The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wimon Ann, 2023-10-04 03:52:25

รูปเล่ม

รูปเล่ม

แผนท ี ่ ต ำบลบ ้ ำนหลวง ครอบคลุมพื้นที่ 19 หมู่บ้าน เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 เทศบำลต ำบลบ้ำนหลวงมีหมู่บ้ำนในควำมรับผิดชอบ จ ำนวน 19 หมู่บ้ำน • บ้านขุนยะ หมู่ที่ 5 • บ้านป่าแขม หมู่ที่ 6 • บ้านขุนกลาง หมู่ที่ 7 • บ้านผาหมอน หมู่ที่ 8 • บ้านเมืองอาง หมู่ที่ 9 • บ้านแม่หอย หมู่ที่ 10 • บ้านเมืองกลาง หมู่ที่ 11 • บ้านหัวเสือ หมู่ที่ 12 • บ้านน ้าลัด หมู่ที่ 13 • บ้านปะ หมู่ที่ 14 • บ้านแม่ปอน หมู่ที่ 15 • บ้านตาดมื่น หมู่ที่ 16 • บ้านอ่างกาน้อย หมู่ที่ 17 • บ้านแม่ยะน้อย หมู่ที่ 18 • บ้านห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่ 19 • บ้านน ้าตกแม่กลาง หมู่ที่ 20 • บ้านกู่ฮ่อสามัคคีหมู่ที่ 21 • บ้านหนองหล่ม หมู่ที่ 22 • บ้านใหม่ห้วยเฮี๊ยะ หมู่ที่ 23


เทศบาลต าบลบ้านหลวง CONTENTS สำรบัญ 04 โครงสร้างส่วนราชการเทศบาลต าบลบ้านหลวง ท าเนียบคณะบริหาร ท าเนียบสภาเทศบาล หัวหน้าส่วนราชการ ประวัติความเป็นมา เทศบาลต าบลบ้านหลวง ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงาน คุณภาพชีวิต - สังคม ท่องเที่ยวท้องถิ่น รายการรับ-จ่าย 05 06 07 08 09 11 24 30 34 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านหลวงขึ้นเป็นเทศบาล ต าบลบ้านหลวง ตั้งแต่ วันที่ 27 ธันวาคม 2552 โดยเป็นเทศบาลขนาดเล็กได้ก าหนดโครงสร้างการแบ่ง ส่วนราชการภายในและการจัดระบบงานรองรับภารกิจตามอ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ส านักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีกรอบอัตราก าลังทั้งสิ้น 28 อัตรา โดยได้ก าหนดต าแหน่งในสายงานต่างๆจ านวนต าแหน่งและระดับต าแหน่งให้มีความเหมาะสมกับ ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน คุณภาพงาน และเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของเทศบาลได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ตามที่นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวงได้แถลงนโยบายการบริหารราชการของเทศบาลต าบลบ้าน หลวงต่อสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวงซึ่งได้ก าหนดนโยบายในการบริหารเทศบาลต าบลบ้านหลวงรวม3 ด้าน ดังนี้ 1. นโยบายผู้บริหาร เรื่อง นโยบายคุณธรรมละความโปร่งใส 2. นโยบายด้านทรัพยากรบุคคล 3. นโยบายด้านการป้องกันทุจริต เทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


โครงสร้ำงส่วนรำชกำร เทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


คณ ะผู้บริหำร เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 นำยก่อชิ เพชรไพรพนำวัลย์ นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง นำยศรีหมื่น จอมนที รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง นำยอุดมชัย มหำยำโน รองนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง นำยมนูญ เสริมศักดิ์ตระกุล เลขานุการนายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง นำยอินค ำ เตจ๊ะวันโน ที่ปรึกษากิตติมศักดิ นายกเทศมนตรี นำยศรีหมนื่ปฏิกำ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ นายกเทศมนตรี นำยผจญ ชำญชำติชำย ที่ปรึกษาตกิตติมศักดิ์ นายกเทศมนตรี นำยบุญรัตน์ อุตตะมะ ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี


สมำชิกสภำ เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


หัวหน้ำส่วนรำชกำร เทศบาลต าบลบ้านหลวง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


ปร ะวัติควำม เป็นมำ “เทศบาลต าบลบ้านหลวง” วิสัยทัศน์(VISION ) กินอิ ่ม นอนอุ่น ชุมฉ ่ำน ้ำท่ำ ท่องเที ่ยวพัฒนำ ผืนป่ ำเขียวขจี เศรษฐกิจดีแบบพอเพียง เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


