนาคริสต์ร้อยละ ๗๕ และศาสนาพุทธ
จำ� นวนประชากร ๒๕ เปอร์เซน็ ต์ ส่วนภาษาทอ้ งถ่ินท่ชี าวบา้ นพดู คยุ สอื่ สาร
จะใช้ภาษากะแย เปน็ หลัก
หมูบ่ า้ นทบศอก มีจ�ำนวนประชากรทง้ั ส้นิ ๒๔๓ คน ชาวกะแย บ้านทบศอกนับถือผี หมายความว่า
เป็นชายจำ� นวน ๑๑๗ คน เพศหญงิ จ�ำนวน ๑๒๖ คน มี นับถือบรรพบุรุษ โดยมีพิธีเลี้ยงเจ้าท่ี เจ้ากรรมนายเวร
จ�ำนวนหลังคาเรือน ๖๕ ครัวเรือน ให้แก่บุคคลที่ล่วงลับไปโดยการเชือดไก่ และท�ำนาย
การปกครองบ้านทบศอก มีการปกครองตามแบบ ความเป็นอยู่โดยมีผู้น�ำในการประกอบพิธีกรรมของชุมชน
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น คือ ผู้ใหญ่บ้านช่ือนายเผ่ ในแตล่ ะชมุ ชน ในการทำ� พธิ นี นั้ ผนู้ ำ� ในการประกอบพธิ กี รรม
จรรยากิตติผล ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านนายส่อ จรรยาอารามกุล จะเป็นคนเลือกไก่ท่ีจะท�ำพิธีเชือดไก่ตัวนั้นใช้กระดูกไก่
และนายเอกภูมิ จรรยาดารา และมีสมาชิกองค์การ ตรงน่องเสียบไมข้ นาดเล็กตามรกู ระดกู นอ่ งไก่ เพ่อื ทำ� นาย
บริหารส่วนต�ำบล ได้แก่ นายวันชัย คีรีอารามรัศมี และ ความเป็นอยู่ สภาพอากาศ การประกอบพิธีข้างต้น
นายนิติพันธ์ ชอบขนุ เขา เป็นการประกอบในทุกประเพณีในชาวกะแยที่นับถือผี
ระบบโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนการคมนาคม ซงึ่ จะมีประเพณหี ลัก ๒ ประเพณี คือ ประเพณปี อยต้นที
ตัวใหญ่เป็นถนนคอนกรีตและถนนลาดยางทานในหมู่บ้าน ประเพณปี อยขา้ วตม้
และในหมูบ่ ้านระหวา่ งหมูบ่ ้าน
สาธารณปู โภคสาธารณปู โภคมกี ารไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าค
เข้าถึงทุกหลังคาเรือนประชาชนมีไฟฟ้าใช้ร้อยละ ๑๐๐%
การคมนาคมสะดวกมที ที่ �ำการไปรษณีย์อนุญาต ๑ แหง่

18 ข้อมลู กลุ่มชาติพันธุ์กะแย(กะเหรยี่ งแดง) จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

บรบิ ทชมุ ชนบา้ นหวั ยผ้ึง๔

ประวัตคิ วามเปน็ มา ขอรถแทรกเตอรม์ าปรบั พนื้ ทใ่ี หเ้ หมาะสม ในการปลกู สรา้ ง
อาคาร สถานที่ต่าง ๆ ต่อไป เดิมเส้นทางนี้เป็นทางดิน
หมู่บ้านหว้ ยผึ้ง หมู่ท่ี ๓ ตำ� บลหว้ ยผา อำ� เภอเมือง กวา้ งประมาณ ๓ - ๔ เมตร เปน็ เสน้ ทางของจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน
จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอนเปน็ ชมุ ชนกะแย (กะเหรย่ี งแดง) กอ่ ตง้ั ต่อมากรมทางหลวงได้รับมาด�ำเนินการก่อสร้างตาม
มาประมาณ ๔๕ ปี (เริม่ ก่อตงั้ ปี พ.ศ ๒๕๑๔) ในอดีตชมุ ชน โครงการพระราชดำ� รเิ มื่อวนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๒๘
บ้านห้วยผ้ึงอาศัยอยู่ บ้านห้วยมะขี ต�ำบลหมอกจ�ำแป่ จนแล้วเสร็จในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ และรับเป็น
อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปีพ.ศ. ๒๕๐๘ โดยมี ทางบำ� รงุ ของกรมทางหลวงเมอื่ วนั ท่ี ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๙
นายสอ่ รกั ไทย เปน็ ผนู้ ำ� ทางการ และไดย้ า้ ยมากระจดั กระจาย มีสภาพเป็นทางลูกรังและลาดยางบางช่วง คันทางกว้าง
อยู่ท่ีหมู่บ้านห้วยผึ้ง และบ้านคาหาน โดยมีครอบครัว ๖ เมตร ภายหลงั ไดม้ กี ารลาดยางเพมิ่ เตมิ เปน็ ตอนๆ ในชว่ งปี
ของนายตู นายแซะ นายแหม่ และนายมี อยู่ตรงกลาง พ.ศ. ๒๕๒๗ – ๒๕๔๑ จนเปน็ ผวิ ลาดยางตลอดท้ังเส้นทาง
ติดห้วยคาหาน จากน้ันครอบครัวเหล่าน้ีได้มาอยู่รวมกันที่ ได้มกี ารก่อสรา้ งวัดข้นึ มา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ มกี ารยกฐานะ
บา้ นหว้ ยผง้ึ และไดก้ อ่ ตงั้ หมบู่ า้ นหว้ ยผง้ึ ขนึ้ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ เปน็ โรงเรยี นประถมศกึ ษา ปจั จบุ นั มนี ายถวลิ วงศ์ ปนิ นะสา
เหตทุ ใ่ี ชช้ อื่ วา่ หมบู่ า้ นหว้ ยผงึ้ เพราะวา่ สมยั นนั้ มผี ง้ึ มาทำ� รงั เป็นผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นบา้ นหว้ ยผงึ้
เป็นจ�ำนวนมากมาท�ำรังประมาณ ๖๐ รัง จึงเรียกชื่อว่า ปัจจุบันมีนายสุชาติ งามประพฤติ เป็นผู้ใหญ่บ้าน
บ้านห้วยผึ้ง โดยมีนายส่อ รักไทย เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก จากการได้รับเลือกเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๕๕๐ ได้มีการพัฒนา
มีหลงั คาเรือนประมาณ ๒๘ หลงั คาเรือน ในปพี .ศ. ๒๕๑๖ ประเพณตี า่ ง ๆ ของชาวกะแย (กะเหรยี่ งแดง) เชน่ ประเพณี
ได้มกี ารเปล่ยี นผ้ใู หญ่บ้านคนใหมค่ อื นายหม้ี รักไทย และ ปอยตน้ ที ปอยขา้ วตม้ มดั ประเพณกี ารเลยี้ งผตี น้ นำ้� เพอื่ ให้
ได้ก่อต้ังโรงเรียนข้ึนเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๖ โดยมีครูแปล ผลผลิตข้าวท่ีดี ส�ำหรับการคมนาคมเดินทางสู่เข้าจังหวัด
ปราสาทดียง่ิ เป็นครู คนแรก ตอ่ มามคี รปู ระชาสงเคราะห์ ได้สะดวกถนนลาดยางตลอดสายประมาณ๓๕ กิโลเมตร
มาชว่ ยสอนหนังสือ ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ มคี รกู ศน. มาสอนแทน ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐ นาที สามแยกทงุ่ มะสา้ น ตดั ทางหลวง
ครทู ่ลี าออกไปในปนี น้ั เดิมทีพ้ืนท่ีบริเวณโรงเรยี น เปน็ เขต แผ่นดินหมายเลข ๑๐๙๕ เป็นถนนขนาด ๒ ช่องจราจร
ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ซงึ่ การดำ� เนนิ การตา่ ง ๆตดิ ขดั ขอ้ กฎหมาย ไป-กลับ ระยะทาง ๑๕.๐๐๐ กิโลเมตร ผิวทางลาดยาง
ของกรมปา่ ไม้ เกดิ ความยงุ่ ยากในการปลกู สรา้ งอาคารตา่ งๆ อยใู่ นความดแู ลของแขวงการทางแมฮ่ อ่ งสอน สำ� นกั ทางหลวง
ทางโรงเรียน ชาวบ้าน ต�ำรวจตะเวนชายแดน ๓๓๖ และ ท่ี ๑ (เชยี งใหม)่ กรมทางหลวง เสน้ ทางแยกจากทางหลวง
คณะครูกลุ่มหมอกจำ� แป่ นายหมี้ รักไทย ตำ� แหน่งผใู้ หญ่- แผ่นดินหมายเลข ๑๐๙๕ บริเวณกิโลเมตรที่ ๑๘๘.๑๒๕
บ้านห้วยผ้ึง นางสาวสุดานี ค�ำดี ครูอาสาสมัคร สังกัด ดา้ นขวาทาง (มงุ่ หนา้ ตวั เมอื งแมฮ่ อ่ งสอน) ทห่ี มบู่ า้ นหว้ ยผา
การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดแม่ฮ่องสอน นายวิจิตร ใกล้กับถ�้ำปลา (ท่ีท�ำการอุทยานแห่งชาติถ้�ำปลา-น�้ำตก
รัตนอารยธรรม ครูศูนย์สงเคราะห์ชาวเขา สังกัด ผาเสือ่ ) เลียบฝงั่ ซ้ายของล�ำนำ้� แมส่ ะงี ผา่ นบ้านทงุ่ มะสา้ น
กรมประชาสงเคราะห์ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน รว่ มปรกึ ษาหารอื กนั บา้ นนาปลาจาด บา้ นทงุ่ คาหาร ไปสนิ้ สดุ เสน้ ทางทบ่ี า้ นหว้ ยผง้ึ
ได้ขอ้ สรปุ ให้ด�ำเนินการขออนุญาตจาก กรมป่าไม้ เพือ่ ขอ ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข ๑๒๘๕ [แยกทางหลวง
ใชพ้ น้ื ทใี่ นการจดั ตง้ั โรงเรยี นของหมบู่ า้ นหว้ ยผงึ้ ทางกรมปา่ ไม้ หมายเลข ๑๐๙๕ (ทุง่ มะส้าน) - หว้ ยผึง้ เปน็ ทางหลวงแผน่
โดยเจา้ หนา้ ทป่ี า่ ไม้ ไดน้ ำ� เรอื่ งการขออนญุ าตใชพ้ นื้ ทมี่ าแจง้ ดินในพ้ืนท่ีต�ำบลห้วยผา อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ยังโรงเรียนว่า ทางกรมป่าไม้อนุญาตให้ใช้พ้ืนท่ีเพ่ือ ระยะทาง ๑๕ กิโลเมตร แยกจากทางหลวงแผ่นดิน
ประโยชน์ทางการศึกษาได้ ทางโรงเรียนจึงได้ขอความ หมายเลข ๑๐๙๕ (ถนนแมม่ าลยั -ปาย) เขา้ สหู่ มบู่ า้ นในพน้ื ที่
อนุเคราะห์ไปยังกรมทางหลวงชนบทจังหวัดแม่ฮ่องสอน ชายแดนไทย-พมา่ (รฐั ฉาน) จนสนิ้ สดุ เสน้ ทางทบ่ี า้ นหว้ ยผงึ้

๔ ข้อมลู หมูบ่ ้าน องค์การบริหารสว่ นตาบลห้วยผา, งานวจิ ัยอาหารจากปา่ (ผึง้ ) ปี ๒๕๖๒

ข้อมลู กล่มุ ชาตพิ นั ธุ์กะแย(กะเหร่ียงแดง) จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน 19

ปัจจุบันเส้นทางนี้ได้มีการก่อสร้างทางหลวงชนบท ประเทศไทยยงั ไมใ่ หค้ วามสำ� คญั กบั การอนรุ กั ษ์ ผงึ้ พนื้ เมอื งไว้
เพ่ิมเติม เพอื่ ตอ่ ขยายเส้นทางจาก บา้ นห้วยผ้งึ ผา่ นพื้นท่ี เพ่ือผสมเกสรในพืชเศรษฐกิจมากนัก ส่งผลให้ผึ้งมีจ�ำนวน
อุทยานแห่งชาติถ้�ำปลา-น้�ำตกผาเส่ือไปยังจุดผ่อนปรน น้อยลงทกุ ปี เน่ืองจากการตดั ไม้ เผาปา่ การใช้ยาฆา่ แมลง
บ้านห้วยผ้ึง ที่ชายแดนประเทศพม่า บริเวณเขตเมืองปั่น และตัดรังผึ้งมาขายโดยตีรังผ้ึงมิ้มและผ้ึงหลวงท่ีเป็น
ในแขวงลอยแหลม รัฐฉาน ซ่ึงได้เปิดตลาดร่องแห้งเป็น ผลิตภัณฑ์จากป่า ชาวบ้านที่อาศัยอยู่กับป่าหรือมีพื้นท่ี
ตลาดนัดการค้าชายแดนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๑๕ หมบู่ ้านอยูใ่ กล้ปา่ จะตผี งึ้ ป่าขายเพือ่ เพิ่มรายได้
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ถือเป็นช่องทางการค้าชายแดน
ท่สี ำ� คัญ ๑ ใน ๒ แห่งของจังหวดั แม่ฮอ่ งสอน ท่ตี ้งั

ที่มาของกอ่ ต้ังชื่อหมบู่ ้าน ชุมชนบ้านห้วยผ้งึ หมู่ ๓ ตำ� บลห้วยผา อ�ำเภอเมอื ง
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ต้ังชุมชนอยู่ห่างจากตัวเมือง
หมู่บ้านห้วยผึ้งมีประวัติศาสตร์การต้ังถิ่นฐานของ แมฮ่ ่องสอน เสน้ ทางหลวงหมายเลข ๑๐๙๕ ประมาณ ๓๕
หมบู่ า้ นทมี่ คี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ผง้ึ ปา่ ในหมบู่ า้ นลอ้ มดว้ ยภเู ขา กิโลเมตร ตง้ั อยู่ทางอย่ทู างทิศเหนอื ของตำ� บลห้วยผา หา่ ง
ทำ� ใหเ้ ปน็ หมบู่ า้ นกลางหบุ เขามสี ภาพความเปน็ ปา่ ผง้ึ และมี จากส�ำนักงานองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยผาประมาณ
ความอุดมสมบูรณ์ของป่ามีความหลากหลายทางชีวภาพ ๒๕ กิโลเมตร ใชเ้ วลา ในการเดนิ ทาง ๔๕ นาที
ในอดีตและปัจจุบันหมู่บ้านห้วยผ้ึงมีรายได้จากการข้ึนหา
น�้ำผง้ึ ปา่ ไม่ต่�ำกว่าครวั เรือนละ ๔ หม่ืนบาทตอ่ ป(ี พรานผงึ้ ) อาณาเขตติดตอ่
น้�ำผึ้งป่าในหมู่บ้านห้วยผ้ึงมีชื่อเสียงด้านน้�ำผ้ึงแท้ แต่ละปี
จะมีพ่อค้ามาจับจองรับซ้ือถึงพ้ืนท่ีในขวดละ ๒๕๐ บาท ทิศเหนอื ติดตอ่ กบั สหภาพพม่า
ในขอบเขตหมู่บ้านห้วยผ้ึงมีป่าผ้ึงที่มีความอุดมสมบูรณ์ ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั เขตบ้านคาหาน
มกี ารดแู ลอนรุ กั ษร์ กั ษาปา่ ชมุ ชนทผ่ี ง้ึ ปา่ อยอู่ าศยั เพราะเปน็ ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั เขตอำ� เภอปางมะผ้า
แหล่งผลิตน้�ำผ้ึงป่า เป็นผลผลิตจากป่าท่ีสร้างมูลค่าให้กับ ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั เขตบา้ นรกั ไทยและสหภาพพมา่
ชุมชน
นอกจากน้ีผึ้งป่ายังมีบทบาทส�ำคัญในระบบนิเวศ เนอื้ ที่
ของชมุ ชน คอื ทำ� หนา้ ทถ่ี ่ายละอองเกสร แกพ่ ืชในกจิ กรรม
การส�ำรวจและหาอาหารจากพืชชนิดต่างๆ ท�ำให้ช่วยเพ่ิม ชุมชนบ้านห้วยผ้ึง มีพื้นท่ีรับน้�ำในต�ำบล ๖๑.๐๒
ผลผลิตของพืชผลทางการเกษตรและท�ำให้พืชที่ได้รับ ตารางกิโลเมตร หรือ ๘,๖๓๗.๕ ไร่ มีความสูงจาก
การผสมพนั ธจ์ุ ากการถา่ ยละอองเกสรแพรพ่ นั ธต์ุ อ่ ไปไดแ้ ละ ระดบั น�ำ้ ทะเลปานกลาง ตง้ั แต่ ๔๐๐ เมตร ข้นึ ไป
มีความหลากหลายมากขึ้น ซึ่งผ้ึงจะหาอาหารจากพืชโดย
การเก็บน�้ำหวานและเรณูซึ่งถือเป็นแหล่งอาหารท่ีเป็น อาชพี
คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน ที่ส�ำคัญท่ีใช้ในการด�ำรงชีวิต
ผึง้ ไมไ่ ดเ้ กบ็ นำ้� หวานและเกสรจากดอกไม้ทุกชนดิ ถึงแม้วา่ ชาวบ้านชุมชนบ้านห้วยผึ้งมีอาชีพหลัก คือ
ดอกไมเ้ หลา่ นน้ั จะประกอบไปดว้ ยนำ้� หวานและเกสรกต็ าม การท�ำนา ท�ำสวน และท�ำไร่ ส่วนอาชีพเสริม ท่ีเป็น
ดังน้ันพืชท่ีเป็นกลุ่มอาหารของผ้ึงจะมีความส�ำคัญต่อ รายไดห้ ลกั ในครวั เรอื น คอื การรบั จา้ งกอ่ สรา้ ง รบั จา้ งทวั่ ไป
แหล่งอาหาร ที่ผ้ึงน�ำไปใช้ในการเจริญเติบโตตลอดจน
เกบ็ สะสมในรปู นำ้� ผง้ึ ซง่ึ ถอื เปน็ ผลติ ภณั ฑผ์ ง้ึ ทมี่ คี วามสำ� คญั ลักษณะภมู ิประเทศ
มากชนิดหนึ่ง และน�ำไปเป็นแหล่งวัตถุดิบในกลไกการ
ท�ำงานของร่างกายเพื่อใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่นของผึ้ง พน้ื ทสี่ ว่ นใหญข่ องบา้ นหว้ ยผง้ึ เปน็ ภเู ขาสลบั ซบั ซอ้ น
แม้ประเทศไทยมีการส่งเสริมการเล้ียงผึ้งมากขึ้น แต่ พ้ืนที่ด้านทิศเหนือ และทิศตะวันตก ติดชายแดนประเทศ
พม่ามีพ้ืนท่ีป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายของ
พืชพรรณ และสัตว์ป่านานาชนิดซ่ึงเป็นแหล่งต้นน�้ำ และ
เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ มแี มน่ ำ้� สายสำ� คญั ไดแ้ ก่ แมน่ ำ�้ หว้ ยผงึ้
และล�ำห้วยสาขาอีกหลายสายที่มีต้นก�ำเนิดจากยอดเขา
ไหลรนิ มาหลอ่ เลยี้ งทกุ ชวี ติ ในชมุ ชน มถี ำ้� และนำ้� ตกทสี่ วยงาม

20 ข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์กะแย(กะเหรี่ยงแดง) จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน

ดว้ ยความสมบรู ณข์ องระบบนเิ วศตามธรรมชาติทำ� ใหย้ อดดอย หน่วยธุรกิจในเขตชมุ ชน ๓ แห่ง
ถกู ปกคลมุ ดว้ ยเมฆหมอกตลอดทง้ั ปี เกดิ ทศั นยี ภาพทงี่ ดงาม - โรงส ี
มแี หล่งทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาติท่สี �ำคญั ได้แก่ น�ำ้ ตก และ - รา้ นขายของช�ำ ๘ แห่ง
ถ�ำ้ ผา - ป๊มั น�้ำมัน ๒ แหง่ (ปั๊มหลอด)