ภาพกิจกรรม ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดโครงการอบรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชน ระหว่างวันที่ 4-7 กันยายน 2566 ณ เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยวันที่ 7 กันยายน นี้ เป็นการอบรมผู้ประกอบการเกี่ยวกับการปรับปรุงฐานข้อมูลด้านการ ท่องเที่ยว เเละที่พัก และได้น าแพลตฟอร์มดิจิทัลมาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบการท่องเที่ยว การจองที่พัก เพื่อให้เกิด ประโยชน์อย่างสุดสูงเเก่ผู้ประกอบการ ทั้งนี้ การจัดโครงการอบรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชน มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1 เพื่อพัฒนาเครื่องมือ ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในระบบดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ 2 เพื่อเก็บรวบรวม และปรับปรุงฐานข้อมูลด้านการท่องเที่ยว ได้แก่ปฏิทินการท่องเที่ยวเส้นทางการท่องเที่ยวเข้าสู่ แพลตฟอร์มเพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวและให้ข้อมูล กับนักท่องเที่ยวและบุคคลทั่วไป อย่างเป็นระบบ 3 เพื่อให้ชุมชน ผู้ประกอบการ มีองค์ความรู้ในการน าระบบดิจิทัล มาพัฒนาการท่องเที่ยว ซึ่งจะน ามาซึ่งรายได้ ท าให้ ประชาชน มีขีดความสามารถ และเต็มใจในการช าระภาษีให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 เพื่อพัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น ในการสร้างและดูแลแพลตฟอร์ม ดิจิตอลโซเชียลมีเดีย การสร้างคอนเทนต์ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวที่มีความยั่งยืนเหมาะสมกับบริบทชุมชนพื้นที่ โครงกำรอบรมเพ ื่อส่งเสริมกำรท่องเท ี่ยวในช ุ มชน


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์ (รองปลัดเทศบาล) , นางเกศร สุกัน (ผอ.กองคลัง) และเจ้าหน้าที่งาน พัฒนารายได้ ออกรับบริการช าระค่าภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างนอกสถานที่ ณ บ้านขุนกลาง ม .7 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เพื่ออ านวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้มีหน้าที่เสียภาษีในเขต รับผิดชอบของเทศบาลต าบลบ้านหลวง บริกำรช ำระค่ำภำษ ี ท ี่ดินและสิ่งปล ู กสร้ำงนอกสถำนท ี่ ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) นายสมชาย ดวงเดช (ประธานสภาฯ) พร้อมทั้ง สมาชิกสภาเทศบาสล และ ผู้น าชุมชน ลงพื้นที่มอบทะเบียนประวัติที่ดินรายแปลง ตามโครงการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม ให้แก่ประชาชน หมู่ 14 บ้านปะ ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ จ านวน 200 แปลง มอบทะเบียนประวัติที่ดินรำยแปลง ตำมโครงกำรบริหำรจัดกำร ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมอย่ำงมีส่วนร่วม


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์ (นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) นายอภิสิทธิ์ ยลละออ (ปลัดเทศบาล) นางสาว กัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์ (รองปลัดเทศบาล) พร้อมหัวหน้าส่วนราชการ และพนักงานเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประชุม พนักงานเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือน กันยายน2566 ในโอกาสนี้นายกฯ ได้มอบนโยบายการบริหารงาน ตลอดจนติดตามการด าเนินงานที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม ชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง อ าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมพนักงำนเทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง ประจ ำเดือน กันยำยน2566


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดประชุมเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งและอุทกภัยในพื้นที่อ าเภอจอมทอง ณ ห้องประชุม ชั้น 2 เทศบาลต าบลบ้านหลวง โดยมีกลุ่มผู้ใช้น้ าล าเหมืองหลวง ล าเหมืองใหม่ ล าเหมืองแม่หอย และล าเหมืองผา อูฐ เข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ เพื่อพูดคุยแก้ไขปัญหาภัยแล้งและอุทกภัยในพื้นที่อ าเภอจอมทองอย่างเป็นระบบให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด ประช ุ มเพ ื่อแก้ไขปัญหำภัยแล้งและอ ุ ทกภัยในพ ื้นท ี่อ ำเภอจอมทอง