ลักษณะภูมอิ ากาศ การศกึ ษา

สภาพอากาศโดยทัว่ ไปของพนื้ ที่ชุมชน แบง่ เป็น ๓ จากการส�ำรวจข้อมูลความจ�ำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
ฤดกู าล ดงั น้ี พบวา่ ประชากรสว่ นใหญ่ในชุมชน อ่านออก- เขียนได้ ส่วน
๑) ฤดฝู น ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ผู้ที่อา่ นไมอ่ อกและเขยี นไม่ได้ มปี ระมาณร้อยละ ๔๐ ของ
ซ่ึงพักจากอ่าวเบงกอลและ อ่าวไทยพัดพาเอาความชุ่มช้ืน ประชากรทั้งหมด เนื่องด้วยลักษณะพ้ืนที่ภูมิประเทศเป็น
มาท�ำให้เกิดฝนตกระหว่างเดือนมิถุนายน - เดือนตุลาคม ปา่ เขาอยหู่ า่ งไกล ฐานะทยี่ ากจน อกี ทง้ั ยงั มอี าณาเขตตดิ ตอ่
โดยฝนจะตกชกุ ประมาณเดือนสิงหาคม กบั ประเทศพมา่ ท�ำให้มชี นกลุ่มนอ้ ย อพยพเขา้ มาอาศยั อยู่
๒) ฤดูหนาว ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวันออก ในพื้นที่ และเป็นคนไร้สัญชาติท�ำให้ขาดโอกาส ทางการ
เฉยี งเหนอื ทพ่ี ดั จากประเทศจนี นำ� เอาความหนาวเยน็ และ ศึกษาไปด้วย สถาบันการศึกษาในชุมชนมีโรงเรียนระดับ
ความแห้งแล้งสู่แผ่นดินระหว่างเดือนพฤศจิกายน - เดือน ประถมศึกษา ๑โรงเรียน (โรงเรียนบา้ นห้วยผ้ึง)
กมุ ภาพนั ธ์ซง่ึ อากาศ จะหนาวจดั หมอกหนา ในช่วงเดอื น
มกราคม อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ในชว่ งฤดหู นาวอยรู่ ะหวา่ ง ๑๐ -๑๙ การบรกิ ารพืน้ ฐาน
องศาเซลเซยี ส ในช่วงกลางวนั แดดจา้ อากาศร้อน ๑. การคมนาคม ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข๑๐๙๕
๓) ฤดรู อ้ น อยูใ่ นชว่ งระหว่างเดอื นมนี าคม – เดือน (แม่ฮ่องสอน - ปาย) เป็นถนนลาดยางแอสฟัลท์ติก
พฤษภาคม อุณหภูมิจะสูงสุด ในเดือนเมษายน ประมาณ เริ่มจาก ศาลากลางจังหวัดแม่ฮ่องสอน ไปทางทิศเหนือ
๓๙ - ๔๐ องศาเซลเซยี ส ผา่ นอำ� เภอปางมะผา้ และอำ� เภอปาย ตามลำ� ดบั เปน็ เสน้ ทาง
ท่ีใช้ติดต่อระหว่างตัวเมืองแม่ฮ่องสอน - อ�ำเภอปางมะผ้า
การปกครอง – อ�ำเภอปาย กบั ชุมชนในพน้ื ที่ใกลเ้ คียง
๒. ทางหลวงชนบท เปน็ เสน้ ทางสายหลกั เปน็ ถนน
ชมุ ชนบา้ นหว้ ยผง้ึ แบง่ เขตการปกครองออกเปน็ ๑ คอนกรีตเสริมไม้ไผ่ ซ่ึงเส้นทางดังกล่าวจะใช้งบประมาณ
หม่บู ้าน กับอีก ๒ หยอ่ มบ้าน ดังน้ี ได้ บ้านหว้ ยผึ้ง ,บา้ น ขององค์การบรหิ ารส่วนตำ� บลหว้ ยผา
ห้วยทรายขาว และบา้ นตนี ดอย ๓. การโทรคมนาคม โทรศพั ท์เคล่อื นทส่ี ว่ นบุคคล
ซ่ึงให้บริการในหมู่บ้าน เนื่องจากโทรศัพท์สาธารณะ
ประชากร ใชก้ ารไม่ได้
๔. แหล่งน้�ำธรรมชาติ ชุมชนบ้านห้วยผ้ึงมีล�ำน้�ำ
ชุมชนบ้านห้วยผึ้ง มีประชากร จ�ำนวน ๒๐๔ สายส�ำคัญ คือ ล�ำน้�ำห้วยผึ้งและล�ำห้วยอีก ๔ สายซ่ึง
หลังคาเรือน รวมท้ังสน้ิ ๑,๐๘๐ คน แยกเปน็ ชาย ๕๗๐ คน ชาวบ้านได้ใชป้ ระโยชน์ทงั้ ทางด้านการเกษตร และอปุ โภค
เป็นหญงิ ๕๑๐ คน เปน็ ชาติพันธุด์ งั่ เดมิ คือกระเหรย่ี งแดง บรโิ ภค
หรือกะแย ๕. แหลง่ นำ�้ ทีส่ ร้างขึน้
๑. ฝายชะลอ ๕ แห่ง
อาชพี ๒. บอ่ น้�ำตืน้ ๑ แห่ง (ใชไ้ ม่ได)้
๓. อ่ืนๆ ประปาภเู ขา ๒ แหง่
ประชากรส่วนใหญ่ประมาณ ๙๐% ประกอบอาชพี
เกษตรกรรม และพืชท่เี พาะปลูกหลกั ในชมุ ชน ได้แก่ ขา้ ว ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
ถว่ั เหลอื ง กระเทยี ม งา ถวั่ แดง และไม้ผล ส่วนการเล้ยี ง
สตั ว์ ชาวบา้ นจะเลย้ี งหมพู นั ธพ์ุ นื้ เมอื ง ววั ไก่ ไวก้ นิ และขาย ทรพั ยากรดนิ สภาพโดยทว่ั ไปยงั มคี วามอดุ มสมบรู ณ์
หลังฤดกู าลเก็บเกี่ยวก็จะออกไปรับจา้ งนอกพื้นท่ี ทัง้ ในตวั
เมืองแม่ฮ่องสอน นิคมอุตสาหกรรมจังหวัดล�ำพูน และ
จังหวดั เชียงใหม่

ข้อมลู กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุกะแย(กะเหรยี่ งแดง) จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน 21

ปกคลุมไปด้วยต้นไม้และพืชพันธุ์นาๆชนิด โดยมีลักษณะ ตำ่� ลงมามลี กั ษณะเปน็ ปา่ เตง็ รงั และปา่ เบญจพรรณทยี่ งั คง
ที่แตกต่างกันออกไปตามสภาพป่า ในพ้ืนท่ีที่ราบเชิงเขา ความอุดมสมบูรณ์ มีทรัพยากรป่าไม้ที่ส�ำคัญ เช่น
ท่ีดอนและท่ีลาดชัน ชุมชนได้อาศัยพื้นที่ในการท�ำไร่ ไมก้ ฤษณา ไมส้ น ไมส้ ักทอง ไม้แดง ไม้พลวง ไมเ้ ตง็ ไมไ้ ผ่
ในท่ีราบลุ่มแม่น�้ำชุมชนได้อาศัยพื้นท่ีท�ำนาโดยส่วนใหญ่ นานาชนดิ เป็นต้น พ้ืนทีป่ า่ ตา่ งอยใู่ นเขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ป่า
เป็นชุดดิน๕๙,๒๙E คิดเป็นร้อยละ๕ ของพ้ืนท่ีต�ำบล สันปันแดน เขตอุทยานแห่งชาติถ�้ำปลา-ผาเสื่อ และ
และชุดดนิ ๖๒ เนื่องจากพน้ื ทส่ี ว่ นใหญม่ คี วามลาดชันเกิน ป่าสงวนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่ควบคุมและดูแล
๓๕ องศา คิดเป็นร้อยละ ๙๐ ของพื้นท่ี ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมในพื้นท่ชี ุมชน
ทรัพยากรน�้ำ พ้นื ท่ีบ้านห้วยผง้ึ มลี �ำน�้ำที่ส�ำคญั คือ ทรพั ยากรสตั วป์ า่ สตั วป์ า่ ชนดิ ตา่ ง ๆ มากมายหลาย
ลำ� นำ�้ หว้ ยผง้ึ ซง่ึ เปน็ ลำ� นำ�้ ขนาดเลก็ ทจ่ี ดั อยใู่ นสายนำ�้ สาขา ประเภทของสตั ว์เลี้ยงลูกดว้ ยนม ทีม่ มี ากไดแ้ ก่ หมูป่า เก้ง
ลุ่มน�้ำปาย ที่มีชุมชนอาศัยและใช้ประโยชน์ในพ้ืนท่ีลุ่มน�้ำ ลิง ค่าง ชะนี และสัตว์เล้ียงลูกด้วยนมหายาก ได้แก่หมี
หว้ ยผ้ึง จ�ำนวน ๙ ชุมชน ในบริเวณพืน้ ท่ีล่มุ นำ้� ของตอนบน เลยี งผา กวางผา กวางเปน็ ต้น นอกจากนี้ สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน
มีความหลากหลายของระบบนิเวศมากมาย และสัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบกชนิดต่าง ๆ สัตว์ป่าประเภท
ล�ำน้�ำห้วยผ้ึงไหลลงสู่แม่น้�ำปาย บริเวณป่าสัก นก ไดแ้ กไ่ ก่ปา่ ไกฟ่ า้ นกเงอื ก และนกชนิดต่าง ๆ มากมาย
นวมินทรราชินี ป่าลุ่มน้�ำปายฝั่งซ้าย และมีสัตว์ป่า และมสี ตั วท์ หี่ ายากประเภทนค้ี อื นกยงู บรเิ วณลำ� หว้ ยมสี ตั ว์
หลากหลายชนิด น�ำ้ จำ� พวกปลาหลายชนดิ กุ้งและปชู นิดหายาก นอกจากนี้
ทรัพยากรปา่ ไม้ ตามสภาพโดยท่ัวไปส่วนใหญ่เปน็ ยงั มีปรมิ าณของแมลงมากและหลากหลาย แสดงให้เหน็ ถงึ
พ้นื ทภี่ ูเขาสงู ท่ีเปน็ ปา่ ดิบเขา ร้อยละ ๑๐ ของพ้นื ที่ พืน้ ท่ี สภาพระบบนิเวศของเขตทม่ี ีความหลากหลายทางชวี ภาพ

โครงสร้างทางสงั คมชุมชนบ้านหว้ ยผึ้ง ต�ำแหน่ง

ตาราง : โครงสรา้ งองคก์ รชมุ ชนบ้านห้วยผง้ึ นายสชุ าติ งามประพฤติ
รายชือ่ นายแปล ปราสาทดีย่งิ
นางปรารถนา ไพรคงลือเดช
ผู้ใหญ่บ้านหว้ ยผึง้ นายบุญสง่ นามธรรมชาติ
ผูช้ ่วยผู้ใหญบ่ า้ นฝ่ายปกครอง ๑. นายสมบูรณ์ ไพรคงลือเดช
ผูช้ ว่ ยผู้ใหญ่บา้ นฝา่ ยพัฒนา ๒. นางสุพรรณี เกียรตยิ ิง่ สงา่
ผชู้ ว่ ยผู้ใหญบ่ า้ นฝา่ ยรกั ษาความสงบ
ตำ� แหนง่
สมาชกิ องค์การหารส่วนต�ำบล ประธาน
รองประธาน
ตาราง : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ� หมู่บา้ น (อสม.) เลขานุการ
รายชือ่ เหรัญญิก
สมาชกิ
๑. นายสุเมธ ครี นี ธิ ิโชติ สมาชิก
๒. นางเพญ็ ศรี หอมเที่ยงแท้ สมาชกิ
๓. นายพิพัฒน์ ขจรภทั รกุล
๔. นางอำ� ภา ประพายพนิ
๕. นายสมศกั ดิ์ ชยั สัจจานนท์
๖. นางปรศั นี ไพรคงลือเดช
๗. นางอไุ รวรรณ แผนทอง

22 ขอ้ มลู กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์กะแย(กะเหรยี่ งแดง) จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน ตำ� แหนง่
สมาชกิ
รายชื่อ สมาชิก
๘. นางผอ่ งศรี ไพรทรัพย์ลอ้ ม สมาชกิ
๙. นางแปรโหม่ จงอมรรัตน์ สมาชกิ
๑๐. นางชลษิ า นาคสืบวงค์
๑๑. นางโสภี ปราสาทดียง่ิ ต�ำแหน่ง
๑๒. กรรมการ ๓ คน ประธาน
๑๓. สมาชกิ ๑๓ คน รองประธาน
เหรัญญกิ
ตาราง :แสดงกองทนุ เงนิ ลา้ นชมุ ชนบ้านห้วยผ้ึง เลขานกุ าร

รายช่อื ต�ำแหนง่
๑. นายชาญ คีรจี ริยะกิจ ประธาน
๒. นายบุญชว่ ย แผนทอง รองประธาน
๓. นางบญุ มี รัตนอารยธรรม เหรัญญิก
๔. นางซแู หมะ นามะรรมชาติ เลขานกุ าร
๕. กรรมการ ๔ คน
๖. สมาชิก ๖๗ คน ตำ� แหน่ง
ประธาน
ตาราง : แสดงกองทนุ น�้ำประปาชมุ ชนบ้านห้วยผงึ้ รองประธาน
รายชอื่ เหรัญญิก
เลขานกุ าร
๑. นายวิจิตต์ รัตนอารยธรรม
๒. นายสุชาติ งามประพฤติ
๓. นางจนั ทร์ฟอง ใฝ่ใจสมาธิ
๔. นางเพญ็ ศรี หอมเทย่ี งแท้
๕. กรรมการ ๓ คน
๖. สมาชิก ๙๕ คน

ตาราง : แสดงกองทนุ ฌาปนกิจบา้ นหว้ ยผงึ้
รายชื่อ

๑. นายวจิ ิตต์ รตั นอารยธรรม
๒. นายชู ทยานนทภ์ าคกลุ
๓. นางอำ� ภา ประพายพนิ
๔. นางอุไรวรรณ แผนทอง
๕. กรรมการ ๕ คน
๖. สมาชกิ ๙๒ คน

ขอ้ มลู กลมุ่ ชาติพันธ์ุกะแย(กะเหร่ียงแดง) จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน 23

ระบบสุขภาพบา้ นห้วยผึ้ง๕ ท่ีชาวบ้านสร้างขึ้นเอง เช่น กะหล�่ำปลี ฟักทอง ตะไคร้
มะรุม ชะอม บอน บวบ ถ่วั ฝักยาว แตงกวา
ระบบสขุ ภาพชุมชน ด้านส่ิงแวดล้อม ลักษณะบริบทของหมู่บ้าน
ระบบสุขภาพของชุมชนบ้านห้วยผึ้ง หมู่ ๓ ต�ำบล เปน็ พน้ื ทม่ี ปี า่ ไมอ้ ดุ มสมบรู ณ์ มแี หลง่ นำ้� เพยี งพอ ตอ่ การทำ�
หว้ ยผา อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั แมอ่ อ่ งสอนแบง่ ออกเปน็ ๔ ดา้ น เกษตรกรรม การที่ชาวบ้านจะมีสุขภาพดีปัจจัยส�ำคัญคือ
ดังน้ี สง่ิ แวดลอ้ ม แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คอื สงิ่ แวดลอ้ มดี เชน่
ดา้ นสถานบรกิ ารสขุ ภาพ ในหมู่บา้ นมสี ถานบริการ การมีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ชาวบ้านท�ำไร่
ดา้ นสขุ ภาพ หากมกี ารเจบ็ ปว่ ยเลก็ นอ้ ยจะทำ� การรกั ษาเอง หมนุ เวยี น มกี ารสขุ าภบิ าลทด่ี ี ไมม่ คี วนั พษิ จากโรงงาน และ
โดยปลอ่ ยใหห้ ายเองธรรมชาติ หากมอี าการเจบ็ ปานกลาง ประเภทท่ี ๒ คอื สิง่ แวดล้อมทไี่ มด่ ี เช่น การเผาป่า เผาขยะ
จะไปรกั ษาที่ สสช. หว้ ยผง้ึ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ท�ำให้เกิดมลพิษ ทางอากาศ การท้ิงขยะเรี่ยราด การฝัง
และหากยงั ไมห่ ายจะไปรกั ษาทร่ี พ.สต.บา้ นนาปลาจาด และ พวกเศษแก้วหรอื ตะปู
ในรายที่รุนแรงมาก ๆ จะเดินทางไปรักษาที่โรงพยาบาล
ศรสี ังวาล ซง่ึ จะดำ� เนินการตรวจวนิ ิจฉัยโรค และรักษาตาม ปฏทิ ินวถิ ชี ีวิตชาวบ้านบ้านห้วยผ้ึง๖
อาการ หากรายท่ีมีอาการหนักมากข้ันรุนแรง หรือไม่
สามารถรักษาได้ต้องใช้อุปกรณ์ที่มีความทันสมัยก็จะ ปฏทิ นิ ชมุ ชนดา้ นเศรษฐกิจ
ดำ� เนนิ การสง่ ตอ่ ทางโรงพยาบาลนครพงิ ค์ เพอื่ ใหป้ ระชาชน ปฏิทินกิจกรรมด้านเศรษฐกิจของหมู่บ้านห้วยผ้ึง
เข้าถึงบริการทางการแพทย์ท่ีมีประสิทธิภาพและมี อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอนพบว่าประชากรส่วนใหญ่
ความปลอดภยั ตอ่ ชวี ิต ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่นการปลูกข้าว ปลูกข้าวไร่
ด้านยา ยาที่มีการจ�ำหน่ายในชุมชนคือ ยาสามัญ ปลกู ถว่ั เหลอื ง ปลกู กระเทยี ม/ หอมแดง ปลกู ขา้ วโพด และ
ประจ�ำบ้าน เชน่ ร้านค้าขายของชำ� มี ๓ แหง่ มกี ารควบคุม การเลยี้ งหมู ไก่ ปลา ววั เพราะเปน็ อาชพี หลกั สามารถทำ� ได้
และจ�ำหนา่ ยโดยเจา้ ที่สาธารณสขุ ในพ้ืนท่ี อย่างต่อเน่ือง มี ตลอดทงั้ ปี
การควบคุมและตรวจสอบการจ�ำหน่ายยาประเภทรุนแรง เริ่มตั้งเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนประชาชนใน
และประเภทไม่มีทะเบียนสม่�ำเสมอ ยาด้านระบบบริการ หมู่บ้านส่วนใหญ่ท�ำการเตรียมพ้ืนท่ีส�ำหรับการเพาะปลูก
ชมุ ชนบ้านหว้ ยผงึ้ มี สถานบริการสาธารณสขุ ชมุ ชน ๑ แหง่ กระเทียม/หอมแดง และถั่วเหลือง และเก็บเกี่ยวในช่วง
โดยงบประมาณกระทรวงสาธารณสุข ยาตามกรอบยาใน ปลายเดือนเมษายน ต่อมาในช่วงเดือนพฤษภาคมถึง
ระบบของระดับ สสช. โดยมีแม่ข่ายคือโรงพยาบาล กนั ยายน เกษตรกรจะเรม่ิ ทำ� การเตรียมพ้ืนทโี่ ดยการกำ� จดั
ส่งเสรมิ สขุ ภาพตำ� บลบ้านนาปลาจาด มี ๒ ดา้ น ๑ ยาด้าน วัชพชื เชน่ เผาป่า เผาไร่ กอ่ นท่ฤี ดูฝนจะมาถงึ ในชว่ งนจี้ ะมี
แพทย์แผนปัจจุบัน ๒ ด้านแพทย์แผนไทย และยาด้าน เขม่าควันมากที่เกิดจากการก�ำจัดวัชพืชของเกษตรกร
ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ เชน่ ยาแก้ปวดหลัง ปวดเอว (พืชยดึ เอว) สง่ ผลทำ� ใหช้ าวบา้ นเกดิ อาการหายใจลำ� บาก บางครง้ั เขมา่ ควนั
ลักษณะต้นคล้ายกับ ใบบัว เรียวยาว น�ำมาต�ำแล้วต้มน้�ำ ลอยตกลงมาในท่ีอยู่อาศัยของชาวบ้าน และหากเจ้าของ
รอ้ นชงดื่ม อ่นื ๆ ทมี่ ใี นชุมชน บา้ นไมท่ ำ� ความสะอาด จะทำ� ใหบ้ า้ นเตม็ ไปดว้ ยเศษฝนุ่ อาจ
ด้านอาหาร ในหมู่บ้านชาวบ้านหาอาหารได้จาก สง่ ผลใหเ้ ดก็ มอี าการหายใจลำ� บากหรอื อาจเปน็ โรคหอบขนึ้
แหล่งอาหารธรรมชาติต่าง ๆตามฤดูกาล คือ ผัก เช่น ช่วงในเดือนพฤษภาคม-กันยายน ชาวบ้านจะเร่ิมข้าวโพด
ผกั กูด ผกั หวาน เหด็ ตา่ ง ๆ หน่อไม้ เผือก มัน สตั ว์ป่า เชน่ และเก็บเกี่ยวในเดือนสิงหาคม ช่วงเดือนมิถุนายนถึง
ก้งุ หอย เมน่ หมปู า่ ไกป่ า่ กบ เลียงผา ไผ่ ปลา ปู เปน็ ตน้ กนั ยายนชาวบา้ นจะเรมิ่ ปลกู ถว่ั เหลอื งและเกบ็ เกย่ี วในเดอื น
อาหารจากตลาด เช่นอาหารปรุงสุก อาหารขยะ เช่น กันยายน ซ่ึงในเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคมชาวบ้านใน
ขนมกรุบกรอบ เยลลี่ ลูกอม ขนมหวาน แหล่งอาหาร หมบู่ า้ นจะเตรยี มพน้ื ทใ่ี นการปลกู ขา้ วทงั้ ในนาและทำ� ขา้ วไร่
จะเรม่ิ ทำ� การเกบ็ เกยี่ วในเดอื นพฤศจกิ ายน จากนนั้ ชาวบา้ น

๕ ท่มี า ข้อมลู ฐานระบบสขุ ภาพ สานกั งานสาธารณสขุ บา้ นห้วยผง้ึ ปี ๒๕๕๙
๖ ทม่ี า ฐานข้อมูลของชุมชนโรงเรยี นบา้ นหว้ ยผ้งึ ปี ๒๕๕๘-๕๙

24 ข้อมลู กลมุ่ ชาติพนั ธ์ุกะแย(กะเหร่ยี งแดง) จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

ก็จะเตรียมพ้ืนท่ีส�ำหรับปลูกกระเทียมเป็นแบบน้ีตลอด เปน็ การแตง่ งานรอบสองหรอื เรยี กอกี อยา่ งวา่ “เมหมา่ ลอื ”
ทง้ั ปี ส่วนอาชพี หลักทชี่ าวบ้านส่วนใหญท่ �ำคือการเล้ียงหมู ในช่วงเดือนเมษายนจะเป็นการจัดประเพณีปอยต้นที
ไก่ ปลา และวัว สามารถทำ� ได้ตลอดทง้ั ปี ในชว่ งที่ชาวบ้าน เปน็ การจดั ประเพณหี ลงั จากทปี่ ระชาชนวา่ งจากการทำ� งาน
เริ่มท�ำการเพาะปลูกมีการใช้สารเคมี เพื่อต้องการผลผลิต เป็นการบูชาเทพเจ้าขอพรสิ่งศักดิ์สิทธ์ิให้คุ้มครองชาวบ้าน
ที่ดี แต่ผลกระทบท่ีเกิดจากสารเคมีส่งผลต่อสุขภาพ และหมบู่ า้ นใหส้ งบร่มเย็น ตอ่ มาในช่วงเดือนพฤษภาคมถงึ
โดยเฉพาะในเด็กหรือผู้สูงอายุ บางรายอาจถึงขั้นเสียชีวิต เดือนกันยายนในช่วงเวลาน้ีเป็นช่วงเวลาท่ีเกษตรกรจะ
หรือป่วยเปน็ โรคต่างๆ เป็นต้น ท�ำการเพาะปลูก ปัจจัยส�ำคัญที่สุดคือแหล่งน�้ำ จึงได้มี
ปฏทิ ินชุมชนด้านวัฒนธรรม๗ การจัดเล้ียงผีข้าว เป็นการขอส่ิงศักด์ิดูแลให้เกษตรกร
ปฏิทินกิจกรรมด้านวัฒนธรรมของหมู่บ้านห้วยผึ้ง มีผลผลิตท่ีดี และมีรายได้เพ่ิมมากขึ้น อีกท้ังเป็นการ
อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอนพบวา่ ชาวบ้านในหมบู่ ้านมี ขอให้คุ้มครองผู้ที่เข้าไปหาของป่า และช่วงเดือนกันยายน
วถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรม เรมิ่ ตง้ั แตเ่ ดอื นกมุ ภาพนั ธ์ จะเปน็ การ เป็นการจัดประเพณีปอยข้าวต้มในช่วงเวลาน้ีเป็นช่วงเวลา
จัดประเพณีเลี้ยงผีน�้ำ เชื่อกันว่าเป็นการขอสิ่งศักด์ิสิทธิ์ให้ ที่ใกล้วันออกพรรษา เป็นการต้อนรับผลผลิตในฤดูน้ัน
คุ้มครองชาวบ้านให้แหล่งน้�ำมีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอ ที่ท�ำการเพาะปลูก จะมีการท�ำข้าวต้มมัดห่อด้วยใบของ
ตอ่ การบรโิ ภคและใชส้ อย ในชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธถ์ งึ เมษายน ไมก้ วาดดอกหญ้ามลี ักษณะเปน็ ๓ เหลย่ี ม

ตาราง : แสดงปฏิทินการผลิตชุมชนบา้ นห้วยผึง้ ปี ๒๕๖๑

กิจกรรม ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

๑. ปลูกถ่ัวเหลือง / // ////
๒. ทำ� นา /////
๓. ปลูกข้าวโพด ///
๔. ปลูกกระเทยี ม //
๕. ปลกู งา // //
๖. ทำ� ไรข่ า้ ว ///
๗. เลยี้ งหมู ////////////
๘. เล้ยี งไก่ ////////////
๙. เลย้ี งปลา ////////////

ปลกู ถัว่ เหลือง จะปลูกเป็น ๒ ชว่ งคอื ปลกู ในทงุ่ นา และปลูกในสวน จะเริ่มถางหญ้าเตรยี มพนื้ ที่ตงั้ แตเ่ ดอื นมกราคม
ถ้าเป็นการปลูกในทุ่งนา แล้วเว้นช่วงหลังจากปลูกไว้ประมาณ ๒๐ – ๒๕ วันก็จะเร่ิมเอาหญ้าทิ้ง
และจะเก็บเก่ียวในปลายเดือนมีนาคมถึงเมษายน ถ้าปลูกในสวนก็จะคล้ายๆกัน แต่ช่วงเดือน
จะแตกตา่ งกันไปจะมีการปลูกในช่วงเดอื นมถิ ุนายนถึงกันยายน
ทำ� นา จะเริ่มถางหญ้าและไถหว่านในเดือนกรกฎาคม และจะด�ำนาหรือปลูกในเดือนสิงหาคม ในช่วง
เดอื นกนั ยายนถงึ ตลุ าคมจะเอาหญ้าทง้ิ เกบ็ เกย่ี วในเดอื นพฤศจกิ ายน
ปลกู ข้าวโพด จะเรม่ิ ปลกู ในเดอื นมิถนุ ายนเกบ็ เกีย่ วในเดือนสงิ หาคม
ปลูกกระเทยี ม จะเรม่ิ ปลูกในเดือนพฤศจิกายนถงึ เดือนธนั วาคม จะเกบ็ เกย่ี วในเดือนมีนาคมถงึ เมษายน
ปลกู งา จะเรม่ิ ปลกู ในเดือนพฤษภาคมถงึ มิถุนายน เกบ็ เกี่ยวในเดอื นสิงหาคมถึงเดอื นกนั ยายน
ท�ำไร่ขา้ ว จะปลกู ในเดือนมถิ ุนายนถงึ กรกฎาคม จะเกบ็ เกีย่ วในเดือนสงิ หาคม
เลีย้ งหมู, ไก่, ปลา จะเลย้ี งหมนุ เวยี นกันไปตลอดปี

๗ ทม่ี า ข้อมูลจากการสารวจข้อมูลโครงการวจิ ัย, ธนั วาคม ๒๕๕๙

ข้อมลู กล่มุ ชาตพิ นั ธุ์กะแย(กะเหรย่ี งแดง) จังหวัดแมฮ่ ่องสอน 25

บรบิ ทชมุ ชนบ้านไมส้ ะเป๘่

ประวตั ิความเป็นมา และมีการแต่งตั้งใหญ่บ้านคนแรกของหมู่บ้านไม้สะเป่ คือ
นายสอ่ ไพรนมิ ติ กลุ ซง่ึ เปน็ ผเู้ ดนิ ทางมาบกุ เบกิ สรา้ งบา้ นเรอื น
ถ่ินฐานเดิมของชาวกะแย(กะเหร่ียงแดง)หมู่บ้าน ปีพุทธศักราช ๒๕๒๗ เจ้าหน้าท่ีทางราชการและ
ไม้สะเป่น้ัน อพยพย้ายมาจากหลาย หย่อมบ้าน เช่น ชาวบา้ นได้ร่วมกันแต่งตั้งผู้ใหญ่บ้านขึ้นมาใหม่ คือ นายเท
หย่อมบ้านมะขาม หย่อมบ้านกลาง หย่อมบ้านไม้สะเป่ ครี ีสกลุ สงิ ห์ เน่ืองจากนายส่อ ไพรนิมติ กุล มอี ายุมากแล้ว
เนื่องจากถูกรุกรานจากภัยสงครามและเกิดโรคระบาด อยากให้ลูกหลานได้ปกครองหมู่บ้านแทน หลังจากนายเท
อยา่ งรนุ แรง จงึ พากนั อพยพยา้ ยถนิ่ ฐานไปเรอ่ื ยๆ ตามทำ� เล ครี ีสกลุ สงิ ห์ ไดร้ ับการแต่งตั้งใหเ้ ป็นผ้ใู หญ่บ้าน กเ็ รม่ิ มกี าร
ท่ีเหมาะกบั การท�ำไร่ท�ำสวนและแหลง่ อาหารท่ีดี เม่อื พน้ื ที่ ตดิ ต่อประสานงานกบั ทางหนว่ ยงานราชการมากขนึ้ จึงได้
ที่ต้ังถ่ินฐานอยู่นั้น เร่ิมเส่ือมลง หรือท�ำการเกษตรซ้�ำๆ ด�ำเนินการขอจัดต้ังโรงเรียนบ้านไม้สะเป่ขึ้นมา ต่อด้วย
ท�ำให้ได้ผลผลิตท่ีไม่ดี ไม่เพียงพอต่อความต้องการและ โรงไฟฟ้าจากพลังน้�ำ เพื่อใช้ในหมู่บ้าน และได้ลาออก
มีแหล่งอาหารน้อยลง ก็จะพากันอพยพย้ายถ่ินฐานต่อไป จากตำ� แหนง่ ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๒
ไม่มีการตงั้ ถ่นิ ฐาน ที่ถาวรหรือเป็นหลักแหลง่ ปีพุทธศักราช ๒๕๓๒ มีผู้ใหญ่บ้านท่ีมาจาก
ตอ่ มาในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ มีชาวบ้านครอบครัว การเลือกตั้ง คือ นายโซ ดวงฤทธิเดช หลังจากได้รับ
หนึ่งได้เดินทางมาจัดท�ำไร่ท�ำสวนบริเวณหุบเขาไม้สะเป่ การเลือกต้ังให้เป็นผู้ใหญ่บ้าน เริ่มจัดท�ำถนนดินแดง
และได้มีความเห็นว่าพ้ืนท่ีแห่งนี้เหมาะส�ำหรับการต้ัง จากหมู่บ้านในสอยมายังหมู่บ้านไม้สะเป่ ด้วยระยะทาง
ถ่ินฐานบ้านเรือน เน่ืองจากมีท�ำเลท่ีดี เหมาะแก่การท�ำไร่ ประมาณ ๘ กโิ ลเมตร เพอื่ ทำ� การตดิ ตอ่ คา้ ขาย แลกเปลยี่ น
ทำ� สวนและมแี หลง่ อาหารทอี่ ดุ มสมบรู ณ์ จงึ ไดช้ กั ชวนญาติ สินค้าทางการเกษตร สร้างถังเก็บน�้ำประปาภูเขา ๓ แท้ง
พี่น้องเพ่ือนบ้านอพยพย้ายมาสรา้ งบา้ นเรอื นกนั ชดุ แรกทม่ี า เรม่ิ มไี ฟฟา้ เขา้ มาและมกี ารกอ่ ตงั้ ธนาคารขา้ ว และไดล้ าออก
ตงั้ ถน่ิ ฐานอยหู่ ว้ ยไมส้ ะเป่ คอื จำ� นวน ๖ หลงั คาเรอื น นำ� โดย จากตำ� แหนง่ ในปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๔๘
นายสอ่ ไพรนมิ ติ กลุ นายซอื ศรเจรญิ ชัย นายปุ๊ จันทราโชค ปีพุทธศักราช ๒๕๔๘ นายโย ครี เี รอื งวทิ ย์ ได้รับ
นายเล๊อะ ไพรนิมิตกุล นายส่อเล็ก คีรีทรัพย์ทวี นายโซ การเลือกต้ังเป็นผู้ใหญ่บ้าน มีการปรับปรุงถนนที่ยาก
ครี เี พม่ิ ไพร นายเท ครี สี กลุ สงิ ห์ ชาวบา้ นสว่ นใหญท่ ำ� การเกษตร และอันตรายให้เป็นถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่เป็นหย่อมๆ
ปลกู ขา้ วไรแ่ ละพชื ผกั ตา่ งๆ ซงึ่ ปรากฏวา่ ไดผ้ ลผลติ ทด่ี มี าก และหมดวาระลงในปพี ทุ ธศักราช ๒๕๕๓
ดว้ ยความอดุ มสมบรู ณข์ องพนื้ ทแ่ี ละผลผลติ ทางการเกษตร ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ นางกนกพร จรรยาขจรกุล
ท่ดี เี ยย่ี มแห่งน้ี ข่าวไดแ้ พร่กระจายออกไป จนกลายเปน็ ท่ี ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้าน มีการพัฒนาหมู่บ้านให้มี
รจู้ กั กนั ทวั่ ทกุ หยอ่ มบา้ น จงึ ไดม้ กี ารไปมาหาสพู่ ดู คยุ ชกั ชวน ความเจรญิ รงุ่ เรอื งอยเู่ ย็นเป็นสขุ สร้างอาศรมบ้านไม้สะเป่
ญาตพิ นี่ อ้ งเพอ่ื นบา้ นทอี่ ยตู่ ามหยอ่ มบา้ นตา่ งๆมาอยรู่ วมกนั และพัฒนาหมู่บ้านต่อมา จนเป็นหมู่บ้านท่ีเข้มแข็ง
มากขึ้นเรอื่ ยๆ จนกลายเป็นหมู่บ้านใหญข่ น้ึ ปลอดยาเสพติดในปจั จบุ ัน
ตอ่ มาในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๒๕ เจา้ หนา้ ทที่ างราชการ
และชาวบา้ นไดร้ ว่ มกนั จดั ตงั้ ชอื่ หมบู่ า้ นวา่ “หมบู่ า้ นไมส้ ะเป”่ จ�ำนวนประชากร
(ค�ำว่า ไม้สะเป่ เป็นช่ือต้นไม้ชนิดหน่ึงท่ีออกผลเป็นพวง
ลกู เล็กๆ สีมว่ ง ทางภาคกลางเรียกวา่ ต้นหว้า ซึ่งมีอยมู่ าก ปจั จบุ นั มจี ำ� นวนครวั เรอื นทงั้ หมบู่ า้ น ๑๑๕ ครวั เรอื น
ในบรเิ วณทตี่ งั้ ของหมบู่ า้ น และเปน็ ตน้ ไมท้ ช่ี าวบา้ นใชฝ้ งั รก มีจำ� นวนประชากร รวม ๗๓๖ คน แยกเปน็ ชาย ๓๙๗ คน
เด็กแรกเกิด ของลูกหลาน ชาวบ้านแห่งน้ี จึงมีความเห็น หญิง ๓๓๙ คน
ตรงกันว่าชื่อต้นไม้สะเป่น้ีเหมาะแก่การตั้งเป็นชื่อหมู่บ้าน)

๘ รายงานประจาปี ๒๕๖๑ บา้ นไมส้ ะเป่ ผู้ใหญ่บ้านนางกนกพร

26 ข้อมลู กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุกะแย(กะเหร่ียงแดง) จงั หวัดแม่ฮ่องสอน

อาณาเขตของหมบู่ ้าน สภาพสังคม

ทศิ เหนอื ติดต่อกับบ้านมะเขือส้ม หมู่ท่ี ๕ ต�ำบล ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชนเผ่ากะเหรี่ยงแดง
หมอกจ�ำแป่ อ�ำเภอเมืองฯ มีเช้ือชาติไทย สัญชาติไทย อาศัยอยู่ตามพ้ืนที่สูง มีนิสัย
ทิศใต ้ ตดิ ตอ่ กบั บา้ นในสอย หมทู่ ี่ ๔ ตำ� บลปางหมู รักความสงบ สันโดษและมัธยัสถ์ อยู่อย่างพอเพียง
อำ� เภอเมอื งฯ มี ค ว า ม เ ลื่ อ ม ใ ส ใ น พุ ท ธ ศ า ส น า แ ล ะ สื บ ท อ ด รั ก ษ า
ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั บา้ นห้วยโปง่ ออ่ น หมู่ท่ี ๗ ตำ� บล ขนบธรรมเนียมประเพณดี ้งั เดิมเอาไว้สบื ทอดต่อไป
หมอกจ�ำแป่ อ�ำเภอเมอื งฯ
ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับประเทศเมยี รมา สภาพเศรษฐกจิ

การคมนาคม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำสวน เพื่อเล้ียงชีพ หากมีมากเหลือใช้
การคมนาคมของบ้านไม้สะเป่ ค่อนข้างล�ำบาก คอ่ ยแบง่ ปนั หรอื ทำ� การคา้ ขาย รายรบั สว่ นใหญม่ าจากการ
เนื่องจากเป็นหมู่บ้านที่ต้ังอยู่บนภูเขา ระยะทางห่างจาก รับจา้ งท่ัวไปและการค้าขาย เช่น เปดิ ร้านขายของชำ� เล็กๆ
ตัวอ�ำเภอประมาณ ๓๒ กิโลเมตร การเดินทางใช้เส้นทาง ขายววั ควาย แพะ หมู ไก่ และของปา่ เป็นต้น
ผ่านบ้านสบสอย บ้านในสอย เลยจากบ้านในสอย
ประมาณ ๒ กิโลเมตร จะถึงปากทางเข้าหมู่บ้าน ซ่ึงเป็น การเมืองการปกครอง
ถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่และเป็นถนนลูกรัง ด้วยระยะทาง
ประมาณ ๖ กโิ ลเมตร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงแดง
เดิมปกครองกันแบบเครือญาติ แต่ปัจจุบันเร่ิมหันมา
สภาพทางภูมปิ ระเทศ ปกครองกนั ดว้ ยระบอบประชาธปิ ไตย มผี นู้ ำ� ทไี่ ดร้ บั เลอื กตง้ั
หรอื แต่งต้งั อย่างเปน็ ทางการ เชน่ ผใู้ หญบ่ ้าน ส.อบต.และ
มลี ักษณะเป็นหบุ เขาและเชงิ เขาทส่ี งู ชัน อยูใ่ นเขต คณะกรรมการผ้นู ำ� หม่บู า้ น ผนู้ ำ� ท่ีไม่เป็นทางการ เช่น ผูน้ �ำ
ป่าสงวนและเขตอนรุ กั ษ์ มลี ำ� คลองไม้สะเป่และแมน่ ำ้� สอย ทางศาสนา ความเช่อื หรือผนู้ �ำทางจิตวิญญาณ
ไหลผา่ น มพี น้ื ปา่ และดนิ อดุ มสมบรู ณ์ เหมาะแกก่ ารตงั้ ถนิ่ ฐาน
และทำ� การเกษตร ระบบการถือครองที่ดนิ

สภาพภูมิอากาศ ระบบการถือครองที่ดินบ้านไม้สะเป่ ส่วนใหญ่
ได้รับมรดกตกทอดจากพ่อแม่ ครอบครัวหน่ึงมีพื้นที่
ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น โดยในฤดูร้อนจะมีอากาศ ท�ำกินครอบครัวละ ๕-๗ แปลง ได้แบ่งเป็น ๒ ลักษณะ
รอ้ นจดั อากาศหนาวจดั ในฤดหู นาว และฝนจะตกชกุ ในฤดฝู น (๑) ท่ีดินที่เป็นปัจเจก หรือส่วนบุคคล ได้แก่ พื้นท่ีนา
นอกจากน้ียังมีหมอกปกคลุมตลอดทั้งปี สภาพภูมิอากาศ พ้ืนท่ีสวน ซ่ึงถือเป็นกรรมสิทธ์ิเฉพาะบุคคล (๒) พ้ืนท่ีไร่
จะมคี วามแตกต่างกันอยา่ งชัดเจนท้งั ๓ ฤดกู าล คือ หมุนเวียน เป็นการถือครองตามจารีตประเพณีมาตั้งแต่
ฤดรู อ้ น เรม่ิ ตงั้ แตช่ ว่ งระหวา่ งกลางเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ – สมยั บรรพบรุ ษุ ผบู้ กุ เบกิ ทที่ ำ� กนิ ในการจดั การการถอื ครอง
กลางเดอื นพฤษภาคม มอี ากาศรอ้ นจดั ท่ีดินโดยคนในหมู่บ้านจะมีพื้นท่ีแปลงใหญ่ (แปลงรวม)
ฤดฝู น เร่ิมตั้งแต่ชว่ งกลางเดอื นพฤษภาคม – เดือน ท่ีใช้ท�ำไร่หมุนเวียนร่วมกัน ซ่ึงถือเป็นสมบัติของส่วนรวม
พฤศจกิ ายน จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ทกุ คนเปน็ เจา้ ของรว่ มกนั
ทำ� ใหม้ อี ากาศชมุ่ ชน้ื ฝนตกชุกมาก
ฤดูหนาว เร่มิ ตง้ั แต่เดือนพฤศจิกายน – กลางเดอื น
กมุ ภาพนั ธ์ จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
และความกดอากาศจากประเทศจีน จึงท�ำให้มีอากาศ
หนาวเยน็ มาก

ขอ้ มลู กลุ่มชาตพิ นั ธุ์กะแย(กะเหรย่ี งแดง) จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน 27

กฎระเบียบหมู่บา้ น

๑. หา้ มผู้ใดสร้างความเดือนรอ้ นและทะเลาะวิวาทภายในหมบู่ ้าน ฝ่าฝืนปรับ ๕๐๐ บาท

๒. ห้ามเล่นการพนันในหมบู่ ้าน ผใู้ ดฝา่ ฝืน ปรบั คนละ ๕๐๐บาท

๓. ห้ามผู้ใดยงั ปนื ในหมู่บ้าน ผูใ้ ดฝา่ ฝืน ปรบั นัดละ ๕๐๐ บาท

๔. หา้ มมีการซอื้ ขายหรือเสพยาเสพตดิ ในหมู่บ้าน ฝา่ ฝนื ดำ� เนินการตามกฎหมาย

๕. หา้ มช็อตหรอื ระเบิดปลาในเขตบรเิ วรของหมบู่ า้ น ฝ่าฝืนปรับคนละ ๕๐๐ บาท

๖. หา้ มจับปลาในเขตบวชสตั ว์นำ�้ ฝ่าฝนื ปรับคนละ ๕๐๐ บาท

๗. หา้ มขายไมอ้ อกจากหมบู่ า้ น ฝา่ ฝนื ปรับคนละ ๕๐๐ บาท

๘. ผใู้ ดตอ้ งการนำ� เอาไมอ้ อกจากหมบู่ ้านต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการหมบู่ า้ น
ฝ่าฝนื ปรบั ตามความเหมาะสมและดำ� เนินการตามกฎหมาย

๙. ห้ามบกุ รุกพื้นท่ีป่าตน้ น้�ำ ฝ่าฝืนปรบั คนละ ๕๐๐ บาท

๑๐. ห้ามตัดไม้ในเขตบวชป่า ฝา่ ฝนื ปรับขัน้ ต�่ำ ๕๐๐ บาท

๑๑. หา้ มท�ำลายทรพั ย์สนิ ทางราชการและของสว่ นรวมหมบู่ ้าน ฝ่าฝืนใหร้ บั ผดิ ชอบความเสยี หายท้ังหมด

๑๒. ห้ามกระทำ� ผดิ ตอ่ ประเพณีและวัฒนธรรมของชนเผา่ ฝา่ ฝนื ปรับตามความเหมาะสม

๑๓. ห้ามขาดการรว่ มพัฒนาหมูบ่ ้าน ฝ่าฝนื ปรับครั้งละ ๕๐๐ บาท

๑๔. ผ้ใู ดขาดการเขา้ รว่ มประชมุ หรอื ชาดการทำ� ประชาคม ปรบั ครัง้ ละ ๓๐ บาท

๑๕. ผใู้ ดไม่ให้ความเคารพตอ่ กฎระเบียบหมู่บา้ นจะถกู ตดั สิทธใ์ิ นการให้ความชว่ ยเหลอื ทุกๆด้าน
จากคนในหมู่บ้าน

กฎระเบียบการจัดการทรพั ยากร ดนิ น�้ำ ปา่

๑. ห้ามผู้ใดบุกรุกแผว้ ถางป่า นอกเหนอื จากที่ท�ำกนิ เดมิ โดยเด็ดขาด หากมีผูใ้ ดฝา่ ฝืน ครั้งแรกวา่ กลา่ วตกั เตือน หากมคี รงั้ ที่ ๒
ปรบั เปน็ เงนิ จำ� นวน ๑,๐๐๐ บาท พรอ้ มดำ� เนนิ การตามกฎหมาย คา่ ปรบั เขา้ บญั ชกี องกลางหมบู่ า้ น

๒. กรณีมีการเผาไร่ สวน ให้มีการท�ำแนวกันไฟทุกครั้ง หากไม่ท�ำแนวกันไฟเป็นเหตุท�ำให้เกิดความเสียหายต่อพื้นท่ีป่า
หากผใู้ ดฝ่าฝืน ปรบั เปน็ เงินจ�ำนวน ๕๐๐ บาท คา่ ปรบั เข้ากองกลางหมบู่ ้าน

๓. ห้ามตัดไม้และล่าสัตว์ป่าทุกชนิดในเขตพื้นท่ีป่าต้นน้�ำ และในเขตป่าอนุรักษ์ของชุมชน หากผู้ใดฝ่าฝืนปรับเป็นเงินจ�ำนวน
๕๐๐ บาท พร้อมดำ� เนนิ การตามกฎหมาย คา่ ปรับเข้ากองกลางหมบู่ า้ น

๔. หากผใู้ ดมคี วามประสงคจ์ ะใช้ไมใ้ นเขตปา่ ใชส้ อย เพอื่ สรา้ งทอี่ ยอู่ าศยั ใหข้ อรบั อนญุ าตจากคณะกรรมการทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อมหมูบ่ า้ นไม้สะเป่ หากผู้ใดฝ่าฝนื ปรบั เป็นเงนิ ๕๐๐ บาท คา่ ปรบั เขา้ บัญชีกองกลางหมู่บ้าน