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง ได้ด าเนิน"โครงการส่งเสริมศักยภาพกลุ่มพัฒนาสตรีต าบลบ้านหลวง ประจ าปีงบประมาณ 2566" กิจกรรมส่งเสริมบทบาทสตรีในการร่วมอนุรักษ์ สืบสาน วัฒนธรรมตามวิถีคนบ้านหลวง ของเทศบาลต าบลบ้านหลวงในครั้งนี้ ซึ่งมี วัตถุประสงค์ของการจัดโครงการดังนี้ 1. เพื่อส่งเสริมบทบาทสตรีในการอนุรักษ์ สืบสาน ถ่ายทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น 2. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของสตรี จัดกิจกรรมเพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ และสร้างการมีส่วนร่วมใน การรักษาสืบทอดวัฒนธรรมอันดีงามให้คงไว้รวมไปถึง การเสริมสร้างความสามัคคีในกลุ่มสตรีต าบลบ้านหลวง 3. เพื่อสร้างและปลูกจิตส านึกให้กลุ่มพัฒนาสตรี ตลอดจนผู้เข้าร่วมโครงการเห็นความส าคัญของวัฒนธรรมที่ดีงาม และเป็น เอกลักษณ์ของชุนชน โดยกิจกรรมดังกล่าว ได้รับความร่วมมือจาก สมาชิกสภาเทศบาลฯ ผู้น าชุมชน กลุ่มสตรีต าบลบ้านหลวง ประชาชน และหน่วยงานทุกภาคส่วนเป็นอย่างดียิ่ง "โครงกำรส่งเสริมศักยภำพกลุ่มพัฒนำสตรีต ำบลบ้ำนหลวง ประจ ำปี งบประมำณ 2566" กิจกรรมส่งเสริมบทบาทสตรีในการร่วมอนุรักษ์ สืบสาน วัฒนธรรมตามวิถีคนบ้านหลวง


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดโครงการอบรมเเละศึกษาเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าปี 2566 โดยมีคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาลต าบลบ้านหลวง ข้าราชการ และพนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาล ต าบลบ้านหลวง เข้าร่วมโครงการดังกล่าว รายละเอียดงานแบ่งออกเป็น 2 วัน ดังนี้ วันที่ 14 กันยายน : อบรมพนักงานเจ้าหน้า เรื่องการสร้างศักยภาพเเละประสิทธิภาพของบุคคลา่กรในการ ปฏิบัติงาน เเนวทางพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเเละการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล หลักการท างาน เป็นทีม เเละการสร้างคุณธรรม จริยธรรม ปลูกจิตส านึก การท าความดี ณ เทศบาลต าบลบ้านหลวง วันที่ 15 กันยายน : เดินทางไปศึกษาดูงาน เรื่องการบริหารจัดการที่ดี ณ เทศบาลต าบลเวียงเทิง อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย โครงกำรอบรมเเละศ ึ กษำเพิ่มศักยภำพกำรปฏิบัติงำน ของเทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง ประจ ำปี 2566


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวัลย์(นายกเทศมนตรีต าบลบ้านหลวง) มอบหมายให้กองสาธารณสุขเเละ สิ่งเเวดล้อม ทต.บ้านหลวง น าโดยนางสาวพิมพ์ศา วสุสิริธันย์ (หัวหน้าฝ่ายงานสาธารณสุข) เเละ เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขฯและสิ่งแวดล้อม ลงพื้นที่ให้ความรู้เรื่องขยะ3R ในโครงการพัฒนาระบบ สุขาภิบาลในชุมชน ณ บ้านน้ าตกแม่กลาง หมู่ที่20 และ บ้านตาดมื่น ม.16 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชนในพื้นที่ต าบลบ้านหลวง กองสำธำรณส ุ ขและสิ่งแวดล้อม ทต.บ้ำนหลวง ลงพ ื้นท ี่ให้ควำมร ู้เร ื่องขยะ3R แก่ประชำชน


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 นายสมพงษ์ เเสนวงค์มา (ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ทต.บ้านหลวง) มอบหมายให้เจ้าหน้า กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ลงพื้นที่พ่นยา ULV. (Ultra Low Volume) เป็นเครื่องที่ใช้แรงอัดอากาศ ความดันต่ าในการเปลี่ยนน้ า เป็นละอองฝอยขนาดเล็ก เพื่อควบคุมโรคไข้เลือดบริเวณ บ้านแม่ปอน ม.15 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ กองสำธำรณสุขฯ ลงพื้นที่พ่นยำ ULV. (Ultra Low Volume)