๕. ให้มีการปลูกปา่ ทดแทนในพ้นื ทีป่ ่าไม้ใช้สอยทุกปี เพ่อื ประโยชน์ของชมุ ชน

๖. ห้ามน�ำไม้ทุกชนิดออกจากหม่บู ้าน หากผู้ใดฝา่ ฝนื ปรบั เปน็ เงนิ ๕,๐๐๐ บาท ค่าปรับเขา้ กองกลางหมบู่ า้ น (กรณยี า้ ยบ้านเก่า
ใหข้ ออนุญาตจากคณะกรรมการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบ้านไมส้ ะเป่)

๗. ที่ดินท�ำกิน นา สวน ที่อยู่อาศัย ซื้อขายได้เฉพาะในชุมชน โดยผ่านคณะกรรมการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ไร่หมุนเวียนหา้ มให้มกี ารซอื้ ขายใดๆ ท้งั สิ้น

๘. ให้ทุกครวั เรอื นจัดการขยะภายในครวั เรอื นเองกอ่ น โดยให้มกี ารคัดแยกขยะกอ่ น

๙. ผู้ใดรู้เห็นเป็นใจกับผู้กระท�ำผิด กฎระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หากไม่มี
การแจง้ ก่อน ถอื วา่ เปน็ ผูร้ ่วมกระทำ� ผิด

28 ขอ้ มลู กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุกะแย(กะเหรี่ยงแดง) จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

ทนุ ทางการเงินตา่ ง ๆ ในหมูบ่ า้ น ๗. ดา้ นโภชนาการ ไดแ้ ก่
• นางอารยี า คีรโี ชคสมบรู ณ ์ ทำ� อาหาร
๑. กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ • นางทแี หมะ สายพงษ์ไพร ถนอมอาหาร
(กองทนุ เงินล้าน) จำ� นวน ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท
๒. กองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน(กขคจ.) ๘. ด้านอ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ ปราชญช์ มุ ชน
จำ� นวน ๒๘๐,๐๐ บาท • นายโซ ดวงฤทธิเดช
๓. กองทนุ ยเู อน็ ดพี (ี UNDP) จำ� นวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
๔. กองทุนธนาคารขา้ ว ๑๐๐,๐๐๐ บาท รายชอ่ื คณะกรรมการหมบู่ ้าน
๑. นางกนกพร จรรยาขจรกุล ผูใ้ หญ่บา้ น/
ทนุ ทางสงั คม ประธานกรรมการ
๒. นางสาววันเพญ็ ชูเชิดไพร ผ้ชู ว่ ยผ้ใู หญบ่ ้าน
ผู้มคี วามร้/ู ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน / ด้านต่าง ๆของชมุ ชน

๑. ด้านการแพทย์แผนไทย/สมุนไพร/หมอพน้ื บ้าน ไดแ้ ก่ ๓. นายโด วนิ ัยเยี่ยม ผชู้ ว่ ยผใู้ หญ่บ้าน
• นางส่อแหมะ อาจวิทยา หมอพ้ืนบ้าน ๔. นายสมเกียรติ สายพงษไ์ พร ผรส.
• นายพา พัลวนั ชมพนา หมอพน้ื บ้าน ๕. นายวุฒกิ ร รกั ไพร ส.อบต.
• นายโซ ครี ีเพม่ิ ไพร หมอผี ๖. นายโย ครี ีเรืองวิทย ์ ส.อบต.
๗. นายโซ ดวงฤทธเิ ดช กรรมการ
๒. ดา้ นผูอ้ นุรกั ษศ์ ลิ ปวัฒนธรรม ประเพณที ้องถน่ิ ไดแ้ ก่ ๘. นายเท ไชยพิพัฒน์ศร กรรมการ
• นายแน คีรีเรืองวทิ ย ์ ประเพณีทอ้ งถ่ิน ๙. นายงะ ไพรวัลย์กิจ กรรมการ
• นายโย ครี เี รอื งวทิ ย ์ ประเพณีทอ้ งถนิ่ ๑๐. นายบุญยวีร์ งามเสมอพนั ธ ์ กรรมการ
• นางกนกพร จรรยาขจรกลุ ประเพณีทอ้ งถนิ่ ๑๑. นายโซ โชคสทุ ธวิ รชยั กรรมการ

๓. ดา้ นฝมี ือ ไดแ้ ก่ ชา่ งไม้ ๑๒. นางรสสุคนธ์ ครี สี กลุ สงิ ห ์ กรรมการ
• นายเท สายพงษ์ไพร จกั รสาน ๑๓. นางวรรณา สายพงษ์ไพร กรรมการ
• นายโย ครี ีเรอื งวทิ ย ์ ช่างตมี ดี ๑๔. นายปอ้ื รักไพร กรรมการ
• นายกาเล - ๑๕. นายด๊ะ ธรรมวิมล กรรมการ

๔. ผมู้ คี วามรดู้ า้ นการเกษตร ไดแ้ ก่ รายชือ่ หวั หนา้ ป๊อก
• นายเท สายพงษ์ไพร การเพาะปลกู ๑. นายสมพงษ์ คีรสี ริ ิมาศ หวั หน้าป๊อก ๑
• นายจ่าปา่ ง - การเพาะปลกู ๒. นางอารียา ครี โี ชคสมบูรณ ์ หวั หน้าปอ๊ ก ๒
• นายที สรานนท์มณีกลุ หมอดนิ ๓. นายนคร โรจนเกษมกลุ หวั หน้าปอ๊ ก ๓

๕. ดา้ นศาสนา ได้แก่ ศาสนาครสิ ต์ ๔. นายแน คีรีทรพั ย์ทวี หวั หน้าป๊อก ๔
• นายแต่ - ศาสนาพุทธ ๕. นายแน ไพรวัลย์กจิ หัวหนา้ ป๊อก ๕
• นายอ่องจ่า - หมอผี ๖. นายแน ครี ีเรอื งวทิ ย ์ หัวหน้าปอ๊ ก ๖
• นายโซ ครี ีเพิม่ ไพร ๗. นายบญุ ยวรี ์ งามเสมอพนั ธ์ หวั หน้าปอ๊ ก ๗

๖. ด้านพิธีกรรรมทางศาสนา/ขนบธรรมเนียมประเพณี ๘. นายสวาท ศรเจริญชยั หวั หน้าป๊อก ๘
ไดแ้ ก่
• นางกนกพร จรรยาขจรกลุ กล่มุ สตรี
• นายวนิ ัย ศรเจริญชยั กลุม่ เยาวชน
• นายโย ครี เี รืองวิทย์ ธนาคารข้าว

ข้อมูลกลุ่มชาตพิ ันธ์ุกะแย(กะเหรย่ี งแดง) จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน 29

ตาราง : แสดงปฏิทนิ ประเพณี และวัฒนธรรมของชมุ ชนบ้านไม้สะเป่

ประจ�ำเดือน ประเพณี/วัฒนธรรม
มกราคม ทำ� บุญให้ผูล้ ่วงลับ (แถโ่ ลขุ่) คนเสียชีวติ ช่วงเดือน ม.ค.-เม.ย. จะทำ� รอบเดียว
มนี าคม สว่ นคนเสยี ชว่ ง พ.ค.- ก.ย. จะทำ� สองรอบ
ประเพณีงานแตง่ รอบ ๒ ถือเป็นพธิ ีศักดสิ์ ทิ ธข์ิ องวงคต์ ระกลู ส�ำหรับการใช้ชีวิตค่ใู หม้ ีความสุข
เมษายน ครองรกั ด้วยความยาวนาน มนั่ คง
งานปอยต้นธใี หญ่ ถอื เปน็ ประเพณปี ใี หม่กะแย ในเครือข่ายกะแยจะมีเจ้าภาพใหญ(่ เวียนเป็นชุมชน)
กนั ยายน แต่ละชุมชนก็จัดงานปอยตามปกติ ใชเ้ วลา ๓ วัน ในช่วงหลงั มงี านกีฬาเขา้ มาจัดเพ่ือใหเ้ ด็กเยาวชน
ตลุ าคม มีส่วนรว่ ม เช่อื มความสันพันธก์ุ ันมากขึน้
ธันวาคม งานปอยข้าวต้ม จดั ๓-๖ วัน จะน�ำผลผลิตพืชผกั จากไร่นาสวนมาท�ำกินเลีย้ งแขก มพี ิธกี รรมทางศาสนา
มีการเลีย้ งผที ำ� พิธใี หญ่ แล้วเชญิ แขกนอกและในบ้านมากินเป็นประเพณีแบ่งปนั อาหารเลี้ยงแขก
งานปอยต้นธนี ้อย จะเอาผลผลติ จากไร่ สวน แรกของปีมามดั กบั ตน้ ธีนอ้ ย ทำ� เปน็ เข่งแลว้ ประกอบพธิ ีกรรม
งานคริตส์มาส เป็นพิธที างศาสนาครสิ ต์ ไมท่ ุกครัวเรอื นในชมุ ชน

ตาราง : ปฏทิ ินพธิ ีกรรมทางความเช่อื ของชมุ ชนบ้านไม้สะเป่

ประจ�ำเดือน พธิ ีกรรมทางความเชื่อในชมุ ชน

มกราคม พธิ กี รรมเลยี้ งผีนำ้�

กุมภาพนั ธ์ พธิ กี ารท�ำไรห่ มนุ เวียน /จับจองพน้ื ที่ ทำ� พิธีทำ� นาย (นอนฝัน) และการปกั กระดูกไก่(บาชะ) ไก่แจ้
วัดดว้ ยไม้ ๑ วา เอามาตีกบั พ้ืน บนบาน(๓ครั้ง)

มีนาคม เริม่ ถางพื้นที่ แลว้ ท้งิ ช่วงจนถึงปลายเมษายน

เมษายน พธิ ีการเผาไร่

พฤษภาคม เตรยี มพน้ื ทีป่ ลูก ไร่ นา สวน และเมล็ดพนั ธ์พุ ชื ตา่ ง ๆ

มถิ ุนายน พธิ ีเลีย้ งผขี า้ ว การปลูกข้าวไร่ นา มกี ารเลีย้ งชว่ งเมล็ดพันธ์ุงอกออกมาทกุ เมด็

กรกฎาคม เอาหญา้ ในไร่ นา สวน ดูแลจดั การใหค้ รบวงจรจนถงึ เดอื นกันยายน

ตลุ าคม การเกบ็ เกีย่ วพชื ผลผลิตทางการเกษตร ไร่ นา สวน เช่น ขา้ ว แตง ฟกั ถัว่ ผกั ต่างๆ พชื แรกของปี
และจะมีการท�ำพธิ ีกรรมเรยี กขวัญข้าว

พฤศจกิ ายน พิธกี รรมเลีย้ งผีน้�ำ มกี ารเก็บเกย่ี วผลผลิต ไร่ นา สวน

อาชีพในชุมชน จำ� นวน ๗๐ ครวั เรือน อาชพี เสรมิ หรืออาชพี ส�ำรอง
จ�ำนวน ๔ ครัวเรือน ๑. อาชพี รับจ้างชั่วคราว จำ� นวน ๓๔ ครัวเรือน
อาชีพหลักของครวั เรือน จำ� นวน ๗ ครัวเรือน ๒. อาชพี เลี้ยงสัตว์ จำ� นวน ๕๐ ครัวเรือน
๑. อาชพี เกษตรกรรม จำ� นวน ๓๔ ครัวเรือน
๒. อาชพี คา้ ขาย
๓. อาชีพ รับราชการ
๔. อาชีพ รบั จ้าง

30 ข้อมลู กล่มุ ชาตพิ นั ธุ์กะแย(กะเหรีย่ งแดง) จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

ทรพั ยากรธรรมชาต/ิ การบรหิ ารจดั การ/การน�ำไปใช้ ทำ� ให้นำ้� ไมเ่ พียงพอหรอื เหมาะกับการทำ� เกษตร แตใ่ ชเ้ ปน็
แหล่งหาอาหาร(ปู ปลา ลูกอ๊อด กบ เขียด ปลาไหล
๑.๑ น�ำ้ ตก จ�ำนวน ๔ แห่ง ได้แก่ ปลาช่อน) ได้แก่ ห้วยผักหมี่
• นำ้� ตกสอยดาว อยู่ทางทศิ ใต้ของหมู่บา้ น มาจาก
แมน่ ำ�้ สอย ไหลผา่ นหมบู่ า้ น มนี ำ�้ ไหลผา่ นตลอดปี ระยะทาง การจัดการน�้ำ
จากหมบู่ า้ นไปน้�ำตก ประมาณ ๒ กโิ ลเมตร
• น้�ำตกห้วยบะแหล่ะ อยู่ทางทิศตะวันตกของ ๑. ระบบน�้ำประปา มีผู้ดูแล จ�ำนวน ๑ คน
หมู่บ้าน มีไหลตลอดปี ระยะทางจากหมู่บ้านไปน�้ำตก หากระบบน้�ำประปาเกิดความขัดคล่องหรือเสียหายต้อง
ประมาณ ๑ กิโลเมตร ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมเลก็ น้อย ผดู้ แู ลจะเป็นคนดำ� เนินการเอง
• น้�ำตกห้วยบุก อยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน แต่หากระบบน้�ำประปาเกิดความขัดคล่องหรือเสียหาย
มีนำ้� ไหลตลอดปี ระยะทางจากหมบู่ ้านไปนำ�้ ตก ประมาณ ตอ้ งปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมมาก ผใู้ ชน้ ำ�้ ประปาทงั้ หมบู่ า้ นจะชว่ ยกนั
๒ กโิ ลเมตร ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม โดยใหห้ ัวหนา้ ป๊อกแตล่ ะป๊อก เรยี กเกบ็
• น�้ำตกห้วยไม้สะเป่ อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ค่าบ�ำรุงน้�ำประปา ครัวเรือนละ ๑๐ บาทต่อเดือน จาก
ของหมบู่ า้ น มนี ำ้� ไหลตลอดปี ระยะทางจากหมบู่ า้ นไปนำ�้ ตก จำ� นวนครวั เรอื นทง้ั หมด ๑๐๓ ครวั เรอื น เพอ่ื นำ� ไปจา่ ยเปน็
ประมาณ ๓ กิโลเมตร ค่าตอบแทนให้กบั ผ้ดู ูแล เดอื นละ ๗๐๐ บาท และจัดเก็บ
๑.๒ แมน่ ำ�้ จำ� นวน ๑ สาย ไดแ้ ก่ แมน่ ำ�้ สอย มตี น้ นำ�้ เปน็ เงนิ กองกลางสำ� หรบั ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมระบบนำ�้ ประปา
อยู่ทางทิศเหนือของหย่อมบา้ นหว้ ยผ้งึ ไหลผ่านหยอ่ มบา้ น ต่อไป
หว้ ยผึง้ บ้านไม้สะเป่ บา้ นในสอย บ้านสบสอย ลงสแู่ ม่น�้ำ ๒. ฝายชลประทาน ส�ำหรับใช้ท�ำการเกษตร
ปาย จำ� นวน ๑ แห่ง โดยมีพื้นที่ทำ� นา ทำ� สวน ประมาณ ๒๕๐
๑.๓ ล�ำหว้ ย จำ� นวน ๘ แห่ง ได้แก่ ห้วยบะแหล่ะ ไร่ มีผู้ดูแลการใช้น�้ำทางการเกษตร จ�ำนวน ๑ คน คือ
มีน้�ำไหลตลอดปี, ห้วยผักหม่ี มีน้�ำไหลน้อย ห้วยไม้สะเป่ นายโซ ดวงฤทธเิ ดช และมสี มาชกิ ทใ่ี ชน้ ำ้� จากฝายชลประทาน
มีน�้ำไหลตลอดปี ห้วยบุก มีน้�ำไหลเยอะตลอดปี ห้วยม่วง จำ� นวน ๒๕ ครัวเรอื น
มีน้�ำไหลตลอดปี ห้วยเขียด มีน้�ำไหลตลอดปี ห้วยข้ีลัก ๓. เขตบวชน้�ำ มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่อื เปน็ การปลกู ฝัง
มนี ้�ำไหลตลอดปี และหว้ ยผักไผ่ มนี ำ�้ ไหลน้อย สร้างจิตส�ำนึกให้ผู้คนในชุมชนเกิดความตระหนัก รักและ
การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ หวงแหนทรัพยากรธรรมชาตใิ หค้ งอยู่ตอ่ ไป จ�ำนวน ๒ แห่ง
• น้ำ� ทีไ่ หลตลอดปี สว่ นใหญ่นำ� ไปใชท้ างการเกษตร ได้แก่ เขตห้วยม่วง เป็นพ้ืนที่ ป่าต้นน้�ำประปาหมู่บ้าน
ทำ� นา ทำ� สวน และเปน็ แหลง่ หาอาหาร (ปู ปลา ลกู ออ้ ด กบ ประมาณ ๑๐ ไร่ และเขตบวชสัตว์นำ�้ ขอบเขตในการบวช
เขียด ปลาไหล ปลาช่อน) ได้แก่ แม่น้�ำสอย หว้ ยบะแหละ่ เรมิ่ จากหวั บา้ นตรงบรเิ วณฝายชลประทานลงมายงั ทา้ ยบา้ น
หว้ ยไมส้ ะเป่ หว้ ยบุก ห้วยมว่ ง หว้ ยเขยี ด หว้ ยขีล้ ัก บริเวณสะพานไม้ ตรงข้ามสะพานคอนกรตี ทางขน้ึ ดอยชนั
• น้�ำท่ีไหลตลอดปี ส่วนใหญ่น�ำไปใช้ในด้านการ กอ่ นถงึ หมบู่ า้ น ระยะทางประมาณ ๑.๕ กโิ ลเมตร การทำ� พธิ ี
อุปโภคบริโภค เป็นน�้ำประปาภูเขาและน�ำไปใช้ทางการ และจัดเครื่องเซ่นไหว้เหมือนกับการบวชป่าเขตห้วยหวาย
เกษตรเล็กน้อย ได้แก่ หว้ ยมว่ ง มีกฎระเบยี บขอ้ บังคับในการดแู ลอนรุ ักษ์ และมีบทลงโทษ
• น้�ำท่ีไหลน้อย แต่น�้ำมาใช้เป็นน�้ำประปาภูเขา เม่อื มีการฝ่าฝนื เชน่ หา้ มผู้ใดจับปลาในเขตบวช หากฝา่ ฝืน
หมูบ่ ้าน ได้แก่ หว้ ยผกั ไผ่ ปรับเป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาทต่อคร้ัง เป็นต้น โดยเริ่ม
• น้�ำที่ไหลน้อย และไม่ได้น�ำมาใช้ในการเกษตร ท�ำการบวชน�ำ้ ครงั้ แรกเม่ือปี พุทธศกั ราช ๒๕๕๔ ปจั จุบัน
เนื่องจากน้�ำไหลน้อย ไหลไม่ต่อเน่ือง แห้งในช่วงฤดูร้อน ในบริเวณเขตบวชมีปลาเพิม่ ขน้ึ เป็นจ�ำนวนมาก กลายเปน็
จดุ เดน่ และเป็นท่สี นใจแก่ผูพ้ บเห็นอยา่ งมาก
๔. บวชป่าเขตห้วยหวาย เป็นพื้นท่ีป่าอนุรักษ์
ประมาณ ๑๐๐ ไร่ อยูท่ างทศิ ใต้ของหมู่บา้ น ระยะห่างจาก

ข้อมูลกล่มุ ชาตพิ ันธุ์กะแย(กะเหรีย่ งแดง) จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน 31

หมู่บา้ นไปเขตบวชห้วยหวาย ประมาณ ๓ กิโลเมตร ทาง ๑. พื้นทอ่ี ยูอ่ าศยั ๗๐.๒๓ ไร ่
ชุมชนจะท�ำการบวชป่าช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนถึง ๒. พ้ืนที่นา ๕๓๖ ไร ่
กรกฎาคม ของทุกปี โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ๓. พน้ื ท่สี วน ๓๗๗.๓๗ ไร่
จากหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเลก็ นอ้ ยเปน็ บางครงั้ สว่ นใหญจ่ ะ ๔. พน้ื ท่ไี รห่ มนุ เวยี น ๒,๖๕๙.๒๔ ไร่
เรียกเก็บเงินจากชุมชนเอง ครัวเรือนละ ๑๐ บาทต่อปี ๕. พน้ื ที่ปา่ ใช้สอย ๑๘๔.๓๖ ไร่
ส�ำหรับน�ำไปซ้ือเครื่องเซ่นไหว้ ที่ใช้ในการบวชป่า เช่น ๖. พื้นทป่ี ่าอนุรักษ์ ๑,๕๓๕.๔๖ ไร่
ไก่ ๔ ตวั หมู ๑ ตัว เหลา้ ๔ขวด น�้ำสม้ ๑ขวด ขนม ๑ ถงุ
เทียน ๔ เล่ม ธปู ๘ ดอก เป็นต้น การบรหิ ารจดั การ

การจัดการปา่ ๑. การรางวดั พนื้ ท่ี ทอ่ี ยอู่ าศยั ทท่ี ำ� กนิ เพอื่ เพมิ่ ความ
ชัดเจนของพน้ื ที่
ปา่ ชมุ ชน มีพน้ื ทป่ี ่าที่อดุ มสมบรู ณ์ แต่สว่ นใหญอ่ ยู่ ๒. โครงสร้างระบบการดแู ลในหมบู่ ้าน
ในเขตป่าอุทยานและเขตป่าสงวน การน�ำไปใช้ประโยชน์ ๓. กฎระเบยี บ ขอ้ บังคับในหมู่บา้ น
ชมุ ชน มีพน้ื ทีป่ ่าท้งั หมด ๕,๓๙๘.๔๖ ไร่ มกี ารจำ� แนกพ้นื ท่ี ๔. หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ อบต. กรมการปกครอง
ปา่ ออกเปน็ ๖ ประเภท ไดแ้ ก่ /ป่าไม้ พฒั นาทด่ี ิน พัฒนาชุมชน /ชมุ ชน วดั โรงเรยี น

ตาราง : แสดงปฏทิ นิ อาหารจากปา่ ชมุ ชนประเภท “พืช - สัตว”์ บ้านไมส้ ะเป่

การไดซ้ ่งึ อาหารจากปา่ ประเภทชนิด “พชื – สัตว”์

ชนดิ อาหาร แหล่งที่พบ ช่วงเวลาทพ่ี บ การใชป้ ระโยชน์ ความ สาเหตปุ ญั หา
เสี่ยง
๑.พชื ปา่
-ตามป่าทวั่ ไป ม.ค.-ธ.ค. กนิ /แบ่งปนั นอ้ ยลง ไม่มวี นิ ัยในการเก็บกิน/แก่ตาย
ผักหวาน
ผักกูด -ตามป่าท่ัวไป ม.ค.-ธ.ค. กิน/แบ่งปัน มากขึน้ มีผูต้ า่ งถิ่นเข้ามาบุกรกุ
หน่อไม้
ดอกตา้ งปา่ -ตามปา่ ท่วั ไป ส.ค.-ธ.ค. กนิ /แบง่ ปนั เท่าเดมิ -
ผักชะอม
หนอ่ คาหาน -ตามป่าทั่วไป ม.ค.-ธ.ค. กนิ /แบง่ ปัน เทา่ เดิม -

หน่อตองกอ๊ ดอยเหนือบ้านหัวฮะ ม.ี ค. – เม.ย. กนิ /แบง่ ปัน นอ้ ยลง แกต่ าย/การขยายพันธุ์น้อย

หน่อกลว้ ย ลำ� ห้วย ม.ค.-ธ.ค. กิน/แบง่ ปนั น้อยลง ไฟป่า/ผู้กนิ มากขึ้น
ผักบกน้ำ�
ลำ� ห้วยตองก๊อ ม.ค.-ธ.ค. กิน/แบง่ ปนั นอ้ ยลง จ�ำนวนการขยายพนั ธ์มนี อ้ ย/
๒.สตั ว์ ผกู้ นิ มากขึ้น

เกง้ /กวาง ล�ำห้วยปา่ ต้นน้ำ� ม.ค.-ธ.ค. กิน/แบ่งปนั เท่าเดมิ -

หมปู า่ ลำ� หว้ ยทัว่ ไป ม.ี ค. –พ.ค. กิน/แบง่ ปัน น้อยลง ผ้กู นิ มากขึ้น
ไกป่ ่า/ไกฟ่ า้
นกตา่ ง ๆ ป่าอนรุ ักษ์/ปา่ ชมุ ชน ม.ค.-ธ.ค. กิน/ขาย/แบ่งปัน น้อยลง ผลู้ ่ามากข้นึ /
ปลา ฯลฯ การยา้ ยถ่นิ ฐานของสัตว์
ล�ำห้วย/ป่าอนุรักษ์ ม.ค.-ธ.ค. กิน/ขาย/แบง่ ปัน เท่าเดิม
แลน ปา่ ชมุ ชน/ปา่ ไร่/ป่าสวน ม.ค.-ธ.ค. กิน/แบ่งปนั เทา่ เดมิ -
ม.ค.-ธ.ค. กนิ /แบง่ ปนั เทา่ เดมิ
ปา่ ชุมชน/ล�ำห้วย ก.พ. – พ.ค. กิน/แบ่งปนั นอ้ ยลง -
ห้วยหัวแม่สุรนิ
ส.ค. – ก.ย. กิน/ขาย นอ้ ยลง -
เขา-ห้วย จบั กนิ ที่ไม่มวี นิ ัยใช้อปุ กรณ์การจบั

ท่ีไม่ถกู ต้อง
ราคาด/ี คนลา่ มาก

32 ขอ้ มลู กล่มุ ชาตพิ นั ธุ์กะแย(กะเหรยี่ งแดง) จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

การได้ซ่ึงอาหารจากปา่ ประเภทชนดิ “พืช – สตั ว์”

ชนิดอาหาร แหลง่ ท่ีพบ ช่วงเวลาทพ่ี บ การใช้ประโยชน์ ความ สาเหตุปญั หา
เส่ยี ง
ลิ่น ลำ� ห้วย/ดอย ก.พ. – มิ.ย. ขาย นอ้ ยมาก ราคาดี/นิยมขาย/เป็นยา/
คนลา่ มาก
เขยี ด หว้ ย ส.ค. – ก.ย. กิน/แบ่งปัน นอ้ ยลง
ราคาดี/คนลา่ มาก
ตาราง : แสดงปฏทิ ินอาหารจากป่าชุมชน ประเภท “พชื กนิ ผล” บ้านไม้สะเป่
สถานการณ์
การได้ซงึ่ อาหารจากปา่ ประเภท “กินผล” มากขึน้
ปานกลาง
ที่ ช่อื - ชนดิ กนิ % ขาย % แบ่งปัน % ชว่ งพบ - กนิ มากขน้ึ
มากขน้ึ
๑ หัวปลี ๘๐ ๑๐ ๑๐ ม.ค. - เม.ย. มากขึ้น
๒ ดอกตง้ั ๘๐ - ๒๐ ธ.ค. - มี.ค. น้อยลง
๓ มะเขือพวง ๙๐ - ๑๐ ตลอดทั้งปี
๔ เสาะแพรเสะ ๘๐ - ๒๐ พ.ย. - ธ.ค. บางปีมมี าก-บางปีมนี อ้ ย
๕ มะขามปอ้ ม ๓๐ ๗๐ - พ.ย. - พ.ค. น้อยลง
๖ โปโอ้เสะ ๒๐ - ๘๐ ปานกลาง
๗ เตอเมอเสะ ๕๐ ๒๐ ๓๐ เม.ย. มากขน้ึ
๘ มะกอกป่า ๘๐ - ๒๐ ม.ิ ย. - ส.ค. นอ้ ยลง
๙ ลกู มะหลอด ๘๐ - ๒๐ ม.ค. - เม.ย. ปานกลาง
๑๐ ตะไคร้ตน้ ๕๐ ๒๐ ๓๐ ก.ค. - ก.ย. ปานกลาง
๑๑ มะแหลบ ๖๐ ๑๐ ๓๐ พ.ค. - ก.ค. ปานกลาง
๑๒ เพกา ๕๐ ๓๐ ๒๐ ส.ค. - ก.ย. น้อยลง
๑๓ มะไฟป่า ๘๐ - ๒๐ ส.ค. - ต.ค.
๑๔ มะเดอื่ ๔๐ - ๖๐ ส.ค. - ก.ย.
๑๕ น้อยหน่าปา่ ๓๐ ๕๐ ๒๐ ส.ค. - ก.ย.

พ.ย.

“ประเภทกนิ ดอก” อาหารจากป่า
๑. ดอกแค “ประเภทเหด็ ” (ออกฤดฝู น) “ประเภทสมนุ ไพร”
๒. ดอกดอกต้าง
๓. ดอกข่า ๑. เห็ดโคน ๑. ยาหลวง : ใชร้ าก /แกป้ วดเม่ือยตามร่างกาย
๔. ดอกขจร ๒. เห็ดปลวก กลา้ มเน้อื และการช�้ำใน
๕. ดอกงิว้ ๓. เห็ดไมส้ น ๒. สะพายควาย : ใชเ้ ครอื /เป็นยาดอง เป็นวติ ามนิ
๖. ดอกปูเลย(ไพล) ๔. เห็ดตบั หนู เจริญอาหาร
๗. ดอกโสน ๕. เหด็ ปูแดง ๓. ขม้ินชัน : ใช้เหง้า / แก้เลอื ด ลม วงิ เวียนศรี ษะ
๘. ดอกสะเดา ๖. เห็ดหหู นู ๔. กระชายป่า :ใช้เหงา้ / แกท้ ้องอดื ท้องเฟ้อ
๗. เหด็ ซาง ปวดขอ้ กระดกู
๘. เหด็ ลม
๙. เห็ดฟาง
๑๐. เห็ดไขเ่ หลอื ง(เห็ดระโงก)

ข้อมลู กลุม่ ชาตพิ นั ธ์ุกะแย(กะเหรีย่ งแดง) จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน 33

บริบทชมุ ชนบ้านแมส่ ่วยอู

(หย่อมบา้ นห้วยเสอื เฒา่ )

ประวัตคิ วามเปน็ มา ในปจั จุบนั บ้านแม่ส่วยอู ยงั ไมไ่ ดร้ บั การแต่งตง้ั เป็น
หมู่บ้านถูกต้องตาม พรบ.ลักษณะ การปกครองท้องท่ี
หยอ่ มบา้ นแมส่ ว่ ยอู เปน็ หยอ่ มบา้ นโครงการทถี่ กู ตง้ั พ.ศ.๒๔๕๗ โดยบ้านแม่สว่ ยอู หรือ โครงการหมบู่ ้านยาม
ขน้ึ ตามพระราชดำ� รโิ ดยใหช้ อ่ื โครงการวา่ โครงการหมบู่ า้ น ชายแดนบ้านแม่ส่วยอูเป็นบริวารของหมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า
ยามชายแดนอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ (บ้านแม่ส่วยอู) หมู่ที่ ๘ ต�ำบลผาบ่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ซึ่งเป็นหน่ึงในเขตรับผิดชอบของบ้านห้วยเสือเฒ่า ตั้งอยใู่ นเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่ปายฝ่ังขวาตอนลา่ ง พ้ืนท่ี
มีท่ีมาจากแนวพระราชด�ำริของสมเด็จพระนางเจ้าฯ - ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน มีอาณาเขตติดต่อกับ
พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๕ ประเทศพม่า สามารถเดินทางไปถึงบ้านแม่ส่วยอูได้จาก
ท่ีมีการเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรหมู่บ้าน หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่าข้ึนไปทางทิศตะวันตก ประมาณ ๙
ยามชายแดน บ้านปางคอง อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัด กิโลเมตร เส้นทางเป็นถนนลูกรัง ผสมซีเมนต์ในบางช่วง
แมฮ่ อ่ งสอน เพอื่ ทราบความกา้ วหนา้ การดำ� เนนิ งานโครงการ ปัจจุบันบ้านแม่ส่วยอูมีประชากรท้ังส้ิน ๑๑๗ คน และมี
พระองคท์ รงได้มพี ระราชด�ำริกับ พลเอกนิพนธ์ ภารัญนิตย์ จ�ำนวนบ้านทง้ั ส้ิน ๒๕ หลงั คาเรอื น
ผอู้ ำ� นวยการโครงการพฒั นาตามพระราชดำ� ริ (ดำ� รงตำ� แหนง่
ในขณะนั้น) ณ เรือนประทับแรมปางตอง ความว่า สภาพทางภูมิศาสตร์
“ให้พิจารณาหาแนวทางในการด�ำเนินงานจัดตั้งหมู่บ้าน
ในรูปแบบหมู่บ้านยามชายแดน ทางด้านทิศตะวันตก ชมุ ชนบา้ นแมส่ ว่ ยอู ตง้ั อยบู่ รเิ วณเนนิ ทร่ี าบระหวา่ ง
ของตัวเมืองแม่ฮ่องสอน เพ่ือพัฒนาราษฎรในพื้นที่ หบุ เขา ตดิ กบั แนวชายแดนพมา่ ดา้ นทศิ ตะวนั ตกของอำ� เภอ
ให้เขม้ แข็ง มีส่วนรว่ มในการรกั ษาอธิปไตยของชาติอย่างมี เมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีพื้นท่ีโดยรอบปกคลุมไปด้วย
ระบบตามแนวพระราชดำ� รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ปา่ ไมท้ อี่ ดุ มสมบูรณ์ มีล�ำห้วยไหลผา่ นภายในชมุ ชน
รัชกาลท่ี ๙
และเพ่ือเป็นการสนองพระราชด�ำริ กองทัพภาคท่ี อาณาเขตและท่ตี ้งั
๓ จึงได้มีการแต่งตั้งคณะท�ำงานฯ เพ่ือท�ำการส�ำรวจและ
คดั เลอื กพนื้ ทสี่ ำ� หรบั การจดั ตงั้ หมบู่ า้ น โดยคณะทำ� งานฯได้ ทิศเหนอื ตดิ กบั เขตพ้ืนท่บี ้านสบปอ่ ง
ทำ� การพจิ ารณาพนื้ ทบ่ี รเิ วณ แนวชายแดนดา้ นทศิ ตะวนั ตก ทิศใต ้ ตดิ กบั เขตพืน้ ทบ่ี า้ นหว้ ยปแู กง
ของอ�ำเภอเมอื ง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ซ่ึงเปน็ พน้ื ที่วา่ ง เดมิ ที ทศิ ตะวนั ออก ติดกับ ศูนยท์ ่าโป่งแดง
พนื้ ทบ่ี รเิ วณนเ้ี คยเปน็ ทต่ี ง้ั ของบา้ นแมส่ ว่ ยอ(ู เดมิ ) และบา้ น ทิศตะวนั ตก ติดกบั สาธารณรฐั เมียนมาร์(พม่า)
ขุนห้วยเด่ือ(เดิม) แต่เน่ืองจากความไม่ชัดเจนของเส้นแบ่ง ชนกลุม่ นอ้ ยรฐั คาเรนี
เขตแดนประกอบกับมีการสู้รบกันระหว่างกองก�ำลังกลุ่ม
กะเหรยี่ งแดง(คะยา) กบั ทหารพมา่ และมกี ารลกุ ลำ�้ อธปิ ไตย คมนาคม
ของประเทศไทยอยบู่ อ่ ยครง้ั จงึ เปน็ เหตใุ หร้ าษฎรกลมุ่ ทเี่ คย
อยหู่ มบู่ า้ นแมส่ ว่ ยอ(ู เดมิ ) มกี ารละทงิ้ บา้ นเรอื นอพยพเขา้ มา เสน้ ทางเขา้ ออกชมุ ชน มี ๑ เสน้ ทาง จากอำ� เภอเมอื ง
อยู่พ้ืนที่เขตภายในบ้านขุนห้วยเด่ือ(เดิม) ปล่อยให้พ้ืนที่ – บา้ นห้วยเสือเฒ่า-บา้ นแมส่ ่วยอู รวมระยะทางประมาณ
แห่งน้ีเป็นช่องว่าง ล่อแหลมต่อการเข้ามาของภัยคุกคาม ๒๕ กิโลเมตร สภาพเส้นทางจากทางเร่ิมเข้าเขตบ้านเป็น
ตา่ งๆ ดงั นนั้ คณะทำ� งานฯ จงึ ไดท้ ำ� การคดั เลอื กพนื้ ทด่ี งั กลา่ ว ทางลาดยางสลบั กับคอนกรตี และทางลกู รงั การคมนาคม
ให้เป็นพื้นที่จัดตั้งหมู่บ้าน โดยใช้ชื่อว่า “โครงการจัดต้ัง คอ่ นข้างลำ� บาก
หมบู่ า้ นยามชายแดนอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ บา้ นแมส่ ว่ ยอู
ต�ำบลผาบ่อง อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน” จำ� นวนครัวเรอื น และ ประชากร

ชุมชนบ้านแม่ส่วยอู มีจ�ำนวนหลังคาเรือนตาม
ทะเบยี นบา้ นท้งั หมด ๒๕ หลังคาเรือน และ มหี ลงั คาเรอื น
ต า ม ท่ี อ ยู ่ จ ริ ง จ า ก ก า ร ใ ช ้ เ ค ร่ื อ ง มื อ แ ผ น ท่ี เ ดิ น ดิ น
ท�ำการสำ� รวจทั้งหมด ๓๖ หลงั คาเรือน

34 ข้อมลู กลมุ่ ชาติพนั ธ์ุกะแย(กะเหรยี่ งแดง) จังหวัดแมฮ่ ่องสอน

ประชากร อาชพี การทำ� การเกษตร เลยี้ งสตั ว์ เปน็ อาชพี รอง เนอื่ งจาก
ชุมชนบ้านแม่ส่วยอูเป็นชุมชนหย่อมบ้านของชุมชน
ชุมชนบ้านแม่ส่วยอู มีจ�ำนวนประชากรท้ังหมด บ้านห้วยเสือเฒ่า พื้นที่ท�ำการเกษตรมีไม่มาก อีกทั้ง
๗๔คน ซึ่งประกอบไปด้วยประชากรไทย และประชากร พื้นที่ชุมชนติดเขตชายแดนเมียนมา จึงไม่สามารถขยาย
ท่ีไม่มีสถานะทางทะเบียน โดยประชากรภายในชุมช หรอื ไปบุกเบิกเพิ่มได้
นส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กะแย (กะเหร่ียง)(กะแย)
และไทใหญ่ ไฟฟ้า

การประกอบอาชพี บ้านแม่ส่วยอูมีการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการ
ผลติ กระแสไฟฟา้ ใชเ้ องภายในชมุ ชนแมส่ ว่ ยอู โดยไดร้ บั การ
ประชากรภายในชมุ ชนบา้ นแมส่ ว่ ยอู มกี ารประกอบ สนับสนุนจากกระทรวงพลังงานในการจัดหา และจัดตั้ง
อาชพี การเกษตร ไดแ้ ก่ การทำ� ไร่ ปลกู ถ่ัวเหลือง กระเทยี ม แผงโซลา่ เซลลภ์ ายในชุมชนแม่สว่ ยอู
เลย้ี งสตั ว์ การคา้ ขาย งานขา้ ราชการภาครฐั และการรบั จา้ ง
ทั่วไป อาชีพของชุมชน คือการท�ำงานรับจ้างท่ัวไป และ

บรบิ ทชุมชนบ้านหว้ ยมะเขือส้ม๙

ประวตั คิ วามเปน็ มาของชมุ ชน เครื่องเทศ หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ เป็นต้น ระหว่างทาง
พืชพันธุ์ท่ีซ้ือขายได้ตกหล่นระหว่างทาง และมี ต้นมะเขือ
มีผู้เฒ่าเล่าไว้ว่า ชาวกะแยบ้านห้วยมะเขือส้ม นั้น เทศเกดิ ขึ้นมากมาย คนแถวนั้นจงึ พากันเรยี กช่อื หมบู่ ้านว่า
อพยพมาจาก “หมบู่ า้ นเตลยุ ดา” ในประเทศเมยี นมา ตอ่ มา “มะเขือส้ม” เปน็ ภาษาไทยใหญ่ หมายถึง มะเขอื เทศ ใน
เกิดสงครามขับไล่ระหว่างทหารเมียนมากับชนกลุ่มน้อย ภาษาไทย เนื่องจากละแวกนนั้ ชาวไทใหญ่เปน็ อกี กลุ่มหน่งึ
ทำ� ใหช้ าวกะเหรยี่ งแดง(กะแย) อพยพเขา้ สเู่ ขตอาณาจกั รไทย ท่ีพกั อาศัยอยเู่ ช่นกนั
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ในปจั จบุ นั ชาวกะแย บา้ นหว้ ยมะเขอื สม้ มปี ระชากร
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ชาวกะแย(กะเหรย่ี งแดง)มาอาศยั จำ� นวน ๑๔ ครัวเรือน แบง่ เป็น เพศชาย ๓๔ คน เพศหญิง
อยู่บริเวณ “ปางหก” ซง่ึ อยูใ่ นเขตอุทยาน ป่าไม้ เปน็ เขต ๓๒ คน รวมจำ� นวนทงั้ สน้ิ ๖๖ คน ชาวกะแย(กะเหรย่ี งแดง)
หวงหา้ มตามกฎหมาย และประกอบอาชพี ท�ำไร่ ทำ� สวน เป็นเพียงชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านห้วยมะเขือส้ม
ปลูกผกั เลย้ี งหมู ไก่ ปลา เพอ่ื เลี้ยงชีพ นายจา่ กล่ินกหุ ลาบ ประชากรในชมุ ชนสว่ นมากเปน็ กลมุ่ ชาตมิ ง้ ๗๕% ชาวกะแย
ไพร ผู้ใหญ่บ้านห้วยมะเขือส้ม ได้น�ำชาวกะแย(กะเหร่ียง ๑๕% ไทใหญ่ ๖ % และอีก ๔ % เป็นคนจีน คนเมือง
แดง) เขา้ มาอยอู่ าศยั ในหมบู่ า้ นหว้ ยมะเขอื สม้ ๑๔ ครวั เรอื น คนตา่ งดา้ วไมม่ สี ถานะทางทะเบยี น แตช่ าวกะแย (กะเหรยี่ ง
ในอดตี การกอ่ ตง้ั บา้ นหว้ ยมะเขอื สม้ ไดก้ อ่ ตงั้ ขน้ึ โดย แดง) มีการดูแลกันอย่างพี่น้องดูแลกันอย่างเป็นระบบ
กล่มุ นายเลาหลู่ นายปู่หวัง และนายเลาเซ่อ โดยทั้งสามคน พึ่งพาซ่ึงกันและกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดยมีระบบ
เปน็ พน่ี อ้ งกนั เปน็ กลมุ่ ชนแรกทตี่ ง้ั บา้ น ณ บา้ นหว้ ยมะเขอื สม้ โครงสร้างการบริหารในหมู่คณะดังน้ี นายเป้ ไม่มีชื่อสกุล
ท้ังสามเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ม้งโดยการต้ังชื่อบ้านตามช่ือ เปน็ ผนู้ ำ� ชมุ ชนกะแย (กะเหรย่ี งแดง) และนายอยุ้ ไมม่ ชี อื่ สกลุ
พนั ธพ์ุ ชื สวนครวั ซง่ึ หมบู่ า้ นหว้ ยมะเขอื สม้ เปน็ เสน้ ทางผา่ น กับนายแช ไม่มชี ่อื สกลุ เปน็ รองผนู้ ำ� ชุมชนกะเหรย่ี งแดง
การคา้ ขายระหวา่ งพมา่ กบั คนไทย ชาวพมา่ จะลงมาในเขต
ไทยเพื่อรับซ้ือของบริโภค เช่น ข้าวสาร น้�ำมันพืช เกลือ

๙ ขอ้ มูลการสัมภาษณผ์ นู้ าชาวกะแย นายเป้ และนายอ้ยุ และข้อมูลกจิ กรรมเวทเี กบ็ ข้อมลู รายชุมชน เดอื นธันวาคม ๒๕๖๒

ข้อมูลกลุม่ ชาติพันธุ์กะแย(กะเหรย่ี งแดง) จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน 35

การประกอบอาชพี ๓. ฤดรู ้อน อยู่ในชว่ งระหว่างเดอื นมีนาคม – เดือน
พฤษภาคม ในฤดรู อ้ น พื้นทีช่ ุมชนจะไมค่ อ่ ยรอ้ น เนอื่ งจาก
เน่ืองด้วยชาวกะแย เปน็ กลมุ่ ประชากรส่วนนอ้ ยใน พนื้ ทช่ี มุ ชนอยสู่ งู เกดิ ระดบั นำ�้ ทะเล ๙๐๐ องศาเซลเซยี ส จะ
ชุมชน ท่ีอพยพเข้ามาภายหลัง ท�ำให้ไม่มีพื้นที่ท�ำกิน โดย มคี วามเย็นตลอดท้งั ปี
ชาวกะแยในชมุ ชนมอี าชพี หลกั คอื รบั จา้ งทว่ั ไป ทำ� การเกษตร
พชื สวน และคา้ ขาย ซงึ่ อาชพี การรบั จา้ งของชาวกะแยบา้ น วัฒนธรรมการแตง่ กาย
ห้วยมะเขือส้ม เป็นอาชีพที่สามารถดูแลค่าใช้จ่ายใน
ครอบครัวได้ วัฒนธรรมการแต่งกาย ชาวกะแย(กะเหร่ียงแดง)
มชี ดุ ประจำ� เผา่ ทเี่ ดน่ ชดั เปน็ ของตนเอง โดยชาย นงุ่ กางเกง
ภมู ิศาสตร์ขอบเขตชุมชน สะดอ เสอ้ื เชดิ สขี าวแขนยาว เอาผา้ แดงพนั ศรี ษะ และรอบเอว
ทิศเหนอื ติดต่อกบั หมูบ่ า้ นรวมไทย (บ้านปางองุ๋ ) หญิงนุ่งผ้าทอสีแดงสวยงาม พลัดบนบ่าขวา และผ้าทอ
ทศิ ตะวันอออก ตดิ ติดกับโรงเรียนรม่ เกลาปางตอง รดั ผา้ สะโพก ศรี ษะพนั ดว้ ยผา้ ทอสแี ดง โดยมเี ครอื่ งประดบั
ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกบั ชายแดนพม่า กำ� ไลขอ้ มอื กำ� ไลขอ้ เทา้ ตขี น้ึ ดว้ ยเงนิ ลกู ปดั รอ้ ยเปน็ สรอ้ ยคอ
ทศิ ใต ้ ตดิ ตอ่ กับบ้านนาป่าแปก เงินยูโรร้อยเป็นสร้อยคอเช่นกัน เพ่ือความสิริมงคลและ
ความสวยงาม ชาวกะแย(กะเหร่ียงแดง) มีเอกลักษณ์
ลกั ษณะภมู ิประเทศ วัฒนธรรมการแต่งทเี่ ป็นของตนเอง