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 กองการศึกษา ทต.บ้านหลวง น าโดยศรีหมื่น จอมนที (รองนายกเทศมนตรี ทต.บ้านหลวง) นางสาวกัญฐ์ธมล ดวงวิโรจน์(รองปลัดเทศบาล) นางสุภานิดา จินาอิ(ผอ.กองการศึกษา) เเละ คุณครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กร่วมประชุม คณะกรรมการ ศพด.น้ าตกแม่กลาง เพื่อพิจารณา (ร่าง)แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประชุมคณะกรรมกำรเพ ื่อพิจำรณำ (ร่ำง)แผนปฏิบัติกำร ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ.2567 ของศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก สังกัดเทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร และศึกษาดู งานเพื่อการ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าปีงบประมาณ 2566 ณ ห้องประชุมเทศบาลต าบลบ้านหลวง ในการนี้คณะกรรมการ อนุกรรมการ กองทุน ได้มอบของที่ระลึกให้แก่คุณหมอสมพงษ์ แสนวงค์มา (ผอ.กอง สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) ในงานเกษียณอายุราชการ โครงกำรอบรมพัฒนำศักยภำพบุคลำกร และศึกษำดูงำนเพื่อกำร บริหำรจัดกำรกองทุนหลักประกันสุขภำพของกองทุนหลักประกัน สุขภำพเทศบำลต ำบลบ้ำนหลวง ประจ ำปีงบประมำณ 2566


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ผลการด าเนินงานของเทศบาลต าบลบ้านหลวง ประจ าเดือนกันยายน 2566 เทศบาลต าบลบ้านหลวง จัดประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาร่างเเผนพัฒนา ท้องถิ่น(พ.ศ.2566-2570) เปลี่ยนเเปลง ครั้งที่ 3/2566 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาล ต าบลบ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 นายก่อชิ เพชรไพรพนาวะลย์(นายกเทศมนตรีต าบลย้านหลวง) มอบหมายให้ว่าที่ร้อยตรี ปฐมพงษ์ ปวนปันมา(หน.ฝ่ายปกครอง ทต.บ้ารหลวง) เเละงานป้องกันเเละบรรเทาสาธารณภัย ทต.บ้านหลวง ลง พื้นที่ส ารวจความเสียหายกรณีฝนตกน้ าป่าไหลหลาก เข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนในเขตพื้นทีต าบลบ้าน หลวง เพื่อเร่งด าเนินการช่วยเหลือโดยด่วน ส ำรวจควำมเส ี ยหำยกรณ ีฝนตกน ้ำป่ำไหลหลำก เข้ำท่วมบ้ำนเร ื อนประชำชนในเขตพ ื้นทต ี ำบลบ้ำนหลวง


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 คุณภำพชีวิต - สังคม การท างานมีความส าคัญต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง อาจกล่าวได้ว่าการท างานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่ปฏิบัติ มากกว่ากิจกรรมใด ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมอุตสาหกรรม คาดกันว่ามนุษย์ได้ใช้เวลาถึงหนึ่งในสามของชีวิตเป็น อย่างน้อยอยู่ในโรงงานหรือส านักงาน และยังเชื่อว่าในอนาคตอันใกล้นี้ มนุษย์จ าเป็นต้องใช้เวลาของชีวิตเกี่ยวข้องกับ การท างานเพิ่มขึ้นไปอีก ซึ่งคนวัยแรงงานเป็นกลุ่มคนกลุ่มใหญ่ที่สุดของโครงสร้างประชากรไทย เป็นกลุ่มคนที่เป็นก าลัง ส าคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ จึงเป็นกลุ่มประชากรที่ภาครัฐและเอกชนให้ความส าคัญไม่เพียงในการ พัฒนาศักยภาพแต่รวมถึงคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย เมื่อพิจารณาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564) ที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ให้คนท างานใน ประเทศมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุข ในขณะเดียวกันคุณภาพชีวิตในการท างาน (Quality of work life) มีความส าคัญ อย่างยิ่งในการท างานปัจจุบัน เพราะคนเป็นทรัพยากรที่ส าคัญ เป็นต้นทุนทางสังคมที่มีคุณค่า ในปัจจุบันคนส่วนใหญ่ต้องเข้าสู่ ระบบการท างาน ต้องท างานเพื่อให้ชีวิตด ารงอยู่ได้และตอบสนองความต้องการพื้นฐาน เมื่อคนต้องท างานในที่ท างานเป็นส่วน ใหญ่ จึงควรมีสภาวะที่เหมาะสม ท าให้เกิดความสุขทั้งร่างกายและจิตใจ มีความรู้สึกมั่นคงทั้งสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทาง อารมณ์ สุขภาวะทางจิตวิญญาณ และสุขภาวะทางสังคม (กองสวัสดิการแรงงาน. 2547 : 18) คุณภาพชีวิตการท างานมีผลต่อ การท างานมาก กล่าวคือ ท าให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ท าให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่องาน และท าให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อองค์กร นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมในเรื่องสุขภาพจิตช่วยให้เจริญก้าวหน้า มีการพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพขององค์กร และ ยังช่วยลดปัญหาการขาด งาน การลาออก ลดอุบัติเหตุ และส่งเสริมให้ได้ผลผลิตและการบริการที่ดี ทั้งคุณภาพและปริมาณ


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 คุณภาพชีวิตในการท างาน (Quality of Working Life) ถือว่าเป็นสิ่งที่ส าคัญอย่างยิ่งเพราะคนเป็น ทรัพยากรที่มีค่าและมีความส าคัญต่อองค์กร ดังนั้น สภาพแวดล้อมและบรรยากาศในสถานที่ท างานต้องมี ความเหมาะสมและเอื้อต่อการท างาน คือ ท าให้ผู้ปฏิบัติงานมีรู้สึกที่ดีต่องาน มีความมั่งคง ท าให้เกิดความสุข โดยจะส่งผลดีทั้งตัวบุคคลและองค์กร เช่น • ช่วยเพิ่มผลผลิตขององค์การ เนื่องจากการจัดการคุณภาพชีวิตในองค์การท าให้องค์การมีนโยบายและการ วางแผนด้านคุณภาพชีวิต มีการจัดกลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพชีวิตการท างานด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านลักษณะ งาน บุคลากร และสภาพแวดล้อมที่ดีซึ่งส่งผลโดยตรงและอ้อมต่อการด าเนินงาน ส่งผลให้ผลิตภาพของ องค์การเพิ่มขึ้น • ช่วยเพิ่มขวัญและก าลังใจของผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจากการมีคุณภาพชีวิตการท างานที่ดีท าให้พนักงานมีความพึง พอใจในงานก่อให้เกิดเป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานทั้งยังส่งผลต่อความผูกพันและจงรักภักดีต่อองค์การ • ช่วยปรับปรุงศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตการท างานด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงาน เพิ่มพูนทักษะความสามารถของตนเอง ไม่ว่าจะโดยการศึกษา ฝึกอบรมหรือการพัฒนาต่างเป็นการเพิ่ม ศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานให้สูงขึ้น องค์ประกอบส ำคัญเกี่ยวกับคุณภำพชีวิต ตามหลักการของ Richard E. Walton ซึ่งปรากฎในหนังสือ Creteria for Quality of Working life ได้แบ่ง ออกองค์ประกอบส าคัญเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตไว้ 8 ประการ ดังนี้