พนื้ ทส่ี ว่ นใหญข่ องบา้ นหว้ ยมะเขอื สม้ เปน็ ภเู ขาสลบั ความเชือ่ จารตี วถิ วี ัฒนธรรมประเพณีทสี่ �ำคัญ
ซับซ้อน พื้นที่ด้านทิศเหนือ และทิศตะวันตกติดชายแดน ตอ่ ชาวกะแยบา้ นห้วยมะเขือส้ม
ประเทศพม่ามีพ้ืนที่ป่าท่ีอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลาย
ของพชื พรรณ และสัตวป์ า่ นานาชนดิ เป็นแหลง่ ตน้ น�ำ้ และ ประเพณีความเชื่อในชมุ ชน
เขตรกั ษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ มีแม่น�ำ้ และลำ� หว้ ย มคี วามสมบูรณ์ ชาวกะแย(กะเหรี่ยงแดง) บ้านห้วยมะเขือส้ม
ของระบบนิเวศตามธรรมชาติ ท�ำให้ยอดดอยถูกปกคลุม มีความเช่ือและนับถือผี มีพิธีกรรมเล้ียงผี ท้ังผีป่า ผีบ้าน
ด้วยเมฆหมอกตลอดทง้ั ปี เกดิ ทศั นยี ภาพทงี่ ดงาม มแี หลง่ ผบี รรพบรุ ษุ โดยการเชอื ดไก่ และมพี ธิ กี รรมเสยี่ งทายทำ� นาย
ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติที่ส�ำคัญของชุมชน เป็นชุมชนท่ีมี ความเป็นอยู่ โดยมีผู้น�ำในการประกอบพิธีกรรมในแต่ละ
เส้นทางการท่องเที่ยวผ่าน ทุกปีในช่วงฤดูกาลท่องเท่ียว ชมุ ชน ในการทำ� พธิ นี นั้ ผนู้ ำ� ในการประกอบพธิ กี รรมจะเปน็
จะมีกล่มุ นักท่องเท่ียวเขา้ มาในชุมชนจ�ำนวนมาก คนเลือกไก่ท่ีจะท�ำพิธีเชือดไก่เอง เพ่ือดูกระดูกน่องไก่ ใน
การท�ำนายความเป็นอยู่ สภาพอากาศ ความเป็นไปของ
ลกั ษณะภมู ิอากาศ ชุมชน หากผลออกมาไม่ดี จะท�ำพิธีแก้โดยการไปท�ำพิธี
ที่บ้านผู้น�ำในการประกอบพิธีกรรมด้วยการให้ผู้ใหญ่
สภาพอากาศโดยทว่ั ไปของพนื้ ทีช่ ุมชน มี ๓ ฤดูกาล ไดแ้ ก่ ท่ีชาวบ้านเคารพนับถือ อย่างน้อย ๓ - ๗ คน ผูกข้อมือ
ของผู้น�ำในการประกอบพิธีกรรม ในการประกอบกิจกรรม
๑. ฤดฝู น ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ตามประเพณีของกะเหรี่ยงแดง จะมีการท�ำนายกระดูกไก่
ท�ำให้เกิดฝนตกระหว่างเดือนมิถุนายน - เดือนตุลาคม ทุกคร้ัง ซ่ึงชาวกะแยมีประเพณีหลักๆอยู่ ๒ ประเพณี
โดยฝนจะตกชุกประมาณเดือนสิงหาคม คือ ประเพณปี อยต้นที และประเพณปี อยขา้ วตม้
ประเพณีปอยตน้ ที
๒. ฤดหู นาว ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ออก เปน็ ประเพณที จ่ี ดั ทำ� ขน้ึ ทกุ ปี ในอดตี ณ “โบโ่ พด่ ดู อร”์
เฉียงเหนือ น�ำเอาความหนาวเย็นมาระหว่าง เดือน มีครอบครวั ร�่ำรวย มีลกู สาว ด้วยกนั ๗ คน เปน็ ครอบครัว
พฤศจกิ ายน – เดือนกมุ ภาพนั ธ์ ซ่ึงอากาศจะหนาวจดั มาก
หมอกหนา ในชว่ งเดอื นมกราคมจะมอี ณุ หภมู เิ ฉลย่ี ๑๐ -๑๙
องศาเซลเซยี ส

36 ข้อมูลกลมุ่ ชาตพิ ันธุ์กะแย(กะเหรย่ี งแดง) จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

ที่มีฐานะมากที่สุดในหมู่บ้าน มีป้ากับหลานชายคู่หน่ึง แปลกใจให้กับทุกคน ต่อมาแม่ของฝ่ายหญิงได้มอบก�ำไล
ซ่ึงหลานชายก�ำเนิดมาด้วยสภาพร่างกายแปลกกว่าปกติ ของตนใหส้ องสามภี รรยา ณ กระทอ่ มในไร่ แตพ่ อกลบั บา้ น
คือ มีแต่ส่วนศีรษะ ไม่มีช่วงล�ำตัวและแขนขา เป็นที่ พบก�ำไลดังกล่าวอยู่บนหิ้งพระ จึงเกิดความสงสัย และ
รงั เกยี จของชาวบา้ น วนั หนงึ่ ชายผนู้ พี้ บเจอบตุ รสาวคนที่ ๗ ตอ้ งการพสิ จู นค์ วามจรงิ จงึ แอบเขา้ ไปในหอ้ งนอนของคสู่ ามี
ของเศรษฐี เกิดตกหลุมรกั จึงวอนขอป้าของตน ให้ไปสู่ขอ ภรรยาในตอนกลางคนื และเอาฝา้ ยทผ่ี กู นอ่ งตดั ออกมาจดุ ไฟ
บุตรสาวเศรษฐี ผเู้ ป็นป้าปฏเิ สธพร้อมบอกหลานวา่ “เรามี เพ่ือให้มีแสงสว่างและสามารถมองเห็นความเป็นไปได้
ฐานะยากจน เจา้ ไมม่ เี ทา้ ไมม่ แี ขน จะเอาอะไรไปเลยี้ งดเู ขา” พบชายหนมุ่ รปู งามนอนขา้ งลกู สาวของตน จงึ ทำ� ลายศรี ษะ
อย่างไรก็ตามชายผู้น้ียังคงยืนกรานให้ป้าของตนไปสู่ขอ ท่ีเป็นเปลือกนอก ท่ีอยู่ปลายเท้าของชายหนุ่ม ด้วยการ
บุตรสาวเศรษฐีอยู่ดี ผู้เป็นป้าจนใจท่ีจะปฏิเสธหลานชาย ทุบให้แตก พอรุ่งเช้าชายหนุ่มตื่นมาไม่พบศีรษะของตน
และด้วยความสงสารหลานชาย จึงไปยืนอยู่ข้างก�ำแพงร้ัว จึงชวนภรรยากลับสู่สรวงสวรรค์ ด้วยการเรียกมา้ ศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ
ของบา้ นเศรษฐี โดยไม่กล้าแม้จะเอ่ยค�ำทักทายใด พอกลับ มาเป็นพาหนะ แล้วพากันขี่ม้าเหาะขึ้นไปบนฟ้า ชาวบ้าน
ถึงบ้านเม่ือหลานชายถาม ป้าก็ยังคงตอบเป็นประโยคเดิม พร้อมพ่อแม่ฝ่ายหญิง เห็นดังนั้นจึงพาการตีฆ้อง มอง
เป็นเวลา ๗ วนั ๗ คนื ในเย็นท่ี ๗ ภรรยาเศรษฐอี อกมา เพื่อเรียกให้ท้ังคู่กลับมา แต่ชายหนุ่มไม่สนใจ ยังคงเหาะ
หนา้ บา้ น พบปา้ ของชายศรี ษะเดยี ว เมอื่ สอบถาม ไดค้ วามวา่ ข้ึนไปเรื่อยๆ ในขณะนั้นเสียงเป่าแคนดังขึ้นมา ชายหนุ่ม
ชายศรี ษะเดยี วตอ้ งการ สขู่ อลกู สาว ภรรยาเศรษฐใี หข้ อ้ เสนอ หนั หลงั กลบั มาบอกวา่ “ในทกุ ปใี หเ้ ปา่ แคน ตฆี อ้ ง มอง แบบน้ี
ท่ีไม่มีทางเป็นไปได้ว่า ให้ชายศรีษะเดียวสร้างสะพานเงิน เราจะกลับมาหาพวกเจ้าปีละครั้ง” พอพูดจบชายหนุ่มน�ำ
สะพานทองจากบ้าน มาถึงบ้านเศรษฐี แล้วจึงจะยก “ไมเ้ ทา้ ” ของตนเสยี บกลางหมบู่ า้ น เพอื่ เปน็ ตวั แทน ของตน
ลกู สาวให้ ปา้ ชายศรี ษะเดยี วจงึ นำ� คำ� พดู ดงั กลา่ วมาบอกกลา่ ว ตอ่ มาชาวกะเหรี่ยงแดงจงึ ถอื เรือ่ งนี้เปน็ ตน้ แบบ ในการจัด
หลานชาย ด้านบุตรสาวทั้ง ๗ ของเศรษฐี ได้ยินเช่นน้ัน ประเพณีปอยต้นที เพื่อระลึกถึงคู่สามีภรรยาดังกล่าว
บุตรสาวคนแรกถึงคนที่ ๖ ปฏิเสธชายศรีษะเดียว มีเพียง ตามค�ำสัญญาของชายหนุ่มให้กลับมาดูแลความเป็นอยู่
บุตรสาวคนสุดท้อง ท่ียินยอมจะสร้างครอบครัวกับชาย ความสงบสขุ ของชมุ ชน“ไมเ้ ทา้ ”แทนตน้ ทีทชี่ าวกะเหรยี่ งแดง
ศีรษะเดียว ในค�่ำคืนของวันนั้น แม่ภรรยาเศรษฐีออกมา จดั ทำ� ขน้ึ ประเพณปี อยตน้ ทคี ลา้ ยกนั กบั ประเพณสี งกรานต์
หนา้ บา้ น ไดเ้ หน็ แสงสวา่ งวาววาบ จากบา้ นชายศรี ษะเดยี ว วันขึ้นปีใหม่ไทย เป็นการแสดงความเคารพ สักการะ
เลยตะโกนเรียกสามีของตนออกมาดู พบเห็นสะพานเงิน สิ่งศักด์ิสิทธิ์ ท่ีคอยคุ้มครองชุมชนให้อยู่ร่มเย็นเป็นสุข
สะพานทองทีท่ อดมาจากบา้ นชายศรี ษะเดยี ว ถึงหนา้ บ้าน อีกทั้งเป็นการระลึกถึง บรรพบุรุษชาวกะเหรี่ยงแดง
ของตน เศรษฐจี งึ กลา่ วกบั ภรรยาวา่ “นน่ั ไง ชายศรี ษะเดยี ว โดยหน่ึงปีจะจัดอยู่ ๒ รอบในเดือนเมษายน และเดือน
ท�ำได้ เธอต้องยกลูกสาวให้เขาตามท่ีพูดไว้” เช้าวันรุ่งข้ึน พฤศจิกายน ในการก�ำหนด วัน เวลา จัดกิจกรรม
ชายศีรษะเดียวพร้อมป้าเข้าไปพบฝ่ายหญิงพร้อมบุตรสาว ชาวกะเหรีย่ งแดงจะจดั พิธดี กู ระดูกไก่ เพอ่ื กำ� หนดวัน และ
คนสดุ ทอ้ งของเศรษฐไี ดต้ กลงครองเรอื นกบั ชายศรี ษะเดยี ว ในการจัดประเพณีปอยต้น มีกิจกรรม ๓ วัน คือ วันแรก
โดยครอบครัวของฝ่ายหญิงไม่มีใครยอมรับแต่อย่างใด รวมคณะตดั ต้นไมส้ ะเป่ กอ่ นตัดไม้สะเป่ นำ� กลว้ ยดิบ ๑ หวี
บุตรสาวคนสุดท้องของเศรษฐีและชายศีรษะเดียว เหรยี ญบาท และ ขา้ วตอก ๑ กำ� มอื ทำ� พธิ ขี อตดั ตน้ ไมส้ ะเป่
อยู่กินด้วยกันครองรักกันอย่างคนทั่วไป และในทุกวัน วนั ทส่ี อง คนในชมุ ชนรว่ มกนั ตกแตง่ ตน้ ไมส้ ะเป่ ณ ลานตน้ ธี
ท่ีครอบครัวเศรษฐีต้องออกไปท�ำไร่ ได้ชักชวนให้คู่สามี วันท่ีสาม ท�ำการปลูกต้นธี โดยทุกคนจะแต่งกายด้วยชุด
ภรรยาไปดว้ ย ซงึ่ สองสามภี รรยากป็ ฏเิ สธทจี่ ะไปดว้ ยทกุ ครง้ั ชาตพิ นั ธ์ุ นำ� ผา้ สขี าว แตง่ ดว้ ยไหมสแี ดง เหลา้ หวานไกต่ วั ผู้
แต่ทว่าท้ังสองคนกลับไปถึงไร่ก่อนทุกคร้ัง สร้างความ สแี ดง ๒ ตัว และหมู ๑ ตัว ประกอบพธิ ี โดยผ้นู �ำในการ

ข้อมูลกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุกะแย(กะเหร่ยี งแดง) จังหวดั แมฮ่ ่องสอน 37

ประกอบพธิ จี ะทำ� นายความสงบสขุ ของหมบู่ า้ นจากถงุ นำ�้ ดี “เก่ตะส่ีดา” ปีละครั้งหลังเก็บเก่ียวข้าวเสร็จจะท�ำพิธีน้ี
ของหมู จากน้ันชาวบ้านจะร่วมกันประกอบอาหารจากไก่ เพื่อให้การเกษตรดขี น้ึ โดยการปลกู ตน้ ไมน้ วิ ๓ ตน้ หา่ งกนั
และหมทู ที่ �ำพิธี และนำ� ไปถวายต้นทีอีกครงั้ แล้วจงึ ท�ำการ ๓ เมตร น�ำไก่ตัวเมียท�ำพิธีเลี้ยงถวายต้นละ ๒ ตัว
รดนำ้� ตน้ ที รำ� วงรอบตน้ ทที ัง้ ชายหญิง โดยมกี ารตฆี อ้ ง มอง เป็นจ�ำนวน ๖ ตัว ประเพณีส่วนใหญ่ชาวกะเกรี่ยงแดง
และเป่าแคน เปน็ เสยี งดนตรปี ระกอบ จากนัน้ จะพากันไป จะด�ำเนินการต่อเน่ืองทุกปี ประเพณีใหญ่ ๒ ประเพณี
รำ� วงไปยงั บา้ นผนู้ ำ� ในการประกอบพธิ ี และรดนำ้� ดำ� หวั ผใู้ หญ่ ดังที่กล่าวมา ข้างต้นในที่นี้ชาวกะเหร่ียงแดงยังมีประเพณี
เปน็ อันเสรจ็ พิธี ท่ีโดดเด่น คือ ประเพณีงานแต่งงาน งานแต่งงาน
ประเพณปี อยขา้ วตม้ ชาวกะเหรี่ยงแดงจะแต่งงานด้วยกันอยู่ ๒ รอบ รอบแรก
ชาวกะแย(กะเหรยี่ งแดง) จะจดั ประเพณปี อยขา้ วตม้ สขู่ อฝา่ ยหญงิ ฝา่ ยชายนำ� ญาตผิ ใู้ หญ่ ๓ คน ไปสขู่ อฝา่ ยหญงิ
ทกุ ปๆี ละครั้งในหว้ งเดอื นตลุ าคม - เดอื นพฤศจิกายน เพ่อื จากพ่อแม่ฝ่ายหญิง โดยการท�ำพิธีจากกระดูกไก่เช่นเดิม
เป็นการไหว้บูชาหัวแม่น้�ำ และขอพรส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท่ีเคารพ ท�ำนายการใช้ชีวิตคู่ว่าไปกันรอดหรือไม่ หากผลท�ำนายใช้
นับถือให้ได้ผลผลิตตามท่ีต้องการตามความเช่ือของ ชีวิตไปกันไม่รอด ให้ฝ่ายหญิงและฝ่ายชายเลิกรากัน
ชาวกะเหรยี่ งแดง โดยจะประกอบพธิ ี ๓ วนั วนั แรก จะรวมตวั กนั แตห่ ากผลทำ� นายไปกนั ไดร้ อด ใหท้ งั้ สองฝา่ ยนำ� ไกค่ นละตวั
ไปเกบ็ ใบตองหอ่ ขา้ วตม้ กลบั มายงั บา้ นผนู้ ำ� ชมุ ชน และแบง่ มาท�ำพิธีเรียกขวัญพร้อมท�ำพิธีงานเลี้ยงเพื่อนฝูง ผู้ใหญ่
ให้แต่ละครัวเรือนเท่าๆกัน เพื่อให้แต่ละครอบครัวน�ำกลับ ทัง้ สองเปน็ อันเสร็จพธิ ี รอบสอง ทำ� พิธแี ต่งงานเพ่อื ยนื ยัน
ไปห่อขา้ วตม้ มัดที่บา้ นตนเองวันทสี่ อง แตล่ ะบ้านจะท�ำพธิ ี การใชช้ วี ติ คู่ การทำ� พธิ รี อบสองนตี้ อ้ งทำ� หลงั จากคลอดบตุ ร
เรยี กขวญั และประกอบพธิ “ี ซะค”ู่ คอื เรยี กหมอผมี าทำ� พธิ ี คนแรกแล้ว เป็นการเลี้ยงผู้ใหญ่ทั้งทางฝ่ายหญิงและ
สิ่งอัปมงคล โดยจะทำ� พิธี ๓ เวลาด้วยกนั คือ ๑) ตอนเชา้ ฝา่ ยชายพร้อมบตุ ร โดยไกจ่ ำ� นวน ๑๒ ตวั หมคู นละ ๒ ตวั
ประมาณ ๑๐.๐๐ น. ตอนเย็นประมาณ ๑๖.๐๐ น. และ “พิธีท�ำขวัญทารก” พิธีน้ีเป็นพิธีที่ท�ำให้กับลูกแรกเกิด
เที่ยงคืน ในการประกอบพิธีนี้จะประกอบพิธีย่อยอีก เป็นพิธีมงคลท�ำขวัญเพื่อให้จิตใจอยู่กับเน้ือกับตัว ไม่มี
มากมาย คอื พิธี “ปอ่ ป๋ีโล่” เปน็ น�ำหนาม ใบหมากล้ินช้าง โรคภยั ไขเ้ จ็บ การตงั้ ช่ือเด็กนั้นจะแต่งช่ือจาก “โจ๊ะอิเกร่”
(เพกา) อย่างละ ๑ ใบ ไปทางทศิ เหนือหมู่บ้านพรอ้ มตฆี ้อง โดยใหน้ กั ปราชญเ์ ปน็ ผปู้ ระกอบพธิ ี เมอื่ คลอด บตุ รออกมา
กลอง มอง และไก่ ๑ ตัว เพือ่ เชิญ “โพตค้ี ลี่” คอื ผที ่ีดูแล ได้ ๓ วนั แรก ยงั ถือว่าลูกเปน็ ลูกผี ทารกครบ ๓ วัน ท�ำพธิ ี
ปกปกั ษ์ รกั ษาหมบู่ า้ น โดยมคี วามเชอ่ื วา่ “โพตค้ี ล”ี่ จะเลอื ก เรียกขวัญ แม่ของทารกน�ำทารกลง มาใต้ถุ่นบ้านและ
บ้านที่สิงสถิตย์ระหว่างมาร่วมพิธีกับชุมชนเอง ชาวบ้าน เดนิ กลบั ขน้ึ ไปคนื บนบา้ น ทำ� พธิ ที ำ� นายจากการดกู ระดกู ไก่
จะน�ำไม้ไผ่มาจักสานและสวมใส่เคร่ืองแต่งกายด้วย ๑ ตวั ส�ำหรับทารกไก่ ๑ ตัว สำ� หรับการทำ� พธิ ชี ว่ งเช้าและ
ชุดชาติพันธุ์กะแยให้ “โพต้ีคล่ี” ระหว่างท่ี“โพตี้คล่ี” เที่ยง ไก่ ๑ ตัวท�ำพธิ ีจากระดูกไก่ เปน็ อันเสรจ็ พธิ ี
พักอาศัยอยู่ในบ้าน เจ้าของบ้านที่ “โพต้ีคล่ี” เลือกมา นอกจากนี้ ชาวกะแย(กะเหรี่ยงแดง) เช่ือว่า
พกั อาศยั อยดู่ ว้ ยจะนำ� ขา้ วตม้ เหลา้ หวาน และของบชู าตา่ งๆ ในชีวิตหน่ึงของแต่ละคนจะมีพิธีกรรม ๓ อย่าง
ท่ีเตรียมไว้ เซน่ ไหว้บชู า “โพต้คี ล”่ี ทกุ วัน เปน็ เวลา ๓ คนื ประกอบด้วย ๑) พิธีท�ำขวัญทารก ๒) พิธีแต่งงาน
๓ วนั ในระหวา่ งประเพณปี อยขา้ วตม้ เมอ่ื เสรจ็ สน้ิ กจิ กรรม ๓) พิธศี พ
ตามประเพณี ชาวบ้านจะต้ังขบวนพรอ้ มตกี ลอง มอง แคน
ไปสง่ “โพตีค้ ลี”่ ยังทีร่ ับมา เป็นอันเสร็จพธิ ี นอกจากนี้มีพธิ ี
“เกด่ อ” คอื การปลกู ตน้ ไมก้ ลางหมบู่ า้ น และทำ� พธิ ที ำ� นาย
ความสงบสุขในหมู่บ้านด้วยกระดูกไก่ตัวเมีย และ ท�ำพิธี