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 1. ค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอ (Adequate and Fair Compensation) การที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับค่าจ้าง เงินเดือน ค่าตอบแทน และผลประโยชน์อื่นๆ อย่าง เพียงพอกับการมีชีวิตอยู่ได้ตามมาตรฐานที่ยอมรับ กันโดยทั่วไป และต้องเป็นธรรม เมื่อเปรียบเทียบกับงานหรือองค์การอื่นๆในประเภทเดียวกันด้วย 2. สิ่งแวดล้อมที่ถูกลักษณะและปลอดภัย (Safe and Healthy Environment) ผู้ปฏิบัติงานไม่ควรจะอยู่ในสภาพแวดล้อมทางด้านร่างกายและสิ่งแวดล้อมของการท างานที่ไม่เหมาสะม ซึ่งจะก่อให้เกิดสุขภาพไม่ดี โดยสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางด้านจิตใจ นั่นคือ สภาพการท างานต้องไม่มีลักษณะที่ต้องเสี่ยงภัยจนเกินไป และจะต้องช่วย ให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกสะดวกสบาย และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย 3. เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้พัฒนาความรู้ความสามารถได้เป็นอย่างดี (Development of Human Capacities) งานที่ปฏิบัติอยู่นั้นจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้และพัฒนาทักษะความรู้อย่างแท้จริง และรวมถึงการมีโอกาสได้ท างานที่ตน ยอมรับว่าส าคัญและมีความหมาย การพัฒนาขีดความสามารถของบุคคลในการท างานนี้ เป็นกรให้ความส าคัญเกี่ยวกับ การศึกษา อบรม การพัฒนาการท างานและอาชีพของบุคคล เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงคุณภาพชีวิต ซึ่งจะท าให้บุคคลสามารถท าหน้าที่ได้โดยใช้ ศักยภาพที่มีอยู่อย่างเต็มที่ มีความเชื่อมั่นในตนเอง 4. ลักษณะงานที่ส่งเสริมความเจริญเติบโตและความมั่นคงให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน (growth and security) นอกจากงานจะช่วยเพิ่มพูนความรู้ความสามารถของตนเองให้ได้รับความรู้และทักษะใหม่ๆ แล้ว ยังช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานได้มีโอกาส ก้าวหน้า และมีความมั่นคงในอาชีพ มีแนวทางหรือโอกาสในการเลื่อนต าแหน่งหน้าที่ที่สูงขึ้น ตลอดจนเป็นที่ยอมรับทั้งของเพื่อน ร่วมงานและสมาชิกในครอบครัวของตน 5. ลักษณะงานมีส่วนส่งเสริมด้านบูรณาการทางสังคมของผู้ปฏิบัติงาน (social integration) การท างานร่วมกันเป็นการที่ผู้ปฏิบัติงานเห้นว่าตนเองมีคุณค่า สามารถปฏิบัติงานให้ส าเร็จลุล่วงได้ มีการยอมรับและร่วมมือท างาน ด้วยดี และงานนั้นช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานได้มีโอกาสสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นๆ รวมถึงโอกาสที่เท่าเทียมกันในความก้าวหน้าที่ตั้งอยู่ บนฐานของระบบคุณธรรม 6. ลักษณะงานที่ตั้งอยู่บนฐานของกฎหมายหรือกระบวนการยุติธรรม (Constitutionalism) หมายถึง การบริหารจัดการที่ให้เจ้าหน้าที่/พนักงาน ได้รับสิทธิในการปฏิบัติตามขอบเขตที่ได้รับมอบหมายและแสดงออกในสิทธิซึ่งกัน และกัน หรือเป็นการก าหนดแนวทางในการท างานร่วมกัน ซึ่งวัฒนธรรมในองค์การหรือหน่วยงานจะส่งเสริมให้เกิดการเคารพสิทธิ ส่วนบุคคลมีความเป็นธรรมในการพิจารณาให้ผลตอบแทนและรางวัล รวมทั้งโอกาสที่แต่ละคนจะได้แสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผย มีเสรีภาพในการพูด มีความเสมอภาค 7. ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการท างานโดยส่วนรวม (the total life space) เป็นเรื่องของการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้ชีวิตในการท างานและชีวิตส่วนตัวนอกองค์กรอย่างสมดุล นั่นคือต้องไม่ปล่อยให้ ผู้ปฏิบัติงานได้รับความกดดันจากการปฏิบัติงานมากเกินไป สามารถท าได้ด้วยการก าหนดชั่วโมงการท างานที่เหมาะสม เพื่อหลีกเลี่ยง การที่ต้องคร่ าเคร่งอยู่กับงานจนไม่มีเวลาพักผ่อน หรือได้ใช้ชีวิตส่วนตัวอย่างเพียงพอ 8. ลักษณะงานมีส่วนเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสังคมโดยตรง (social relevance) กิจกรรมการท างานที่ด าเนินไปในลักษณะที่ได้รับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งนับเป็นเรื่องที่ส าคัญประการหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติงานจะรู้สึกและ ยอมรับว่าองค์กรที่ตนปฏิบัติงานอยู่นั้น มีความรับผิดชอบต่อสังคมในด้านต่างๆ ทั้งในด้านผลผลิต การจ ากัดของเสีย การรักษา สภาพแวดล้อม การปฏิบัติเกี่ยวกับการจ้างงาน และเทคนิคด้านการตลาด


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 แล้วท ำอย่ำงไรจึงจะมีคุณภำพชีวิตกำรท ำงำนที่ดี การที่องค์กรจะสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีในสถานที่ท างานนั้น ไม่ได้เป็นเรื่องของหน่วยงานเพียงอย่างเดียว หากแต่ เป็นเรื่องของความร่วมมือทั้งสองฝ่าย คือ ในส่วนของนายจ้างหรือฝ่ายองค์กร และฝ่ายลูกจ้างหรือพนักงาน โดยที่ทั้ง สองฝ่ายต้องมีแนวทางในการด าเนินงานเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายของการมีคุณภาพชีวิตในการท างานที่ดีร่วมกัน และเกิด ความพึงพอใจทั้งสองฝ่าย การสร้างความพึงพอใจในการท างานนี้ ผู้เขียนขอแนะน าแนวคิดทฤษฎีสองปัจจัยของเฮิร์ซเบิร์ก (Two-Factor Theory) ซึ่งเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจที่ได้รับความสนใจ และเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในชื่อทฤษฎีการจูงใจ – ค้ าจุน (The motivation Hygiene Theory) สามารถจ าแนกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ ปัจจัยจูงใจ (motivator factors) เป็นองค์ประกอบหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานโดยตรง เป็นปัจจัยที่จูงใจ บุคลากรในหน่วยงานให้เกิดความชื่นชม ยินดีในผลงานและความสามารถของตนเอง ถ้าตอบสนองปัจจัยเหล่านี้ของ ผู้ปฏิบัติงานแล้ว จะท าให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดแรงจูงใจตั้งใจท างานจนสุดความสามารถ และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของ งานได้ ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ • ความส าเร็จของาน (Achievement) หมายถึง การที่บุคคลสามารถท างานได้เสร็จสิ้นและประสบผลส าเร็จ อย่างดี • การได้รับการยอมรับนับถือ (Recognition) หมายถึง การได้รับการยอมรับนับถือจากผู้บังคับบัญชา เพื่อน ร่วมงาน กลุ่มเพื่อน และบุคคลอื่นทั่วไป ซึ่งการยอมรับนับถือนี้บางครั้งอาจแสดงออกในรูปของการยกย่อง ชมเชย • ลักษณะงาน (Work Itself) หมายถึง ความรู้สึกที่ดีและไม่ดีต่อลักษณะงานว่างานนั้นเป็นงานที่จ าเจ • น่าเบื่อหน่าย หรือท้าทายความสามารถ ก่อให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์หรือเป็นงานที่ยากหรือง่าย • ความรับผิดชอบ (Responsibility) หมายถึง ความพึงพอใจที่เกิดขึ้นจากการได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงาน ใหม่ ๆ และมีอ านาจในการรับผิดชอบงานอย่างเต็มที่ • ความก้าวหน้าในต าแหน่งการงาน (Advancement) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสถานะหรือต าแหน่งของ บุคคลในองค์กร แต่ในกรณีที่บุคคลย้ายต าแหน่งจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งขององค์กร โดยไม่มีการ เปลี่ยนแปลงสถานะ ถือเป็นเพียงการเพิ่มโอกาสให้ความรับผิดชอบมากขึ้น เรียกได้ว่า เป็นการเพิ่มความ รับผิดชอบ แต่ไม่ใช่ความก้าวหน้าในต าแหน่งการงานอย่างแท้จริง


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ปัจจัยค้ าจุน (Hygiene factors) เป็นองค์ประกอบที่ไม่ใช่เกี่ยวกับตัวงานโดยตรง แต่มีความเกี่ยวโยง กับการปฏิบัติงานเป็นปัจจัยที่ไม่ใช่สิ่งจูงใจแต่ สามารถท าให้บุคลากรพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจที่จะ ปฏิบัติงานได้ ซึ่งมีอยู่ 10 ประการคือ การบังคับบัญชา (supervision) หมายถึง ความรู้ความสามารถของผู้บังคับบัญชาในการด าเนินงาน ความยุติธรรมในการบริหารงาน ตลอดจนความเต็มใจ หรือไม่เต็มใจของผู้บังคับบัญชาในการให้ค าแนะน า หรือมอบหมายงานรับผิดชอบต่างๆ ให้แก่ลูกน้อง นโยบายบริหาร (policy and administration) หมายถึง การจัดการและการบริหารงานขององค์กร การให้อ านาจแก่บุคคลในการด าเนินงานให้ส าเร็จ สภาพการท างาน (working condition) หมายถึง สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่จะอ านวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน เช่น แสง เสียง อากาศ เครื่องมืออุปกรณ์ และ อื่น ๆ รวมทั้งปริมาณงานที่รับผิดชอบ ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา (relations with superiors) หมายถึง การพบปะ การสนทนา ความเป็นมิตร รวมถึงการเรียนรู้งานจากผู้บังคับบัญชา การได้รับความช่วยเหลือเกื้อกูลจาก ผู้บังคับบัญชา ความซื่อสัตย์ ความเต็มใจรับฟังข้อเสนอแนะจากลูกน้อง ความเชื่อถือไว้วางใจลูกน้องของผู้บังคับบัญชา ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา (relation with subordinates) หมายถึง การพบปะ สนทนา และความมีปฏิสัมพันธ์ในการท างานที่แสดงถึงความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (relation with peers) หมายถึง การพบปะ สนทนา ความเป็นมิตร การเรียนรู้งานในกลุ่ม และความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งในกลุ่ม ต าแหน่งในบริษัท (status) หมายถึง องค์ประกอบของสถานะอาชีพที่ท าให้บุคคลรู้สึกต่องาน เช่น การมีรถประจ าต าแหน่ง เป็นต้น ความมั่นคงในงาน (job security) หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อความมั่นคงในงาน รวมทั้งความมั่นคงขององค์กร เงินเดือน (salary) หมายถึง ความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจในเงินเดือนที่ได้รับ ชีวิตส่วนตัว (personal life) หมายถึง สถานการณ์หรือลักษณะบางประการของงานที่ส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ส่วนตัว ท าให้บุคคลมีความรู้สึกอย่างใดอย่าง หนึ่งต่องานที่ได้รับ เช่น องค์กรต้องการให้ไปประจ าที่ท างานใหม่ อาจจะไกลและท าให้ครอบครัวล าบาก เป็นต้น