38 ขอ้ มลู กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุกะแย(กะเหรี่ยงแดง) จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

บริบทชมุ ชนบ้านดอยแสง

ประวัติความเป็นมาชมุ ชน ในการตามประวตั ทิ มี่ าของหมบู่ า้ นนน้ั มไิ ดม้ กี ารจด
บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร หากยังมีเรื่องเล่าจากผู้เฒ่า
หมบู่ า้ นดอยแสงในปจั จบุ นั เปน็ หมบู่ า้ นของชาวกะแย ในชุมชนดังนี้ว่า ในอดีตเดิมทีพื้นท่ีบริเวณหมู่บ้านเป็นป่า
(กะเหรยี่ งแดง) ซง่ึ ภมู ศิ าสตร์ ดา้ นทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั หมบู่ า้ น ซ่ึงเคยเป็นที่อยู่อาศัยแบบกระจัดกระจายของผู้คน
บา้ นไมส้ ะเป่ ทศิ ใตม้ พี นื้ ทต่ี ดิ ตอ่ กบั พน้ื ทพี่ กั พงิ ชว่ั คราวผหู้ นี ไปตามลกั ษณะการทำ� ไรห่ มนุ เวยี น (ปลกู ขา้ วและงา) ระหวา่ ง
ภัยการสู้รบบ้านใหม่ในสอย ส่วนทางด้านทิศตะวันออก ชาวลเว๊ือะและชาวกะแย(กะเหรี่ยงแดง) โดยชาวลเวื๊อะ
ติดกับหมู่บ้านในสอย และพ้ืนที่ด้านตะวันตกติดต่อกับ สว่ นใหญม่ คี วามสามารถในการทำ� เครอื่ งปน้ั ดนิ เผา ซงึ่ ตอ่ มา
ประเทศพม่า ผู้คนส่วนใหญ่นับถือผีบรรพบุรุษแบบด้ังเดิม ชาวลเว๊ือะได้อพยพไปจากบริเวณป่าดังกล่าวเนื่องจาก
และศาสนาพุทธ มีจ�ำนวน ๑ ครอบครัวที่นับถือศาสนา ตอ้ งการหนี “ควายขาว” (ควายสขี าว) ซงึ่ มาอาศยั อยบู่ รเิ วณ
ครสิ ต์ และมศี นู ยก์ ารเรยี นตำ� รวจตระเวรชายแดนเปน็ แหลง่ รอบๆ ชมุ ชนทีอ่ ยู่อาศัย
เรียนรู้ของคนในชมุ ชน ต่อมาได้มีการต่อสู้ของกลุ่มกองก�ำลังไม่ทราบฝ่าย
หมู่บ้านดอยแสง ต้ังอยู่หมู่ที่ ๑๓ ต�ำบลปางหมู (บางแหลง่ ขอ้ มลู ระบเุ ปน็ การสรู้ บระหวา่ งกลมุ่ ออกเสยี งวา่
อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พิกัด LB๗๗๖๔๕๗ “ตอโข่”) เดินทางเข้ามาประชิดทิวเขา “โซโลแล” ซ่ึงมี
ความสูงจากระดับน�้ำทะเล ๓๐๐ เมตร คนในชุมชน หมู่บ้านเล็กๆ เรียก “ดอโฉ่โล” ท่ชี าวกะแย(กะเหรีย่ งแดง)
มีน้�ำและไฟฟ้าใช้ตลอดท้ังปี โดยน้�ำประปาภูเขาต่อจาก อาศยั ปะปนอยู่ หรอื เปน็ ทรี่ จู้ กั ของคนในอดตี วา่ ลานฮ. และ
ล�ำห้วยน�้ำกัด ซ่ึงห่างจากหมู่บ้านประมาณ ๔ กิโลเมตร มีเสาธงชาติไทยปักแสดงอาณาเขตชายแดน (บ้างเล่าว่า
และมีระบบไฟฟ้าจากส�ำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริเวณดังกล่าวจะมรี อ่ ยรอยของต้น อิล/ู กุโทโบ ทีช่ าวบ้าน
จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอนทหี่ มบู่ า้ นตง้ั อยหู่ า่ งจากตวั เมอื งแมฮ่ อ่ งสอน เคยประกอบพธิ กี รรมให้สงั เกตเหน็ ได้)
ประมาณ ๒๘ กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ทางประมาณ ๓๐ นาที ในปีเดียวกันได้เกิดโครงการพัฒนาชายแดนต่างๆ
และสามารถเดนิ ทางเขา้ พ้ืนที่ไดท้ กุ ฤดกู าล ตามมา ซง่ึ โครงการทเ่ี ปน็ ทร่ี จู้ กั กนั ดใี นชมุ ชนไดแ้ ก่ โครงการ
หมู่บ้านดอยแสง เป็นช่ือเรียกหมู่บ้านในทางการ ปลูกส�ำลีและหม่อนไหม ซ่ึงชาวบ้านได้เข้าร่วมโครงการ
ซึ่งเป็นท่ีรู้จักและเรียกช่ือว่า “ตาพรา และในภาษากะแย ควบคู่ไปกับการท�ำไร่หมุนเวียน รวมทั้งเกิดการรวมตัว
(กะเหรี่ยงแดง)และเคยเป็นท่ีรู้จักในนามเรียก “ห้วยไม้จา กลายเปน็ การเรมิ่ ตน้ หมบู่ า้ นดอยแสงในจำ� นวน ๒๘ ครวั เรอื น
ลาน” หรอื “ห้วยไม้แดง” ในภาษาไตใหญ่ ท้ังน้ี ชอื่ เรยี ก ทง้ั น้ี ในชว่ งเรมิ่ แรกยงั มไิ ดม้ กี ารแตง่ ตงั้ ผนู้ ำ� หมบู่ า้ นแตอ่ ยา่ งใด
“ดอยแสง/หลอยแสง” เป็นค�ำเรียกท่ีมาจากภาษาไตใหญ่ จนกระทั่งปี ๒๕๓๖ ได้มีการแต่งต้ังเป็นหมู่บ้านดอยแสง
ซ่ึง ดอย/หลอย หมายถึง ภูเขา และ แสง หมายถึง อัญมณี และแต่งตั้ง นายแซ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรกของหมู่บ้าน
เชน่ เพชร พลอย นิล จินดา เปน็ ตน้ “ตาพรา แล” เปน็ การ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งจนถงึ ปจั จุบัน
รวมของคำ� สองค�ำในภาษากะแย(กะเหรยี่ งแดง)ไดแ้ ก่ค�ำวา่ ผคู้ นกอ่ นการรวมตวั มาเปน็ คนดอยแสงนนั้ สว่ นใหญ่
ตาพรา หมายถงึ ไมแ้ ดงและ คำ� วา่ แล หมายถงึ ล�ำห้วย เป็นชาวกะแย(กะเหรี่ยงแดง) จากหมู่บ้านเก่าในอดีต
ดังน้ันค�ำว่าเรียกว่า “ตาพรา แล” จึงหมายถึง หมู่บ้าน ไดแ้ ก่ ชาวกะแย(กะเหรย่ี งแดง) บา้ นเค๊ียะแล และ แหลวขู่
หว้ ยไม้แดง ตามความหมายของค�ำเรยี กน้นั ซ่งึ เช่อื วา่ พ้ืนท่ี - นาอ่อน ซ่ึงบางส่วนได้อพยพจากหมู่บ้านเก่าดังกล่าว
บริเวณหมู่บ้านเคยเป็นป่าไม้แดงในอดตี ไปอาศัยอยู่และสร้างหมู่บ้านกลายเป็นหมู่บ้านไม้สะเป่/
เทอเตอเมอแล บา้ นหว้ ยโปง่ ออ่ น/เฮป่ แู่ ล บา้ นหว้ ยผงึ้ (นอ้ ย)
/ตีนีแล และบางส่วนได้รวมเข้าไปอาศัยอยู่ในพื้นท่ีพักพิง
ช่วั คราวบา้ นใหมใ่ นสอย

ขอ้ มลู กลุม่ ชาตพิ นั ธุ์กะแย(กะเหรี่ยงแดง) จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน 39

อน่ึงปัจจุบันชาวกะแย(กะเหรี่ยงแดง) บ้านห้วยผึ้ง การคมนาคม
(ตีนแี ล) ยังคงมเี พียงผ้สู ูงอายทุ ี่ยงั รู้สึกผูกพนั กบั พื้นทีอ่ าศัย
อยูป่ ระมาณ ๑๐ หลงั คาเรอื น ทั้งน้ี รนุ่ ลกู หลานส่วนใหญ่ การคมนาคมของบ้านดอยแสง ระยะทางห่างจาก
ได้ย้ายมาอาศัยอยู่ท่ีหมู่บ้านไม้สะเป่(เทอเตอเมอแล) ตวั อำ� เภอเมอื งประมาณ ๓๕ กโิ ลเมตร การเดนิ ทางใชเ้ สน้ ทาง
เปน็ การถาวรแลว้ และมผี เู้ ฒา่ ชมุ ชนไดเ้ ลา่ วา่ หมบู่ า้ นดอยแสง ผ่านบ้านในสอย - บ้านสบสอย ทางเข้าหมู่บ้านเป็นถนน
น้ันมีความเก่ียวเนื่องกับความลึกลับที่น่าสนใจของผู้คน คอนกรีตเสริมไม้ไผ่และเป็นถนนลูกรัง ด้วยระยะทางเป็น
ท่ัวไปอยู่ไม่น้อย ดังเช่นว่า หมู่บ้านดอยแสงเป็นหมู่บ้านท่ี จดุ ๆ
วันดีคืนดีจะมีล�ำแสงไฟสว่างโชติช่วงปรากฏข้ึนมา และ
สามารถมองเห็นไดจ้ ากมมุ ไกล ๆ เปน็ ตน้ สภาพทางภูมิประเทศ
เรื่องเล่าในอีกทางหน่ึง ได้แก่ความเช่ือท่ีว่าหมู่บ้าน
ดอยแสงเป็นแหล่งที่มีอัญมณีภายใต้พื้นดิน ท้ังนี้ ในอดีต มีลักษณะเป็นหุบเขาและเชิงเขาที่สูงชัน อยู่ในเขต
ผเู้ ฒา่ ผแู้ กใ่ นชมุ ชนไดเ้ คยมกี ารประกอบพธิ กี รรมทางความ ป่าสงวนและเขต มีพื้นป่าและดินอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่
แบบดั้งเดิม เพื่อเปิดพื้นท่ีบริเวณที่กล่าวอ้างแล้ว หากแต่ การตง้ั ถิน่ ฐานและท�ำการเกษตร
ไม่ได้รับการยืนยันว่าเป็นความจริงหรือไม่ และเร่ืองเล่า
ดังกล่าวได้กลายเป็นเร่ืองเล่าที่มีเนื้อเร่ืองหลากหลาย สภาพภมู ิอากาศ
และไมม่ ผี ใู้ ดประกอบพธิ ดี งั กลา่ วอกี เลยเนอ่ื งจากความเชอื่
เก่ียวกับค�ำสาปและผู้ประกอบพิธีและการเซ่นสรวงบูชา ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น โดยในฤดูร้อนจะมีอากาศ
ที่ต้องเปน็ สายเลอื ดกะแยดังคำ� เลา่ นัน้ ร้อนจัด อากาศหนาวจัดในฤดูหนาว และฝนจะตกชุก
ในฤดูฝน นอกจากนี้ยังมีหมอกปกคลุมตลอดทั้งปี
ประชากรบา้ นดอยแสง สภาพภูมิอากาศจะมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนท้ัง
๓ ฤดกู าล คอื
ในปัจจุบันชุมชนบ้านดอยแสงมีจ�ำนวนประชากร ฤดรู อ้ น เรม่ิ ตงั้ แตช่ ว่ งระหวา่ งกลางเดอื นกมุ ภาพนั ธ์
๔๑๓ คน แยกออกมาเปน็ ชาย ๒๐๘ คน หญิง ๒๐๕ คน – กลางเดอื นพฤษภาคม มีอากาศรอ้ นจดั
ในจำ� นวนประชากรของชมุ ชน มชี าวบา้ นทไี่ มม่ สี ญั ชาตไิ ทย ฤดฝู น เรมิ่ ตง้ั แตช่ ว่ งกลางเดอื นพฤษภาคม – เดอื น
๒๒๕ คน และไมม่ ีสถานะทางทะเบียน ๑๘๐ คน พฤศจกิ ายน จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งใต้
ทำ� ให้มีอากาศช่มุ ชนื้ ฝนตกชกุ มาก
สภาพทางภมู ศิ าสตร์ ฤดหู นาว เรม่ิ ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายน – กลางเดอื น
กมุ ภาพนั ธ์ จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
หมู่บ้านดอยแสงตั้งอยู่บริเวณเนินที่หุบเขา และความกดอากาศจากประเทศจีน จึงท�ำให้มีอากาศ
แนวชายแดนพม่าด้านทิศตะวันตกของอ�ำเภอเมือง หนาวเยน็ มาก
จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีพื้นท่ีโดยรอบปกคลุมไปด้วยป่าไม้
ทอ่ี ดุ มสมบูรณ์ อาชีพชุมชน

อาณาเขตและท่ตี ้งั อาชพี ของชาวบา้ นกะแยบา้ นดอยแสง ไดแ้ ก่ การทำ�
ไร่หมุนเวียน การท�ำสวน การท�ำนา ชาวบ้านในชุมชน
ทิศเหนอื ติดตอ่ กบั บ้านมะเขอื ส้ม มีอาชีพหลักคือการท�ำการเกษตร และการรับจ้างทั่วไป
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั บา้ นในสอย ในพ้ืนที่ชุมชนมีพื้นที่ท�ำกินน้อย เน่ืองเป็นชุมชนที่ติด
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั บา้ นห้วยโป่งออ่ น ชายแดนพมา่ สว่ นรายไดใ้ นครวั เรอื นมาจากการรบั จา้ งทว่ั ไป
ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับประเทศเมียรมา การทำ� ไร่ ทำ� สวน ท�ำนา ท�ำเพอื่ กินในครัวเรอื นและแบ่งปัน
ไมข่ าย วิถชี ุมชนอยู่แบบเรยี บงา่ ยอยู่แบบพอเพียง

40 ขอ้ มูลกล่มุ ชาติพนั ธุ์กะแย(กะเหรยี่ งแดง) จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

สภาพสังคม สขุ ภาพอนามยั ชมุ ชน

ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวกะแย(กะเหร่ียงแดง)มี บา้ นดอยแสง เป็นชมุ ชนชายแดน มีโรงเรยี น ตชด.
เชอื้ ชาตไิ ทย สญั ชาตไิ ทย และไมส่ ถานะทางทะเบยี น อาศยั มาใหค้ วามร้แู ละดูแลด้านสุขภาพ เดก็ และผู้ใหญ่ มสี ขุ ภาพ
อยู่รวมกันตามพื้นที่สูง มีนิสัยรักความสงบ สันโดษและ อนามัยที่ดี ออกก�ำลังกายทุกวันจากการท�ำการเกษตร
มธั ยสั ถ์ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มคี วามเลอ่ื มใสในพทุ ธศาลนาและ มีอาหารปลอดสารเคมีกินทุกม้ือ และมียาสมุนไพร
สบื ทอดรกั ษาขนบธรรมเนยี มประเพณดี ง้ั เดมิ เอาไวส้ บื ทอด ท่ีหลากหลาย ชาวบ้านในชุมชนมีสุขภาพกาย จิตใจท่ีดี
ตอ่ ๆกนั ไป มีความสุขกับวิถีชีวิตที่เป็นอยู่ ด�ำเนินชีวิตแบบเรียบง่าย
ไม่คดิ อะไรมาก
ระบบการถอื ครองทด่ี นิ
สภาพเศรษฐกจิ
ระบบการถอื ครองทดี่ นิ บา้ นดอยแสง สว่ นใหญไ่ ดร้ บั
มรดกตกทอดจากพ่อแม่ ครอบครัวหนึ่งมีพื้นที่ท�ำกิน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ครอบครัวละ ๓-๔ แปลง ไดแ้ บ่งเปน็ ๒ ลักษณะ (๑) ทด่ี ิน ท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำสวน เพื่อเลี้ยงชีพ หากมีมากเหลือใช้
ทีเ่ ป็นปจั เจก หรือสว่ นบุคคล ได้แก่ พ้นื ท่ีนา พนื้ ท่ีสวน ซ่งึ ค่อยแบ่งปันหรือท�ำการค้าขาย รายรับส่วนใหญ่มาจาก
ถือเป็นกรรมสิทธ์ิเฉพาะบุคคล (๒) พื้นที่ไร่หมุนเวียน การรบั จา้ งทวั่ ไปและการคา้ ขาย เชน่ เปดิ รา้ นขายของชำ� เลก็ ๆ
เปน็ การถอื ครองตามจารตี ประเพณมี าตง้ั แตส่ มยั บรรพบรุ ษุ ขายวัว ควาย หมู ไก่ และหาของปา่ เป็นตน้
ผบู้ กุ เบกิ ทที่ �ำกิน ในการจัดการการถือครองท่ีดินโดยคนใน
หมบู่ า้ นจะมพี นื้ ทแี่ ปลงใหญ่ (แปลงรวม) ทใี่ ชท้ ำ� ไรห่ มนุ เวยี น การเมอื ง การปกครอง
ร่วมกัน ซ่ึงถือเป็นสมบัติของส่วนรวม ทุกคนเป็นเจ้าของ
รว่ มกนั ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวกะแย(กะเหร่ียงแดง)
พ้ืนท่ีท�ำกิน พื้นท่ีขอบเขตชุมชนบ้านดอยแสง เดิมปกครองกันแบบเครือญาติ แต่ปัจจุบันเร่ิมหันมา
มีน้อย สาเหตุคือเป็นชุมชนชายแดน มีอาณาเขตติดกับ ปกครองกันด้วยระบอบประชาธิปไตย ในชุมชนมีการ
ชายแดนพม่า ๑๐ กิโลเมตร จะพนื้ ทใี่ นการท�ำการเกษตร ปกครองดูแลกันอยู่ ๒ ระบบ คือ ผู้น�ำท่ีได้รับเลือกตั้ง
และท�ำสวนท�ำไร่ มีไม่มาก สภาพพื้นที่ชุมชนส่วนมาก หรือแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ เช่น ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต.
เป็นพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์ และพื้นที่ชายแดน ความเส่ียงในการ และคณะกรรมการผู้น�ำหมู่บ้าน และผู้น�ำธรรมชาติ
ไปบุกรุกท�ำลายป่ามีน้อย ปัจจุบันชาวบ้านไม่มีปัญหา ที่ไม่เป็นทางการ เช่น ผู้น�ำทางศาสนา ความเช่ือ หรือ
เรอ่ื งทด่ี นิ ทำ� กนิ ทอี่ ยอู่ าศยั ใชพ้ นื้ ทท่ี มี่ อี ยา่ งคมุ้ คา่ ดแู ลรกั ษา ผู้น�ำทางจิตวิญญาณ
ไมท่ �ำลาย พื้นทีก่ จ็ ะอยู่กบั เราไปตลอด

ขอ้ มลู กล่มุ ชาตพิ ันธุ์กะแย(กะเหร่ยี งแดง) จังหวดั แมฮ่ ่องสอน 41

บริบทชุมชนบ้านหว้ ยผึง้ น้อย๑๐

ประวตั ิความเป็นมา อาณาเขตและท่ตี ้งั

ชุมชนบ้านห้วยผ้ึงน้อย เดิมเป็นพ้ืนที่ป่าแนวเขต ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กับชมุ ชนบา้ นรักไทย
ชายแดน เม่อื ปี ๒๕๐๕ มีชาวกะแย(กะเหรย่ี งแดง) อพยพ ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ชุมชนบา้ นไมส้ ะเป่
มาตงั้ บา้ นเรอื นอยอู่ าศยั ทพี่ น้ื ทแ่ี หง่ นี้ พนื้ ทบ่ี า้ นหว้ ยผงึ้ นอ้ ย ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั ชุมชนบา้ นดอยแสง
มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ มลี ำ� หว้ ยไหลผา่ นชมุ ชน มสี ภาพอากาศ ทิศตะวันตก ติดต่อกับชุมชนประเทศเมยี นมา
ที่เย็นไม่ร้อน สภาพดินเหมาะต่อการเพาะปลูก และมี
เส้นทางเดินรถเดนิ เท้าไปชุมชนอนื่ ได้สะดวก เช่น ไปชุมชน การคมนาคม
บา้ นรกั ไทย บา้ นหว้ ยโปง่ ออ่ น บา้ นหว้ ยมะเขอื สม้ ไปบา้ นไมส้ ะเป่
บา้ นในสอย เปน็ ตน้ การคมนาคมของบา้ นหว้ ยผงึ้ นอ้ ย ระยะทางหา่ งจาก
บา้ นหว้ ยผงึ้ นอ้ ย เปน็ หยอ่ มบา้ นของชมุ ชนบา้ นไมส้ ะเป่ ตัวอ�ำเภอเมืองประมาณ ๕๐ กิโลเมตร การเดินทางใช้
ในชุมชนบ้านห้วยผ้ึงน้อย เป็น ชาวกะแย(กะเหรี่ยงแดง) เส้นทางผ่านบ้านไม้สะเป่ - บ้านในสอย - บ้านสบสอย -
ทั้งหมด นับถือศาสนาพุทธ และผี มีครัวเรือนในชุมชน อ�ำเภอเมอื งแมฮ่ ่องสอน หรือเสน้ ทาง บา้ นหว้ ยโป่งออ่ น -
จ�ำนวน ๘ หลังคาเรือน มีประชากรท้ังหมด ๒๖ คน บ้านทบศอก - บ้านรักไท ส่วนทางเข้าหมู่บ้านถนนลูกรัง
ชาย ๑๕ คน หญิง ๑๑ คน ลำ� บากในการเดนิ ทาง ชว่ งฤดฝู นยากตอ่ การเดนิ ทางเขา้ ออก
อาชพี ในชมุ ชนบา้ นหว้ ยผง้ึ นอ้ ย คอื ๔๐ % ทำ� ไรข่ า้ ว และในชุมชนไมม่ สี ญั ญาโทรศพั ท์ และไม่มีไฟฟ้า
ทำ� สวน ๒๕ % รบั จ้างท่ัวไป ๒๐% และทำ� นา ๑๕ % ใน
ชมุ ชนอยแู่ บบเรยี บงา่ ย พงึ่ พาอาหารจาทรพั ยากรธรรมชาติ สภาพทางภูมปิ ระเทศ
ในปา่ ในนำ้� มอี าหารเพยี งพอตอ่ คนในชมุ ชน เนอ่ื งดว้ ยเปน็
ชุมชนขนาดเล็ก ประชากรไม่มากไม่กี่หลังคาเรือน ท�ำให้ บ้านห้วยผึ้งน้อย มีลักษณะเป็นหุบเขาและเชิงเขา
การจัดอาหารจากทรพั ยากรธรรมชาติ และจากพื้นทีไ่ ร่ นา ท่ีสูงชัน อยู่ในเขตป่าสงวน และเขตพื้นป่าลุ่มน�้ำช้ัน ๑,๒
สวน ได้อยา่ งเพยี งพอ พน้ื ทลี่ ำ� บากในการเดนิ ทางขนสง่ การสอ่ื สารไมม่ ี ระบบไฟฟา้
เขา้ ไมถ่ งึ และในพน้ื ทม่ี สี ภาพทด่ี นิ อดุ มสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ าร
สภาพทางภูมศิ าสตร์ ต้งั ถ่ินฐาน และทำ� การเกษตร