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอื่นที่มีส่วนท าให้เกิดความพึงพอใจได้เช่นกัน อาทิ • ชั่วโมงการท างานที่เหมาะสม และเป็นไปตามข้อบัญญัติของกฎหมาย • ลักษณะของงานที่ท า ได้แก่ การได้ท างานที่ตรงกับความต้องการและความรู้ ความสามารถของตน และไม่เกิด ความเสี่ยงในขณะปฏิบัติงาน • การติดต่อสื่อสาร (communication) ได้แก่ การสื่อสารเพื่ออ านวยประโยชน์ให้การ ด าเนินงานเป็นไปอย่าง ราบรื่น ทันต่อเวลาและความต้องการของบุคคลในองค์การ • สิ่งตอบแทนหรือผลประโยชน์ต่างๆ (benefits) ได้แก่ การบริการ การรักษาพยาบาล สวัสดิการต่าง ๆ จากที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่าการสร้างคุณภาพชีวิตการท างาน เป็นสิ่งที่จ าเป็นและมีความส าคัญ อย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตในการท างานในลักษณะของความพึงพอใจในการท างานนั้น จะส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และยัง เป็นสิ่งจูงใจให้เกิดความต้องการท างาน ซึ่งน าไปสู่ประสิทธิภาพและเกิดการเพิ่มผลผลิตของบริษัทหรือองค์การใน ที่สุด เรียกได้ว่า บรรลุเป้าหมายของทั้งบุคคลในฐานะสมาชิกขององค์การและตัวองค์การเอง นอกจากนี้ยัง ส่งผลต่อ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอีกด้วย


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 ท ่ องเท ี ่ ยว ท ้ องถ ิ ่ น น ้ำตกวชิรธำร น ้าตกอีกแห่งหนึ่งของอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ประมาณ กิโลเมตรที่ 20 ของทางหลวงหมายเลข 1009 (สายจอมทอง - ดอยอินทนนท์) มี ทางแยกขวามือ ขับรถไปตามถนนที่คดเคี้ยวไปอีกประมาณ 500 เมตร ถนนจะถึงตัว น ้าตก


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 อีกเส้นทางหนึ่งเป็นเส้นทางเดิมอยู่ถัด จากทางแยกแรกไปประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวขวาตามป้ายและเดินจากลานจอด รถลงไปอีก 351 เมตร เส้นทางนี้จะ สัมผัสธรรมชาติตลอดทางเดิน น ้ำตกวชิรธำร เดิมชื่อ "ตำดฆ้องโยง" ภายหลัง ได้เปลี่ยนชื่อตามพระ นามาภิไธยของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566 บริเวณโดยรอบน ้าตกวชิรธารจะมีจุด ชมความสวยงามของน ้าตก อยู่ 2 แห่ง หลัก ๆ คือ ทางด้านหน้า ที่สามารถชม ความสวยงามของน ้าตกได้แบบเต็ม สตรีม หรือจะเสียเวลาเดินขึ้นไปทางด้าน บนอีกสักหน่อย ก็จะสามารถมองลงมา เห็นความสวยงามของกระแสน ้าที่ไหลลง มาจากด้านบน สวยงามมาก โดยเฉพาะ ใ น ช่ว ง ที่มีรุ้ง กิน น ้า เ ป็น ภ า พ ที่มี ความสวยงามมาก


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


เทศบ าลต าบลบ้านหลวง ว ารสารป ร ะจ าเดือน กันยายน 2566


Click to View FlipBook Version