บ้านห้วยผ้ึงน้อย ต้ังอยู่บริเวณเนินที่หุบเขา แนว สภาพภมู ิอากาศ
ชายแดนพม่าด้านทิศตะวันตกของอ�ำเภอเมือง จังหวัด
แม่ฮ่องสอน มีพื้นท่ีโดยรอบปกคลุมไปด้วยป่าไม้ที่ บา้ นหว้ ยผง้ึ นอ้ ย มอิ ากาศแบบชนื้ เยน็ โดยในฤดรู อ้ น
อดุ มสมบรู ณ์ เส้นทางเขา้ ออกชายแดน และเปน็ เส้นทางใน จะมีอากาศเย็นสบาย อากาศหนาวจัดในฤดูหนาว และ
การทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธรรมชาติ และวถิ วี ฒั นธรรม เชน่ ทอ่ งเทยี่ ว ฤดูฝนจะตกชุกในฤดูฝน นอกจากน้ียังมีหมอกปกคลุม
เรียนวิถีชุมชนกะแย เรียนรู้ชมแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดทงั้ ปี สภาพภมู อิ ากาศจะมคี วามแตกตา่ งกนั เปน็ ชมุ ชน
พนั ธุป์ ลา นำ�้ ตก ไร่หมนุ เวยี น และตลาดชายแดน ท่ีมีสภาพอากาศดีตลอดทั้งปี เหมาะต่อการท�ำท่องเที่ยว
และการมาพกั ผอ่ น

๑๐ ข้อมลู หมู่บ้านป้องกนั ตนเองชายแดน ประจาปี ๒๕๖๑. สานักงานพฒั นาพ้ืนทช่ี ายแดนกองกาลงั นเรศวร
และศนู ยพ์ ัฒนาชายแดนภาค3. ชุดปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั ชายแดนและพัฒนาที่ ๑๗

42 ข้อมลู กลุม่ ชาตพิ ันธุ์กะแย(กะเหรยี่ งแดง) จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

บริบทชมุ ชนบา้ นหว้ ยช่างเหลก็

ประวตั ิความเป็นมา พื้นทที่ ำ� กนิ ในชมุ ชน

ชมุ ชนบา้ นหว้ ยชา่ งเหลก็ เปน็ หยอ่ มบา้ นบรวิ ารของ เอกสารสทิ ธก์ิ ารถอื ครองทดี่ นิ หมบู่ า้ นหว้ ยชา่ งเหลก็
บา้ นห้วยแกว้ ซงึ่ บา้ นหว้ ยแก้ว ชาวบ้านทั้งหมดเป็นพน่ี ้อง พื้นท่ีถือครองที่ดินที่อยู่อาศัยและท่ีดินในการท�ำมาหากิน
ชาวปกาเกอญอ ในการประวัติความเป็นของชุมชน ทง้ั หมด ๙๙% ไม่มเี อกสารสทิ ธ์ิ พื้นท่ีอยู่ในเขตป่าลุ่มน�ำ้ ชัน้
บ้านห้วยช่างเหล็ก มีการให้ข้อมูลมาว่าบ้านห้วยช่างเหล็ก ๑ ,๒ และอยู่ในเขตปา่ สงวนและเขตป่าอุทยานแห่งชาตซิ ึ่ง
ได้มีช่างชาวกะแย(กะเหร่ียงแดง)คนหน่ึง ได้หลบหนีจาก ชาวบ้านมีความเส่ียงต่อการใช้ประโยชน์ ในท่ีท�ำกันอยู่ใน
คา่ ยทหารพม่าทีม่ กี ารส้รู บกับ ชนกลมุ่ นอ้ ยทม่ี ฐี านที่ม่นั อยู่ ปัจจบุ ัน
บรเิ วณแนวชายแดนจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอนตง้ั แตอ่ ำ� เภอปางมะผา้
ลงไปถงึ อำ� เภอสบเมย เลยลงไปถงึ พนื้ ทจ่ี งั หวดั ตาก ชา่ งคนนน้ั เศรษฐกจิ ของหมบู่ า้ น
ไดม้ าอยอู่ าศยั ในพนื้ ทลี่ มุ่ นำ้� ตอนเหนอื ของลำ� หว้ ย บา้ นหว้ ยแกว้
เป็นคนท่ีตีเหล็กเก่ง สามารถตีเหล็กท�ำเป็นสิ่งเคร่ืองใช้ ลักษณะเศรษฐกิจของหมู่บา้ นห้วยชา่ งเหลก็ คนใน
ทางการเกษตรไดห้ ลายอยา่ ง และเครอ่ื งมอื วสั ดอุ ปุ กรณต์ า่ งๆ ชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการปลูก
ช่างชาวกะแย(กะเหรี่ยงแดง) มาอยู่ในชุมชน ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ ปลูกขา้ วไร่ ปลูกพืชไมผ้ ลในสวน และมี
ไดฝ้ กึ สอนชาวบา้ น หรอื ผทู้ สี่ นใจเรยี นรู้ เพอ่ื นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ระบบการเลี้ยงสตั ว์ เชน่ หมดู �ำ ไก่ วัว ควาย อาชีพทัง้ หมด
และทำ� เปน็ อาชพี กไ็ ด้ โดยไดถ้ า่ ยทอดความรใู้ หก้ บั ชาวบา้ น ของชาวบา้ นทำ� เพอื่ บรโิ ภคในครวั เรอื นเปน็ หลกั ยกเวน้ การ
เท่าที่ตัวเองมีความรู้ ท�ำให้คนชุมชนได้รับความรู้สามารถ ปลกู ข้าวโพดจะปลูกไว้ขายเปน็ หลกั
ตีเหล็กได้หลายคน เม่ือมีชาวบ้านชุมชนอ่ืนหรือ รายได้ในการท�ำการเกษตร ที่สร้างราย คือ
ชุมชนต่างจังหวัดต่างอ�ำเภอ ต้องการเรียกใช้ก็จะเป็น การปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ รายได้การขายกาแฟ และ
กลุ่มช่างเหล่าน้ันท่ีถูกเรียกให้ไปท�ำงานให้ เป็นเหตุที่มา การขายสัตว์เล้ียง และอีกส่วนหน่ึงมาจากการรับจ้าง
ของชุมชนชา่ งตีเหลก็ ส่วนรายจ่ายโดยมากเป็นเร่ืองการลงทุน ท�ำการเกษตร
ราว ๒๐๐ กว่าปี ที่ช่างกะแย(กะเหรี่ยงแดง) ค่าปุ๋ยค่ายา วัสดุอุปกรณ์ เมล็ดพันธุ์ และร่ายจ่ายอีกส่วน
หลบหนีเข้าพักอาศัยกับชาวบ้านในฝั่งไทย แล้วน�ำความรู้ มาจากค่าใช้จ่ายในครัวเรือนของสมาชิกในครอบครัว
ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ ใ น ก า ร ตี เ ห ล็ ก ม า ถ ่ า ย ท อ ด ใ ห ้ กั บ เช่น ค่าการศกึ ษาเล่าเรียนบุตร
ชาวบา้ นฝง่ั ไทยไดเ้ รยี นรู้ เอาไปใชป้ ระโยชน์ ตอ่ มาประมาณ รายได้จากการรับจ้าง ในหมู่บ้านห้วยช่างเหล็ก
ปี ๒๕๑๕ เกิดการตั้งช่ือหมู่บ้านตามนายช่างตีเหล็ก ชาวบ้านท่ีไม่มีพ้ืนที่ท�ำกินจะรับจ้างท่ัวไป ในชุมชน เช่น
เหลา่ นั้น วา่ หมู่บา้ นหว้ ยชา่ งเหล็ก รับจ้างในพ้ืนท่ีปลูกข้าวโพด ปลูกถั่วเหลือง และรับจ้าง
เป็นแรงงานก่อสร้างท้ังในชุมชนและนอกชุมน ส่วนรายได้
อาณาเขตติดต่อ จากการเกบ็ ของปา่ คนในชมุ ชนบา้ นหว้ ยชา่ งเหลก็ มรี ายได้
จากการเก็บหาของป่าหลายชนิด เช่น การเก็บ
ทศิ เหนอื อาณาเขตติดกบั บ้านหว้ ยชา่ งคำ� พืชผักธรรมชาติมาขาย การเก็บเห็ดถอบ เห็ดไข่เหลือง
บา้ นห้วยช่างตาย อีกหลายสิบประเภทเห็ด และพืชอาหารจากป่าชุมชน
ทศิ ใต้ อาณาเขตตดิ กับบ้านหว้ ยแก้วลา่ ง ประเภทกินยอดกินใบกินหน่อกินดอก เป็นต้น รวมทั้ง
ทิศตะวนั ออก อาณาเขตตดิ กบั หมบู่ า้ นเขตตำ� บลหว้ ยโปง่ การหายาสมนุ ไพรไปขาย
ทศิ ตะวันตก อาณาเขตติดกับชายแดนไทย-พมา่

ข้อมลู กลุม่ ชาติพนั ธ์ุกะแย(กะเหรยี่ งแดง) จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน 43

สังคมวฒั นธรรม สภาพภูมิประเทศ

ดา้ นสังคมวฒั นาธรรม การบรกิ ารและลักษณะทาง หมู่บ้านห้วยช่างเหล็ก พื้นที่ชุมชนมีสภาพสูง และ
สังคมของหมู่บ้านห้วยช่างเหล็ก หมู่บ้านนี้มีวิถีวัฒนธรรม แหลง่ ตน้ นำ�้ ลำ� ธาร ประกอบดว้ ย ปา่ เบญจพรรณ, ปา่ ดบิ ชนื้ ,
หลากหลาย มีเอกลักษณ์อัตลักษณ์ของตนเอง เช่น ปา่ ดบิ เขา และปา่ ไมก้ อ่ จงึ เหมาะทจ่ี ะพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั
การแต่งกายของกลุ่มชาติพันธุ์ อาหารการกิน ความเช่ือ สภาพพนื้ ท่ี นเิ วศนว์ ทิ ยาและนเิ วศนช์ มุ ชน เปน็ ชมุ ชนทตี่ งั้ อยู่
การเล้ียงผี ประเพณีการแต่งงานรอบที่ ๒ งานปอยต้นธี ในเขตหนาว ชมุ ชนบา้ นหว้ ยชา่ งเหลก็ มกี ารคมนาคมขนสง่
งานปอยขา้ วตม้ และความเชอ่ื อน่ื ๆ ทมี่ ผี ลตอ่ ทางดา้ นจติ ใจ ไม่มีสัญญานโทรศัพท์ ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง การเดินทางล�ำบาก
ของชาวบา้ น และขาดการบริการดา้ นสาธารณะสุขทท่ี นั สมัย มีคณุ ภาพ
เม่ือสภาพภูมิประเทศไม่เอื้อ การด�ำรงชีพท�ำมาหากิน
ต้องใช้ทุนในการลงทนุ มาก ความเสยี่ งดา้ นอาชีพ ดา้ นชีวติ
ความเป็นอยู่ และด้านอน่ื ๆ เปน็ ตน้

บรบิ ทชุมชนบา้ นห้วยช่างคำ�

ประวตั ิความเปน็ มาชุมชน ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ นางหมาย ไดแ้ ตง่ งาน แยกครอบครวั
ออกไป และมีครอบครัวเพิ่มขึ้นมา ๔ หลังคาเรือน
มีข้อมูลว่า ก่อนปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ได้มีชาวกะแย ในปีถัดไปได้มีนายโจ และญาติพ่ีน้อง ได้อพยพเข้ามา
(กะเหรย่ี งแดง) ครอบครวั หนง่ึ เขา้ อยอู่ าศยั และมาตง้ั ถน่ิ ฐาน อยูอ่ าศัยเพ่มิ ข้ึนมาอกี ๓ ครอบครัวใหญ่
ในพนื้ ทแี่ นวชายแดนพมา่ ในบรเิ วณปา่ บา้ นเกา่ พนื้ ทด่ี งั กลา่ ว ตอ่ ไปในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ มีครวู ชิ ัย เป็นครดู อยเขา้ มา
มคี วามอดุ มสมบรู ณเ์ หมาะในการกอ่ สรา้ งบา้ นเมอื ง ชาวกะแย ใหค้ วามรู้ มาสอนหนงั สอื ใหก้ บั ลกู หลานกะแย ชว่ งเวลานน้ั
(กะเหรี่ยงแดง) ครอบครวั ดงั กล่าวไดด้ ำ� รงชวี ิตท�ำมาหากนิ ครูวิชัย ได้มีการออกสอนหนังสือตระเวนไปตามพ้ืนที่
อยู่ที่พื้นทีบ่ า้ นเกา่ เป็นเวลานาน ในช่วงสมัยนนั้ ชาวกะแย ชายแดนต่าง ๆ และครูวิชัย ได้บอกให้พ่ีน้องชาวกะแย
(กะเหรี่ยงแดง)มีการอยู่อย่างกระจัดกระจาย มีการ ที่อาศัยอยู่กระจัดกระจายในพื้นที่ต่างๆมารวมตัวกัน
ทำ� ไรห่ มนุ เวยี น และท�ำสวนท�ำนา ต่อมาครอบครัวชุมชน ย้ายมาอยู่อาศัยในพื้นท่ีชุมชนเดียว เพื่อให้ประชากรใน
กะแย(กะเหร่ียงแดง)ได้ขยายตัวมากขึ้น ชุมชนมีครัวเรือน ชุมชนมากข้นึ เม่ือชุมชนมสี มาชกิ หลังคาเรือน และจ�ำนวน
เพิ่มข้ึน ชาวบ้านมีจ�ำนวนมากขึ้น ชุมชนเกิดขยายตัว ประชากรของชมุ ชนมมี ากขน้ึ จะทำ� ใหช้ มุ ชนบา้ นหว้ ยชา่ งคำ�
เพิม่ มากขน้ึ ในสมยั นนั้ ไดร้ บั การพฒั นาและไดร้ บั การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ มีครอบครวั นางหมาย ซอนัน่ ตา ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ครูวชิ ัย ได้ชกั ชวนชาวกะแย เขา้ มา
เข้ามาบุกเบิกชุมชนในพ้ืนท่ี บ้านห้วยช่างค�ำในปัจจุบัน อยู่ในพ้ืนท่ีเดียวกัน ท�ำให้มีครอบครัวชาวกะแย(กะเหรี่ยง
ท�ำอาศัยอยู่ท�ำการเกษตรปลูกข้าวไร่ พืชผักอาหารใน แดง)ในชุมชนบ้านเก่ามีจ�ำนวนครอบครัวเพิ่มขึ้น ๑๘
ลำ� หว้ ยชา่ งคำ� กบั ลำ� หว้ ยปุ๊ซงึ่ เปน็ พน้ื ทนี่ น้ั มคี วามอดุ มสมบรู ณ์
เหมาะต่อการมาตง้ั ถ่นิ ฐาน

44 ข้อมูลกลมุ่ ชาติพันธ์ุกะแย(กะเหรีย่ งแดง) จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

หลังคาเรือน ในปีเดียวกันครูวิชัย ได้ท�ำการเสนอขอจาก ชนิดต่างๆ ที่ใช้ประกอบอาหารในครัวเรือนได้ โดยท�ำการ
เขตการศึกษาสนับสนุนการสร้างโรงเรียนเพ่ือสอนหนังสือ เพาะปลกู ในระบบไรห่ มนุ เวยี น นอกจากนย้ี งั มกี ารเลยี้ งสตั ว์
ให้ชาวบา้ นและเดก็ ๆ ได้แก โค กระบือ หมู และไก่ เป็นต้น ผลผลิตข้าว
ท่ีได้ในแต่ละปีของชุมชนได้มีการจัดท�ำธนาคารข้าว
ต่อมาปี พ.ศ.๒๕๒๒ - ๒๕๒๓ เกิดโรงเรียนข้ึน ตามแผนความมั่นคงทางอาหาร ซึ่งจัดให้มีการรับฝาก
คร้ังแรกในชุมชนบนดอย ได้มีการสอนหนังสือให้กับใน จำ� นำ� ตลอดจนขอยมื ขา้ ว เพื่ออำ� นวยความสะดวกในเรื่อง
ชุมชน และชุมชนมีการเติบโตเพ่ิมข้ึน มีการพัฒนา ความพอเพยี งของการบรโิ ภคสำ� หรับคนในชุมชน
การเรียนการสอนใหก้ บั เดก็ นักเรยี น
สงั คมชุมชนบา้ นห้วยชา่ งคำ�
ปี พ.ศ.๒๕๒๔ เป็นปีที่ได้มีจัดต้ังชื่อหมู่บ้านข้ึน
ชื่อวา่ “หมู่บา้ นหว้ ยชา่ งค�ำ” เดิมชาวบา้ นเรียกชือ่ บา้ นเก่า มีสถานศึกษาโรงเรียนจ�ำนวน ๑ แห่ง ชาวบ้าน
ในการตั้งช่ือหมู่บ้านห้วยช่างค�ำนี้ โดยมีก�ำนันก้อง ปรีดี ในชมุ ชนนบั ถือศาสนาพุทธ ๙๕% และศาสนาครสิ ต์ ๕ %
ไดท้ ำ� การแตง่ ตงั้ ให้ และใหห้ มบู่ า้ นหว้ ยชา่ งคำ� อยใู่ นหมทู่ ี่ ๘ มีบริการสาธารณสุข(รภสต.)จ�ำนวน ๑ แห่ง มีผู้รู้ซึ่งมี
ของตำ� บลห้วยโปง่ ความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรม
วถิ ชี วี ติ และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เชน่ ภมู ปิ ญั ญาเรอ่ื งสมนุ ไพร
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เป็นส่ิงจ�ำเป็นในชีวิตและได้รับการสืบทอดต่อกันมา ภูมิ
พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวงเสดจ็ ประทบั ปัญญการตีเหล็ก เป็นของใช้ในครัวเรือน หรือเครื่องมือ
ทรงงานท่โี รงเรยี นบ้านหว้ ยช่างค�ำ ในวันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ การเกษตร ภมู ปิ ญั ญาการทอผา้ งานของกลมุ่ สตรที ม่ี หี นา้ ท่ี
๒๕๔๗ จากนั้นมาพื้นท่ีหมู่บ้านเกิดการพัฒนาเรื่อยมา ทำ� ใหค้ นในครอบครวั เป็นต้น
กระทงั่ ปจั จบุ ัน
ทรัพยากรธรรมชาติ
พน้ื ที่ขอบเขตบ้านหว้ ยชา่ งค�ำ
ป่าไม้ของชุมชนบ้านห้วยช่างค�ำ คือ ส่ิงที่ชุมชน
ทศิ เหนอื ติดตอ่ กบั ชมุ ชนบา้ นปา่ ลาน ให้ความส�ำคัญมากที่สุดด้วยความเช่ือท่ีว่าเป็นสถานท่ี
ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ ชุมชนบ้านหว้ ยโปง่ ศักดิ์สิทธิ์ผู้ใดท่ีผ่าฝืนกฎโดยได้รับอนุญาติจะมีเหตุไม่ดี
ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับ ชายแดนไทย - พม่า เกิดข้ึน และป่าไม้ยังเป็นต้นก�ำเนิดของแห่งน�้ำท่ีให้
ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ชุมชนบ้านหว้ ยชา่ งเหลก็ คุณประโยชน์แก่ชุมชนอย่างมาก และยังเป็นแหล่งอาหาร
และสมนุ ไพร ยารักษาโรคต่างๆ ท้งั คนและสตั ว์ จึงช่วยกนั
บ้านหว้ ยชา่ งค�ำ มีหยอ่ มบา้ นบริวาร คือหยอ่ มบา้ น ดแู ลจัดการป่าไม้ให้มคี วามอดุ มสมบูรณ์
หว้ ยชา่ งตายและจำ� นวนประชากร จากขอ้ มลู ณเดอื นธนั วาคม ทรัพยากรป่าชุมชน ชุมชนได้มีการแบ่งเขตป่า
พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�ำนักบริหารการทะเบียนกรมการปกครอง เพอื่ ใช้ประโยชน์ ออกเป็น ปา่ ใชส้ อย ปา่ อนุรกั ษ์ ป่าตน้ นำ้�
เป็นชายจ�ำนวน ๑๘๗ คน เป็นหญิงจ�ำนวน ๑๖๑ และป่าสาธารณะประโยชน์(ป่าช้า) การใช้ประโยชน์จาก
รวม ๓๔๘ คน จำ� นวนหลงั คาเรือน ๘๒ ครวั เรือน โดยเกอื บ ป่าชุมชนได้มีการเก็บหาของป่า เพื่อบริโภคตามฤดูกาล
ท้ังหมดเป็นชาวไทยชาติพันธุ์กะแย (กะเหรี่ยงแดง) เช่น การเก็บหน่อไม้ การเก็บเห็ด เพื่อเป็นอาหาร และ
ทคี่ อ่ นขา้ งยดึ ถอื และปฏบิ ตั ติ ามวฒั นธรรมประเพณี วถิ ชี วี ติ การตัดไม้ในเขตป่าใช้สอย เพื่อประโยชน์ในการสร้างบ้าน
และระเบยี บแบบแผนอย่างเครง่ ครดั ท�ำฟืน ฯลฯ ส่วนป่าอนุรักษ์ ป่าต้นน�้ำ ชุมชนมีกฎกติกา
มใิ ห้ผใู้ ดเข้าไปตดั ไมห้ รือล่าสตั ว์ปา่ หากผู้ใดฝา่ ฝนื จะมโี ทษ
เศรษฐกิจชมุ ชนบ้านห้วยช่างค�ำ ปรับตามกฎกตกิ าทช่ี มุ ชนรว่ มกนั ก�ำหนดไว้

ประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ซ่ึง
ได้แก่ ข้าวโพด ถว่ั ข้าวไร่ งาชนิดตา่ ง ๆ ตลอดจนพชื ผัก


Click to View FlipBook Version